ธุรกจิ ดิจิทลั ผ่านส่อื สงั คมออนไลน์ บทที่ 1 อนิ เตอร์เนต็ และส่อื สงั คมออนไลน์ สาระสาคญั ปัจจุบันววิ ัฒนาการดา้ นการสอื่ สารของมนุษยม์ คี วามกา้ วล้าและรวดเร็วเปน็ อย่างมาก เน่ืองจากการ ปฏบิ ตั ิรูปแบบและเคร่อื งมือส่ือสารตลอดจนเทคโนโลยีท่ีกา้ วกระโดด ทังนเี นื่องมาจากการพฒั นานวัตกรรม ใหม่ๆในปจั จบุ ันเป็นการพัฒนาบนพืนฐานเทคโนโลยีขันสูง ซึ่งผลผลิตที่ได้ส่งผลตอ่ กิจกรรมการด้าเนินชีวติ และรปู แบบการด้าเนินธรุ กิจเป็นอย่างมาก โดยพืนฐานเทคโนโลยีดังกล่าวคอื เทคโนโลยีด้านการ อินเตอรเ์ น็ตและการส่ือสาร อนิ เตอร์เนต็ และการสอื่ สาร ความหมายของอนิ เตอรเ์ น็ต อินเตอร์เน็ต (Internet) นนั ยอ่ มาจากคา้ ว่า “International network” หรือ “Inter Connection network” ซง่ึ หมายถงึ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ทเ่ี ชอื่ มโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ว่ั โลกเขา้ ไว้ ดว้ ยกันเพ่ือให้เกดิ การสื่อสาร และการแลกเปลยี่ นข้อมลู ร่วมกนั โดยอาศยั ตวั เชอ่ื มเครอื ขา่ ยภายใต้ มาตรฐานการเช่ือมโยงเดยี วกนั นนั่ ก็คอื TCP/IP Protocol ซ่งึ เป็นข้อก้าหนดวธิ ีการตดิ ต่อสอ่ื สารระหวา่ ง คอมพิวเตอร์ในระบบเครอื ข่าย ซ่งึ โปรโตคอลนจี ะช่วยให้คอมพวิ เตอร์ท่ีมีฮาร์ดแวร์ท่ีแตกต่างกันสามารถ ตดิ ตอ่ ถงึ กนั ได้การที่มีระบบอินเตอรเ์ น็ต ทา้ ใหส้ ามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารขอ้ มูลจากท่หี น่งึ ไปยังอกี ทหี่ น่ึงได้ โดยไมจ่ ้ากัดระยะทาง ส่งขอ้ มลู ไดห้ ลายรูปแบบ ทงั ขอ้ ความตัวหนังสือ ภาพ และ เสยี ง โดยอาศยั เครือข่าย โทรคมนาคมเปน็ ตัวเช่อื มตอ่ เครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ นบั เปน็ อภริ ะบบเครือข่ายท่ยี ิ่งใหญ่มาก มเี คร่อื ง คอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องท่ัวโลกเชื่อมต่อกบั ระบบ ท้าให้คนในโลกทุกชาติทุกภาษาสามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ โดยไมต่ อ้ งเดินทางไป โลกทังโลกเปรียบเสมอื นเป็นบา้ นหนงึ่ ทที่ ุกคนในบา้ นสามารถ พดู คุยกนั ได้ตลอด 24 ชั่วโมงประหยดั เวลา คา่ ใชจ้ ่าย แตเ่ กดิ ประโยชนต์ อ่ สังคมโลกปัจจุบันมาก ประวตั ิความเป็นมาของอนิ เตอร์เน็ต เครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตถือก้าเนิดมาในยุคสงครามเย็น ระหวา่ งสหรัฐกับรฐั เซยี ในปี ค.ศ. 1960 ซงึ่ กระทรวงกลาโหมประเทศสหรฐั อเมริกาเหน็ วา่ ระบบคอมพวิ เตอร์ส้าหรับสง่ั การต้องเป็นระบบเครือข่ายท่ใี ช้ งานได้
ตลอดเวลา หากมกี ารโจมตีด้วยระเบดิ ปรมาณูทีเ่ มอื งใดเมอื งหนึ่ง ระบบคอมพวิ เตอร์บางส่วนอาจถูกทา้ ลาย แตส่ ว่ นทเ่ี หลอื ท้างานได้ เป้าหมายการวิจยั และการพัฒนาเครอื ข่ายคอมพิวเตอรด์ งั กล่าวจงึ กลายเปน็ โครงการชอ่ื ARPAnet หรือ Advance Research Project Agency net โดยมอบหมายให้กลุ่ม มหาวทิ ยาลยั ในสหรฐั อเมรกิ าเป็นผ้ทู ้าการวิจยั และเชอื่ มโยงเครือข่ายในปี ค.ศ. 1983 ไดม้ กี ารน้า TCP/IP Protocol หรอื Transmission Control Protocol มาใช้กบั คอมพิวเตอร์ทกุ เคร่อื งในระบบเป็นครังแรก จนกรทงั่ ได้กลายเป็นมาตรฐานในการติดต่อในระบบเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ มาจนถึงปจั จบุ นั ในปี ค.ศ. 1986 มีการก้าหนดชอ่ื โดเมน (Domain name System) เพ่ือสร้างฐานขอ้ มูลในแตล่ ะ เครือข่ายและใช้ ISP (Internet Service Provider) ในการจดั ทา้ ฐานข้อมูลของตนเองปัจจบุ นั คอมพิวเตอร์ ทวั่ โลกล้วนแตเ่ ชอ่ื มตอ่ กับเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตและสามารถติดต่อแลกเปลย่ี นข้อมลู กันได้อยา่ งกวา้ งขวาง และทัว่ ถงึ กว่าเดิมทม่ี า : http://computer.bcnnv.ac.th/hnwy-kar-reiyn-ru2 สงั คมออนไลนแ์ ละ IOT ความหมายของสังคมออนไลน์ (Social Network) สงั คมออนไลน์ ตรงกับภาษาองั กฤษว่า Social Online หรอื social media ซง่ึ นยิ มกนั เรียกคือ Socialmedia มคี วามหมายดังตอ่ ไปนีค้าวา่ Social หมายถงึ สังคมนจี ะหมายถงึ สังคมออนไลน์ ซึง่ มีขนาด ใหญ่มากในปจั จบุ ัน ส่วนค้าว่าmedia หมายถงึ ส่อื กค็ ือ เนือหา เรื่องราว บทความ วิดีโอ รูปภาพ เพลง เป็นต้นดงั นัน ค้าว่า social media จงึ หมายถงึ ส่อื สงั คมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมไดห้ ลาย ทศิ ทางโดยผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ในรูปแบบ บทความ วิดีโอ เพลง รูปภาพ โดยผา่ นโซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ ท่ใี ห้บรกิ าร บนโลกออนไลน์ ซึง่ ในเนือหาจะใช้คา้ ว่าสังคมออนไลน์ (social network) ความเป็นมาของเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ การเกิดขนึ และเตบิ โตของเครือข่ายสังคมออนไลน์นีมาจากการพัฒนาทางเทคโนโลยอี นิ เทอร์เน็ต จากเว็บ1.0 (เว็บเนือหา) มาสู่เวบ็ 2.0 (เวบ็ เชงิ สงั คม) ซึง่ จุดเดน่ ของเวบ็ 2.0 คอื การทผี่ ใู้ ช้สามารถสร้าง เนอื หาบนอินเทอรเ์ นต็ ได้เอง โดยไม่จ้ากดั วา่ จะตอ้ งเป็นทีมงานหรอื ผู้ดูแลเวบ็ ไซต์ ซ่งึ เรยี กวา่ User Generate Contentขอ้ ดขี องการทีผ่ ู้ใชเ้ ข้ามาสร้างเนือหาไดเ้ อง ทา้ ให้มีการผลิตเนอื หาเข้ามาเป็นจา้ นวน มาก และมีความหลากหลายของมมุ มองความคิด เพราะจากเดิมผู้ดแู ลจะเปน็ คนคิดและหาเนือหามาลงแต่ เพยี งกลมุ่ เดยี ว ทมี่ า : https://sites.google.com/site/technologysvc/khwam -hmay-khxng-sangkhm-xxnlin
ความหมายและประเภทของสือ่ สังคมออนไลน์ ความหมายของสอ่ื สงั คมออนไลน์ สือ่ สังคมออนไลน์ หมายถงึ สอ่ื ดจิ ทิ ลั ท่เี ปน็ เครอื่ งมือในการปฏบิ ตั ิการทางสังคม (Social Tool) เพื่อ ใช้สอ่ื สารระหว่างกันในเครือขา่ ยทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยกุ ตบ์ น สือ่ ใดๆ ท่มี ีการเชื่อมต่อกบั อนิ เทอร์เน็ต โดยเนน้ ให้ผใู้ ชท้ งั ที่เปน็ ผ้สู ง่ สารและผรู้ บั สารมีส่วนร่วม (Collaborative) อย่างสรา้ งสรรค์ ในการผลติ เนือหาขนึ เอง (User-GenerateContent: UGC) ในรปู ของ ขอ้ มลู ภาพ และเสยี ง ประเภทของสือ่ สังคมออนไลน์ ประเภทของสอื่ สังคมออนไลน์ มีหลายชนิด ขึนอยูก่ ับลกั ษณะของการน้ามาใชโ้ ดยสามารถแบง่ เปน็ กลุ่ม หลักดงั นี 1. Weblogs หรอื เรียกสันๆ วา่ Blogs คอื สอื่ สว่ นบุคคลบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่ใช้เผยแพรข่ อ้ มูล ขา่ วสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บนั ทกึ สว่ นตัว โดยสามารถแบ่งปนั ให้บคุ คลอ่นื ๆ โดยผู้รบั สารสามารถเขา้ ไปอ่าน หรอื แสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เตมิ ได้ ซึ่งการแสดงเนอื หาของบล็อกนนั จะเรยี งล้าดบั จากเนือหาใหม่ไปสู่เนือหาเก่า ผู้เขยี นและผ้อู ่านสามารถคน้ หาเนือหายอ้ นหลงั เพือ่ อา่ นและแก้ไขเพิม่ เติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang , Wordpress , Blogger, Okanation 2. Social Networking หรอื เครอื ข่ายทางสังคมในอนิ เทอรเ์ น็ต ซง่ึ เป็นเครือข่ายทางสงั คมทใ่ี ช้ สา้ หรับเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งบุคคล กลุ่มบุคคล เพ่ือใหเ้ กิดเป็นกลุ่มสงั คม (Social Community) เพื่อรว่ มกนั แลกเปลย่ี นและแบ่งปันข้อมลู ระหวา่ งกนั ทังดา้ นธุรกจิ การเมอื ง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in , MySpace , Youmeo , Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรยี กกนั วา่ “บลอ็ กจว๋ิ ” ซง่ึ เปน็ เว็บเซอรว์ สิ หรือ เว็บไซต์ท่ีให้บริการแกบ่ ุคคลทว่ั ไป สา้ หรับใหผ้ ูใ้ ช้บรกิ ารเขียนขอ้ ความสันๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่ เรียกว่า “Status”หรือ “Notice” เพ่ือแสดงสถานะของตวั เองว่าก้าลังท้าอะไรอยู่ หรอื แจ้งขา่ วสารต่างๆ แก่กลุ่มเพ่ือนในสงั คมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทังนีการก้าหนดให้ใชข้ ้อมลู ในรูปขอ้ ความสันๆ ก็เพ่อื ให้ผู้ใชท้ ่เี ป็นทงั ผู้เขียนและผู้อ่านเขา้ ใจง่าย ทนี่ ิยมใช้กนั อย่างแพรห่ ลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการวดิ โี อออนไลน์โดยไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย ซึ่งปจั จบุ ันไดร้ ับความ นิยมอย่างแพร่หลายและขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว เนื่องจากเนือหาท่ีนา้ เสนอในวดิ ีโอออนไลนไ์ ม่ถูกจ้ากัดโดยผงั รายการท่ีแนน่ อนและตายตัว ท้าให้ผู้ใช้บรกิ ารสามารถติดตามชมได้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพราะไมม่ โี ฆษณาคั่น รวมทังผูใ้ ชส้ ามารถเลอื กชมเนอื หาได้ตามความต้องการและยังสามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวดิ โี ออ่นื ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ งไดจ้ า้ นวนมากอกี ดว้ ย
เช่น YouTube, MSN, Yahoo 5. Photo Sharing เป็นเว็บไซต์ท่เี นน้ ให้บรกิ ารฝากรูปภาพโดยผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถอพั โหลดและ ดาวน์โหลดรูปภาพเพอ่ื น้ามาใช้งานได้ ทีส่ า้ คญั นอกเหนอื จากผูใ้ ชบ้ ริการจะมีโอกาสแบ่งปันรปู ภาพแลว้ ยัง สามารถใช้เป็นพนื ที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองน้าเข้าไปฝากไดอ้ กี ด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express,Zoom 6. Wikis เปน็ เว็บไซตท์ ม่ี ีลกั ษณะเป็นแหลง่ ข้อมลู หรอื ความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผูเ้ ขียนส่วน ใหญ่อาจจะเป็นนกั วชิ าการ นกั วิชาชพี หรอื ผู้เชีย่ วชาญเฉพาะทางดา้ นตา่ งๆ ทังการเมือง เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรมซง่ึ ผู้ใชส้ ามารถเขียนหรือแกไ้ ขข้อมูลไดอ้ ยา่ งอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คอื การสร้างโลกจินตนาการโดยจา้ ลองสว่ นหน่งึ ของชีวิตลงไป จัดเป็นส่ือสังคม ออนไลนท์ บี่ รรดาผ้ทู อ่ งโลกไซเบอร์ใชเ้ พื่อสอ่ื สารระหว่างกนั บนอินเทอร์เนต็ ในลกั ษณะโลกเสมือนจรงิ (Virtual Reality) ซึ่งผทู้ ่ีจะเขา้ ไปใช้บรกิ ารอาจจะบริษทั หรือองคก์ ารด้านธุรกิจ ดา้ นการศกึ ษา รวมถงึ องค์การด้านส่อื เช่น สา้ นักขา่ วรอยเตอร์ ส้านกั ขา่ วซเี อน็ เอน็ ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในการซอื พืนทเี่ พือ่ ใหบ้ คุ คล ในบรษิ ัทหรือองคก์ รไดม้ ีช่องทางในการน้าเสนอเรื่องราวตา่ งๆ ไปยังกลมุ่ เครอื ขา่ ยผูใ้ ชส้ ื่อออนไลน์ ซงึ่ อาจจะเปน็ กลมุ่ ลกู ค้าทังหลัก และรองหรอื ผู้ทีเ่ กย่ี วข้องกับธรุ กิจ ของบรษิ ทั หรือองค์การก็ได้ ปจั จบุ ัน เว็บไซตท์ ่ใี ชห้ ลัก Virtual Worlds ท่ีประสบผลส้าเรจ็ และมชี ่ือเสยี ง คือ Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของค้าสองค้าคอื Crowd และ Outsourcing เปน็ หลักการขอ ความร่วมมือจากบคุ คลในเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ โดยสามารถจดั ท้าในรปู ของเวบ็ ไซตท์ ี่มีวตั ถปุ ระสงค์หลัก เพอ่ื คน้ หาค้าตอบและวิธีการแกป้ ญั หาตา่ งๆทงั ทางธรุ กิจ การศกึ ษา รวมทงั การสื่อสาร โดยอาจจะเป็นการ ดงึ ความร่วมมอื จากเครอื ข่ายทางสังคมมาชว่ ยตรวจสอบข้อมลู เสนอความคิดเห็นหรือให้ขอ้ เสนอแนะ กลมุ่ คนท่เี ข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเปน็ ประชาชนทัว่ ไปหรอื ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นท่ีอย่ใู นภาคธรุ กิจหรือ แม้แต่ในสงั คมนักข่าว ขอ้ ดขี องการใช้หลัก Crowd souring คอื ทา้ ใหเ้ กิดความหลากหลายทางความคิด เพื่อน้า ไปสกู่ ารแกป้ ัญหาทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนชว่ ยตรวจสอบหรอื คดั กรองข้อมูลซึ่งเปน็ ปัญหา สาธารณะร่วมกันได้ เชน่ Idea storm,Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตวั ของสองคา้ คอื “Pod” กบั “Broadcasting” ซ่ึง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คอื อุปสงค์หรอื ความต้องการส่วนบคุ คล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนา้ ส่อื ตา่ งๆ มารวมกนั ในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกลา่ วง่ายๆ Podcast คือ การบนั ทกึ ภาพ และเสยี งแลว้ น้ามาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพ่ือเผยแพรใ่ หบ้ ุคคลภายนอก (The public in general) ที่ สนใจดาวนโ์ หลดเพือ่ น้าไปใชง้ าน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เปน็ เวบ็ บอรด์ ทีผ่ ูใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเหน็ โดย
อาจจะเกยี่ วกบั สินคา้ หรอื บรกิ าร ประเดน็ สาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม เชน่ Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp อปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือทางสื่อสงั คมออนไลน์ คอมพิวเตอร์ คอื เครอ่ื งค้านวณ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทส่ี ามารถท้างานค้านวณผลและเปรยี บเทยี บค่าตาม ชดุ ค้าสั่งด้วยความเรว็ สูงอย่างตอ่ เนือ่ งและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 ไดใ้ ห้ค้า จ้ากดั ความของคอมพวิ เตอรไ์ ว้คอ่ นข้างกะทัดรดั ว่า เครื่องอเิ ล็กทรอนิกส์แบบอตั โนมัติ ทา้ หนา้ ท่เี สมือน สมองกล ใช้ส้าหรับแกป้ ัญหาต่างๆ ทงั ท่งี า่ ยและซบั ซ้อน โดยวิธีทางคณติ ศาสตร์ หรอื อาจกล่าวได้วา่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หมายถึง เคร่ืองมือทช่ี ่วยในการคา้ นวณและการประมวลผลขอ้ มลู สมาร์ทโฟน (SmartPhone) คอื โทรศัพท์มือถือท่ีนอกเหนอื จากใช้โทรออก-รบั สายแลว้ ยงั มี แอพพลเิ คชั่นให้ใช้งานมากมาย สามารถรองรบั การใชง้ านอนิ เทอร์เนต็ ผ่าน 3G, Wi-Fi และสามารถใช้งาน โซเชยี ลเน็ตเวิร์คและแอพพลิเคช่นั สนทนาชันนา้ เชน่ LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดยท่ี ผใู้ ชส้ ามารถปรับแตง่ ลกู เล่นการใช้งานสมาร์ทโฟนใหต้ รงกับความต้องการไดม้ ากกวา่ มือถอื ธรรมดา ผูผ้ ลติ สมารท์ โฟนร่นุ ใหม่ๆ นยิ มผลิตสมารท์ โฟนที่มีหนา้ จอระบบสัมผสั , ใสก่ ลอ้ งถา่ ยรปู ท่ีมีความละเอียดสูง, ออกแบบดีไซน์ใหส้ วยงามทนั สมยั , มแี อพพลเิ คชัน่ และลูกเลน่ ท่นี ่าสนใจ แท็บเลต็ (Tablet) คอื อปุ กรณ์คอมพิวเตอรท์ มี่ หี นา้ จอระบบสัมผสั ขนาดใหญ่ มีขนาดหน้าจอตังแต่ นิวขนึ ไป พกพาไดส้ ะดวก สามารถใชง้ านหน้าจอผ่านการสมั ผัสผ่านปลายนิวได้โดยตรง มีแอพพลเิ คช่ัน มากมายให้เลอื กใช้ ไม่วา่ จะรับ-สง่ อเี มล์, เลน่ อนิ เทอร์เนต็ , ดูหนงั , ฟงั เพลง, เลน่ เกม หรือแมก้ ระทง่ั ใช้ ทา้ งานเอกสารออฟฟติ ข้อดขี องแทบ็ เล็ตคือมหี น้าจอทก่ี ว้าง ท้าให้มีพนื ที่การใชง้ านเยอะ มนี า้ หนกั เบา พกพาไดส้ ะดวกกวา่ โน๊ตบุค๊ หรอื คอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทึกหรือใช้เป็นอุปกรณ์เพอ่ื การศึกษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี อุปกรณ์เครอื ข่ายเซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือเรียกอีกอยา่ งหนงึ่ ว่า เคร่อื งแมข่ ่าย เปน็ เครื่อง คอมพิวเตอรห์ ลักในเครอื ข่าย ที่ท้าหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ขอ้ มลู และทรัพยากรอ่ืนๆ กบั คอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งอน่ื ๆ ใน เครือขา่ ย โดยปกติคอมพิวเตอรท์ น่ี ้ามาใช้เปน็ เซริ ฟ์ เวอร์มักจะเป็นเครอื่ งท่ีมี สมรรถนะสงู และมฮี ารด์ ดิสกค์ วามจ้าสูงกว่าคอมพวิ เตอร์เคร่ืองอ่นื ๆ ในเครอื ขา่ ย ไคลเอนต์ (Client) หรอื เรยี กอกี อย่างหนึง่ ว่า เครอ่ื งลูกข่าย เปน็ คอมพวิ เตอร์ในเครอื ข่ายทร่ี อ้ งขอ บริการและเข้าถึงไฟลข์ อ้ มลู ท่ีจดั เก็บในเซริ ฟ์ เวอร์ หรือพูดงา่ ย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผูใ้ ช้ แต่ละคนในระบบเครือข่าย ฮับ (HUB) หรอื เรียก รพี ตี เตอร์ (Repeater) คืออุปกรณท์ ใี่ ชเ้ ชือ่ มตอ่ กล่มุ คอมพวิ เตอร์ ฮบั มหี นา้ ท่ี รับสง่ เฟรมขอ้ มูลทกุ เฟรมทไี่ ด้รบั จากพอร์ตใดพอร์ตหน่ึง ไปยงั พอรต์ ท่เี หลือ คอมพวิ เตอรท์ ี่เชื่อมตอ่ เข้า
กบั ฮบั จะแชร์แบนด์วิธหรืออตั ราขอ้ มูลของเครือข่าย เพราะฉะนันถา้ มีคอมพิวเตอรเ์ ช่อื มตอ่ มากจะท้าให้ อตั ราการสง่ ขอ้ มูลลดลงเนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คอื อุปกรณเ์ ครือข่ายที่ทา้ หน้าที่ในเลเยอรท์ ี่ 2 และทา้ หนา้ ท่ีส่งข้อมลู ทไี่ ดร้ ับมา จากพอร์ตหนึ่งไปยงั พอร์ตเฉพาะท่ีเปน็ ปลายทางเท่านนั และทา้ ใหค้ อมพวิ เตอร์ที่เชื่อมต่อกบั พอรต์ ทเ่ี หลือ สง่ ข้อมลู ถงึ กันในเวลาเดียวกัน ดงั นัน อัตราการรบั ส่งขอ้ มูลหรอื แบนดว์ ธิ จึงไมข่ นึ อยูก่ บั คอมพิวเตอร์ ปจั จุบันนยิ มเชือ่ มตอ่ แบบนมี ากกวา่ ฮบั เพราะลดปญั หาการชนกนั ของข้อมูล เราตเ์ ตอร์ (Router) เป็นอปุ รณท์ ี่ทา้ หน้าทใ่ี นเลเยอรท์ ี่ 3 เราท์เตอร์จะอา่ นทอ่ี ยู่ (Address) ของ สถานีปลายทางทส่ี ่วนหวั (Header) ขอ้ แพ็กเก็ตขอ้ มลู เพ่อื ท่ีจะก้าหนดและส่งแพก็ เกต็ ต่อไป เราทเ์ ตอรจ์ ะ มีตัวจดั เสน้ ทางในแพก็ เกต็ เรยี กว่า เราติงเทเบลิ (Routing Table) หรอื ตารางจัดเส้นทางนอกจากนยี ังส่ง ข้อมูลไปยังเครือข่ายทใี่ ห้โพรโทคอลตา่ งกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนยี งั เชอื่ มต่อกับเครือขา่ ยอน่ื ได้ เชน่ เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต บริดจ์ (Bridge) เปน็ อปุ กรณท์ ี่มกั จะใชใ้ นการเช่ือมตอ่ วงแลน (LAN Segments) เขา้ ดว้ ยกนั ทา้ ให้ สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรือ่ ยๆ โดยทป่ี ระสทิ ธภิ าพรวมของระบบ ไมล่ ดลงมากนัก เน่ืองจากการตดิ ตอ่ ของเคร่ืองทอ่ี ยู่ในเซกเมนต์เดียวกนั จะไม่ถกู สง่ ผา่ น ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์ อนื่ และเนื่องจากบริดจ์เปน็ อปุ กรณท์ ที่ ้างานอยู่ในระดับ Data Link Layer จงึ ทา้ ให้สามารถใชใ้ นการ เชื่อมต่อเครือข่ายท่ีแตกต่างกนั ในระดับ Physical และ Data Link ได้ เชน่ ระหวา่ ง Eternet กบั Token Ring เป็นตน้ บริดจ์ มกั จะถกู ใชใ้ นการเชอ่ื มเครอื ข่ายยอ่ ยๆ ในองคก์ รเข้าดว้ ยกันเป็นเครือขา่ ยใหญ่ เพยี ง เครอื ขา่ ยเดียว เพื่อใหเ้ ครือขา่ ยย่อยๆ เหล่านันสามารถตดิ ตอ่ กับเครือข่ายย่อยอนื่ ๆได้ เกตเวย์ (Gateway) เปน็ อุปกรณ์ฮาร์ดแวรท์ ีเ่ ช่ือมตอ่ เครือขา่ ยต่างประเภทเข้าดว้ ยกัน เชน่ การใช้ เกตเวย์ในการเช่ือมต่อเครอื ขา่ ย ทเ่ี ป็นคอมพวิ เตอร์ประเภทพซี ี (PC) เข้ากบั คอมพิวเตอร์ประเภทแมคอนิ ทอช (MAC) เป็นตน้ ประโยชน์และขอ้ จากดั ของสังคมออนไลน์ แม้ลกั ษณะของเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ จะเป็นสอ่ื ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารสามารถกระจายออกไปอย่าง รวดเรว็ และกว้างขวางมคี ุณประโยชนม์ ากมายในด้านการตดิ ตอ่ ส่อื สาร แต่ก็เปรยี บเสมอื นดาบสองคมหาก ผใู้ ช้ขาดคณุ ธรรมจริยธรรม สามญั ส้านกึ การรู้จักเคารพสทิ ธิ ของผู้อน่ื และความระมัดระวังในการใชแ้ ล้ว สงั คมออนไลน์เหลา่ นีก็จะเปน็ \"สังคมอันตราย\"ทจ่ี ะเปน็ ดา้ นมดื ของสังคมไทยประโยชน์ของ Social networks เครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูลความรใู้ นส่งิ ทส่ี นใจร่วมกันได้ 2. เป็นคลงั ขอ้ มลู ความรู้ขนาดยอ่ มเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคดิ เหน็ แลกเปลี่ยน ความรู้ หรอื ตงั คาถามในเรอื่ งตา่ งๆ เพ่ือให้บคุ คลอื่นท่สี นใจหรอื มคี าตอบได้ชว่ ยกันตอบ
3. ประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั คนอื่น สะดวกและรวดเรว็ 4.เปน็ สอ่ื ในการน้าเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขยี น รปู ภาพ วดี ิโอตา่ งๆ เพื่อใหผ้ อู้ ่ืนได้เข้ามา รบั ชมและแสดงความคิดเหน็ 5. ใช้เป็นสอ่ื ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรอื บริการลูกคา้ สาหรบั บริษัทและองค์กรต่างๆ ชว่ ย สรา้ งความเช่ือมนั่ ใหล้ กู คา้ 6. ชว่ ยสร้างผลงานและรายได้ใหแ้ กผ่ ู้ใช้งาน เกดิ การจา้ งงานแบบใหมๆ่ ขนึ 7. คลายเครียดไดส้ ้าหรบั ผูใ้ ช้ทต่ี ้องการหาเพ่ือนคยุ เลน่ สนุกๆ 8. สร้างความสมั พันธ์ท่ีดีจากเพื่อนสูเ่ พ่อื นได้ ข้อจ้ากดั ของSocial networks เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ 1. เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปดิ เผยขอ้ มูลส่วนตัวมากเกินไป หากผ้ใู ชบ้ ริการไม่ระมัดระวงั ใน การกรอกขอ้ มูล อาจถกู ผ้ไู ม่หวงั ดีนา้ มาใชใ้ นทางเสียหาย หรอื ละเมดิ สทิ ธิส่วนบุคคลได้ 2. Social Network เป็นสังคมออนไลน์ท่ีกวา้ ง หากผู้ใช้รูเ้ ท่าไมถ่ งึ การณ์หรือขาดวจิ ารณญาณ อาจ โดนหลอกลวงผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต หรือการนดั เจอกนั เพือ่ จุดประสงคร์ ้าย ตามทเ่ี ปน็ ขา่ วตามหนา้ หนงั สือพิมพ์ 3. เป็นชอ่ งทางในการถูกละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ ขโมยผลงาน หรอื ถกู แอบอ้าง เพราะ Social Network Serviceเปน็ สือ่ ในการเผยแพรผ่ ลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราใหบ้ คุ คลอน่ื ไดด้ แู ละแสดงความคดิ เห็น 4. ข้อมลู ทต่ี ้องกรอกเพอ่ื สมัครสมาชกิ และแสดงบนเวบ็ ไซต์ในรูปแบบ Social Network ยากแกก่ าร ตรวจสอบว่าจรงิ หรอื ไม่ ดงั นันอาจเกิดปญั หาเกย่ี วกับเวบ็ ไซต์ท่กี ้าหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถกู หลอกโดยบคุ คลทไี่ มม่ ีตัวตนได้ 5. ผู้ใช้ทีเ่ ลน่ socialnetwork และอยู่กับหน้าจอคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียไดห้ รือ บางคนอาจตาบอดได้ 6. ถ้าผใู้ ช้หมกหมุน่ อยกู่ บั socialnetwork มากเกินไปอาจทา้ ให้เสยี การเรียนหรอื ผลการเรียนตก ต้่าลงได้ 7. จะท้าให้เสยี เวลาถา้ ผใู้ ช้ใช้อยา่ งไร้ประโยชน์ยกตวั อยา่ งประโยชนแ์ ละข้อจ้ากัดการใช้ Facebook เป็นศนู ยแ์ หง่ การเรยี นรูใ้ นสถานศึกษา ในกรณีท่ียกเลิกการเรียนการสอนในห้องเรียนเพราะสภาพอากาศไม่ เออื อา้ นวย ครูผู้สอนสามารถใช้ Facebook เป็นศูนย์แหง่ การเรยี นรู้ร่วมกบั ผ้เู รียนโดยการก้าหนดหัวขอ้ เก่ยี วกบั วิชาทีส่ อนเพ่อื ใหผ้ ้เู รียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ไม่ควรใช้ข้อความทรี่ นุ แรงในการแสดงความ คิดเห็นเก่ยี วกับผ้เู รียนและสถานศกึ ษา หลกี เลีย่ งการแสดงข้อความท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ขอ้ โตแ้ ย้งที่รุนแรง ควรตังค่าการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ท่ีผเู้ รียนทกุ คนสามารถเขา้ ไปอ่านได้ควรแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับ ผู้เรียนในเชิงบวกเทา่ นันจะเหน็ ได้ว่า Facebook เปน็ ศูนยแ์ ห่งการเรียนรู้และเปน็ หว่ งโซ่การศึกษาขนาด ใหญท่ ่ีทรง
ประสิทธภิ าพในการเรียนรแู้ บบไรข้ ดี จา้ กัด ซึง่ ครูผูส้ อนและผ้เู รยี นสามารถเข้าถึงได้จากทกุ ท่ี ทุกเวลา ตลอด วนั ละ 24 ชัว่ โมง สัปดาหล์ ะ 7 วนั ฉะนัน ผ้บู ริหารการศกึ ษาจงึ ควรก้าหนดแนวปฏิบตั ิในการใช้ Facebook อย่างเหมาะสมเพ่อื ช่วยลดความเส่ียงด้านการใช้ Facebook ไปในทางทผ่ี ดิ หรือดา้ นการกอ่ ใหเ้ กิดความ เส่ือมเสียชอ่ื เสียงแก่สถานศกึ ษา ย่งิ กวา่ นนั ผบู้ รหิ ารการศึกษาจ้าเป็นต้องพัฒนานโยบายการใช้ Facebook ทีม่ อี ยู่เป็นระยะๆ เพ่ือให้เข้ากบั สถานการณ์และยุคสมัยทเี่ ปลี่ยนแปลงไปด้วย ประโยชนข์ องการใช้ Facebook เพื่อการเรียนการสอน 1. สอื่ สารถึงนกั ศกึ ษาไดอ้ ย่างรวดเร็วกวา่ การใชอ้ ีเมลล์หรอื อเี ลริ ์นนิง่ 2. สง่ เสริมการกระตุ้นให้นกั ศึกษาได้แบ่งปันความรู้ แลกเปล่ียนความคิดไดอ้ ย่างทว่ั ถึงและรวดเรว็ 3. นกั ศกึ ษามีความสะดวกในการรับรู้ข้อมูลขา่ วสาร ข้อจากัดของการใช้ Facebook เพ่ือการเรยี นการสอน 1. อาจละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคลได้ 2. อาจารย์หรือนักศกึ ษาไมเ่ ป็นส่วนตัวในการขอ้ ความหรอื รูปภาพต่างๆ ประโยชนแ์ ละข้อจากดั การประยุกต์ใช้งาน Youtube เพอ่ื การเรียนการสอน Youtube เปน็ เวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการแลกเปลยี่ นภาพวิดีโอระหวา่ งผู้ใช้ไดฟ้ รี โดยน้าเทคโนโลยขี อง Adobe Flashมาใชใ้ นการแสดงภาพวิดีโอ ซ่งึ Youtube มีนโนบายไมใ่ หอ้ ัปโหลดคลิปทม่ี ภี าพโป๊เปลอื ย และคลิปทม่ี ีลขิ สทิ ธ์ิ นอกเสยี จากเจา้ ของลิขสิทธ์ิไดอ้ ปั โหลดเองเมื่อสมัครสมาชกิ แล้วผู้ ใชจ้ ะสามารถใส่ภาพ วิดโี อเขา้ ไปแบ่งปันภาพวิดีโอให้คนอื่นดดู ้วยแตห่ ากไม่ได้สมัครสมาชิกกส็ ามารถเข้าไปเปิดดูภาพวิดโี อทผี่ ู้ใช้ คนอน่ื ๆ ใสไ่ วใ้ น Youtube ได้แมจ้ ะก่อตังได้เพยี งไมน่ าน (youtube กอ่ ตงั ขึนเมอ่ื เดอื นกุมภาพันธ์ ค.ศ.2005) Youtube เติบโตอย่างรวดเรว็ มาก เป็นท่ีรจู้ ักกันแพร่หลายและได้รบั ความนิยมทัว่ โลก ต่อมาปี ค.ศ.2006 Google ซือ Youtubeตอนนี Youtube จึงกลายเปน็ ส่วนหน่ึงของ Google แล้ว แต่ด้วยตวั Youtube เองท่ีมเี นือหามากมายเป็นแสนชิน ทังสื่อและเครอ่ื งมอื การเรียนรดู้ ีๆท่สี ามารถใชเ้ ปน็ สื่อการเรยี น การสอนในหอ้ งเรียนได้ แต่ในขณะเดียวกันกม็ ีสอ่ื ประเภทท่สี ่มุ เสีย่ ง และท้าให้เด็กและเยาวชนไขว้เขวไปได้ ทงั จากมิวสิควีดโี อ การต์ ูน และไม่ไดใ้ ชเ้ ป็นช่องทางเพือ่ การเรยี นรู้สกั ทีเดียว จงึ เปน็ ทม่ี าของการเปิดหนา้ การศึกษาล่าสุดเของ Youtube ขึนทเ่ี รียกวา่ “ Youtube ส้าหรับโรงเรียน”หรอื (Youtube for Schools) เป็นชอ่ งทางการเรียนรู้ท่ีจัดตงั ขนึ โดยจะมีเนอื แต่เรอ่ื งการศกึ ษาแต่เพียงอยา่ งเดียว โดยไดร้ ว่ มมือกับภาคี ด้านการศึกษากว่า600แหง่ เช่น TED,Smithsonian เวบ็ ไซดช์ ื่อดงั เรือ่ งที่ไดร้ วบรวมแหล่งเรยี นรู้และ นทิ รรศการต่างๆเอาไว้,Steve Spangler แหลง่ ผลติ เกมและของเล่นเพอ่ื การพฒั นาทกั ษะด้านวิทยาศาสตร์ หรือ Numberphile ท่ีสอนคณติ ศาสตรอ์ อนไลน์ เปน็ ต้น นอกจากนเี พือ่ ให้งา่ ยตอ่ การค้นหา Youtube ได้ ทา้ งานร่วมกับครูในการจัดแบง่ เนือหากว่า300ชิน ออกเป็นรายวิชา และระดับชนั โดยสอื่
เหลา่ นี Youtube เชือ่ วา่ จะช่วยเสรมิ การเรียนร้ใู นหอ้ งเรยี นได้เป็นอย่างดี ทา้ ให้หอ้ งเรยี นสนุกสนานขึน และเด็กๆกจ็ ะตงั ใจเรยี นมากยิ่งขนึ ประโยชนข์ อง YouTube สาหรบั โรงเรยี น 1. กวา้ งขวางครอบคลุมYouTubeส้าหรับโรงเรียนเปิดโอกาสใหโ้ รงเรียนตา่ งๆ เขา้ ถงึ วิดีโอเพอ่ื การศกึ ษาฟรนี บั แสนรายการจาก YouTube EDU วิดีโอเหลา่ นีมาจากองคก์ รท่ีมีชือ่ เสยี งต่างๆ เชน่ Stanford,PBS และTED รวมทังจากพันธมิตรทีก่ ้าลงั ได้รับความนิยมของYouTubeซึ่งมียอดผู้ชมนับลา้ นๆ คน เช่น Khan Academy,Steve Spangler Science และ Numberphile 2. ปรบั แก้ไดส้ ามารถก้าหนดคา่ เนือหาทีด่ ไู ด้ในโรงเรยี นของคณุ โรงเรียนทงั หมดจะไดร้ บั สทิ ธ์ิเข้าถงึ เนอื หาYouTube EDUทังหมด แตค่ รูและผู้ดแู ลระบบอาจสร้างเพลย์ลิสต์วิดีโอที่ดไู ดเ้ ฉพาะในเครือข่ายของ โรงเรยี นเท่านนั ไดเ้ ชน่ กัน 3. เหมาะสมส้าหรบั โรงเรียนผบู้ ริหารโรงเรยี นและครสู ามารถลงชื่อเขา้ ใช้และดวู ิดีโอใดๆ กไ็ ด้ แต่ นักเรียนจะไมส่ ามารถลงชื่อเข้าใช้และจะดูได้เฉพาะวิดีโอ YouTube EDU และวิดโี อที่โรงเรียนไดเ้ พมิ่ เข้าไป เท่านนั ความคดิ เหน็ และวิดีโอทีเ่ กีย่ วขอ้ งทังหมดจะถูกปดิ ใช้งานและการคน้ หาจะจา้ กดั เฉพาะวิดีโอ YouTube EDU เทา่ นัน 4. เป็นมิตรกับครู YouTube.com/Teachers มเี พลย์ลสิ ต์วิดีโอนบั รอ้ ยรายการทไี่ ด้มาตรฐาน การศกึ ษาทั่วไป และจัดระเบียบตามหัวเร่อื งและระดับชัน เพลยล์ สิ ตเ์ หลา่ นสี ร้างขนึ โดยครูเพอ่ื เพอื่ นครู ดว้ ยกนั ดงั นันคณุ จงึ มเี วลาในการสอนมากขึนและใช้เวลาค้นหาน้อยลง ขอ้ จ้ากัด 1.อาจมกี ารละเมิดลขิ สิทธิ์ 2.อาจมีการกระทา้ ทไี่ ม่ดี ทมี่ า : http://smforedu.blogspot.com/2014/02/blog-post.html IOT : Internet of Things Internet of Things (IoT) คอื \"อินเตอร์เน็ตในทุกสิง่ \" หมายถงึ การทีอ่ ปุ กรณ์ต่างๆ สง่ิ ต่างๆ ได้ถูก เชื่อมโยงทุกสงิ่ ทุกอย่างสู่โลกอนิ เตอร์เนต็ ท้าใหม้ นุษยส์ ามารถส่ังการควบคมุ การใช้งานอปุ กรณต์ ่างๆ ผา่ น ทางเครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ เชน่ การเปิด-ปิด อปุ กรณเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า (การส่งั การเปดิ ไฟฟา้ ภายในบา้ นด้วย การเชือ่ มต่ออปุ กรณค์ วบคุม เชน่ มอื ถือ ผา่ นทางอนิ เตอร์เน็ต) รถยนต์ โทรศัพท์มอื ถอื เคร่อื งมือสือ่ สาร เครอื่ งมอื ทางการเกษตร อาคาร บา้ นเรอื น เครอ่ื งใช้ในชวี ิตประจ้าวนั ตา่ งๆ ผา่ นเครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต เป็น ตน้ IoT มชี ่ือเรียกอีกอยา่ งวา่ M2M ยอ่ มาจาก Machine to Machine คือเทคโนโลยีอินเตอรเ์ นต็ ท่ี เชือ่ มต่ออปุ กรณก์ บั เคร่อื งมือตา่ งๆ เขา้ ไวด้ ้วยกันเทคโนโลยี IoT มคี วามจ้าเป็นต้องท้างานร่วมกบั อปุ กรณ์
ประเภท RFID และ Sensors ซ่งึ เปรยี บเสมือนการเตมิ สมองใหก้ บั อุปกรณต์ ่างๆ ท่ขี าดไม่ได้ คือการ เช่ือมตอ่ อนิ เตอร์เน็ต เพือ่ ใหอ้ ุปกรณ์สามารถรับส่งขอ้ มลู ถงึ กนั ได้ เทคโนโลยี IoT มีประโยชนใ์ นหลายด้าน แตก่ ็มาพรอ้ มกับความเสี่ยง เพราะหากระบบรักษาความปลอดภัยของอปุ กรณ์ และเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตไม่ ดีพอ กอ็ าจท้าให้มีผ้ไู มป่ ระสงค์ดีเข้ามาขโมยขอ้ มลู หรือละเมดิ ความเป็นสว่ นตวั ของเราได้ ดงั นนั การพัฒนา IoT จึงจ้าเปน็ ตอ้ งพัฒนามาตรการ และระบบรักษาความปลอดภัยไอทีควบคู่กันไปด้วย แบง่ กล่มุ Internet of Things ปัจจบุ ันมกี ารแบ่งกลุ่ม Internet of Things ออกตามตลาดการใช้งานเป็น 2 กลุ่มไดแ้ ก่ Industrial IoT คือ แบ่งจาก local network ทีม่ หี ลายเทคโนโลยีท่แี ตกต่างกนั ในโครงข่าย Sensor nodes โดยตัวอปุ กรณ์ IoT Device ในกลมุ่ นีจะเช่อื มตอ่ แบบ IP network เพือ่ เขา้ สูอ่ นิ เตอรเ์ นต็ Commercial IoT คอื แบ่งจาก local communication ที่เปน็ Bluetooth หรือ Ethernet (wired or wireless) โดยตัวอุปกรณ์ IoT Device ในกลุ่มนจี ะสอ่ื สารภายในกลุม่ Sensor nodes เดียวกนั เท่านนั หรือเปน็ แบบ local devices เพยี งอย่างเดียวอาจไมไ่ ดเ้ ชือ่ มส่อู นิ เตอรเ์ นต็ ท่มี า : https://blog.sogoodweb.com/Article/Detail/59554__
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: