Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้องค์ประกอบ20204-2006

ใบความรู้องค์ประกอบ20204-2006

Published by tamcomed50, 2021-09-21 06:16:18

Description: ใบความรู้องค์ประกอบ20204-2006

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ วิชาองค์ประกอบศิลปส์ าหรบั งานคอมพวิ เตอร์ (Art Elements for Computer Works) รหสั วชิ า ๒๐๒๐๔ – ๒๐๐๖ จุดประสงค์รายวชิ า เพอื่ ให้ 1–2- 2 1. เขา้ ใจเกย่ี วกับหลักการขององคป์ ระกอบศิลปส์ าหรบั งานคอมพวิ เตอร์ 2. เขา้ ใจเกยี่ วกบั การวิเคราะห์ จาแนก ธาตทุ างทัศนศิลป์ หลักการ และกฎเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศิลป์ 3. เขา้ ใจในการจดั พน้ื ที่ จุดสนใจของวัตถุ การเน้น การจดั วางตาแหน่งวัตถุและจดั วางวัตถุชนดิ ต่าง ๆ 4. สามารถออกแบบ สรา้ ง แก้ไข และตกแตง่ ชิ้นงานโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป 5. มเี จตคตแิ ละกิจนิสยั ทีด่ ใี นการปฏิบัตงิ านคอมพวิ เตอรด์ ้วยความละเอยี ดรอบคอบ และถกู ตอ้ ง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ียวกับการวิเคราะห์ จาแนก ธาตุทางทศั นศิลป์ หลกั การ และกฎเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. แสดงความรูก้ ารจดั พื้นท่ี จุดสนใจของวตั ถุ การเนน้ การจัดวางตาแหนง่ วตั ถแุ ละจัดวางวตั ถุชนิดต่าง ๆ 3. ออกแบบส่อื ดิจทิ ัลตามหลกั การของการจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ 4. ปฏบิ ตั ิการออกแบบ สร้าง แกไ้ ข และตกแตง่ ช้ินงานโดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รปู คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเกีย่ วกบั หลักการขององค์ประกอบศิลป์ การจาแนก ธาตทุ างทัศนศิลป์ หลักการและ กฎเกณฑข์ ององคป์ ระกอบศลิ ป์ การจัดพน้ื ท่ี จดุ สนใจของวตั ถุ การเนน้ การจดั วางตาแหนง่ วัตถแุ ละจดั วางวตั ถุ ชนดิ ต่าง ๆ การออกแบบ สรา้ ง แก้ไขและตกแตง่ ชิ้นงานโดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู

องค์ประกอบศิลป์ หวั ขอ้ เรื่อง (Topics) แนวคดิ สาคญั (Main Idea) ในปจั จุบนั เทคโนโลยกี า้ วเข้าสกู่ ารนาสมัย ไม่ว่าจะมองไปทางใด จะพบคอมพิวเตอร์ได้เขา้ มามีบทบาทในงาน ตา่ ง ๆ มากยิง่ ขน้ึ รวมไปถงึ งานด้านกราฟิกทไี่ ด้มีการาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาสรา้ งสรรค์ในช้นิ งานการออกแบบและ เกดิ พัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง ซง่ึ ในหน่วยการเรียนน้จี ะศกึ ษาและทาความเข้าใจกับคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้ในงานกราฟิก องค์ประกอบศิลป์ หมายถงึ สิ่งทีศ่ ิลปินและนกั ออกแบบใช้เปน็ ส่ือในการแสดงออกและสร้างความหมาย โดย นามาจัดเข้าด้วยกันและเกดิ รปู ร่างอันเด่นชัด (สวนศรี ศรแี พงพงษ์. ม.ป.ป. : 82) องคป์ ระกอบศิลป์ หมายถึง เคร่อื งหมายหรอื รูปแบบท่ีนามาจัดรวมกนั แล้วเกิดรปู ร่างต่าง ๆ ท่แี สดงออกในการ สื่อความหมายและความคิดสรา้ งสรรค์ (่สิทธิศกั ด์ิ ธัญศรีสวัสด์ิกุล. ม.ป.ป. : 56) องค์ประกอบศลิ ป์ หมายถึง ศิลปะท่มี นษุ ย์สร้างขึน้ เพอ่ื แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สกึ ความคดิ หรอื ความงาม ซึ่งประกอบด้วยส่วนทมี่ นุษยส์ ร้างข้นึ และส่วนท่ีเปน็ การแสดงออกอนั เปน็ ผลทเี่ กดิ จากโครงสร้างทางวตั ถุ (ชลูด นมิ ่ เสมอ. ม.ป.ป. : 18) องค์ประกอบศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบต่าง ๆ ของศิลปะ เชน่ จดุ เสน้ รูปร่าง ขนาด สดั ส่วน น้าหนัก แสงเงา ลกั ษณะพนื้ ผวิ ทวี่ ่าง และสี (มานติ กรนิ พงศ์. ม.ป.ป. : 51) จากความหมายต่าง ๆ ข้างตน้ ขององค์ประกอบศิลป์ พอสรุปได้ว่า องคป์ ระกอบศิลป์ หมายถงึ สงิ่ ทม่ี นุษยใ์ ช้ เป็นสื่อ ในการแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์ โดยนาส่วนประกอบของศิลปะมาจัดวางรวมกนั อยา่ งสอดคล้องกลมกลืน และมคี วามหมาย เกิดรูปร่างหรอื รูปแบบต่าง ๆ อันเดน่ ชัด ซึง่ จากความหมายขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่าการท่ีจะเกดิ ผลงานศิลปะดี ๆ สักชนิ้ นั้นผสู้ รา้ งสรรค์จะตอ้ งใช้ กระบวนการท่ีหลากหลายมาประกอบกนั ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบพื้นฐานทาศลิ ปะ องค์ประกอบของศิลปะ และการ จดั องคป์ ระกอบของศลิ ปะ มาถ่ายทอดลงในช้ินงานหรือผลงานน้นั ๆ เพื่อให้ไดผ้ ลงานทีม่ คี ุณคา่ ทงั้ ดา้ นความงาม และมคี ณุ คา่ ทางจิตใจ อนั เป็นจุดหมายสาคญั ทศ่ี ิลปนิ ทุกคนมุง่ หวังใหเ้ กิดแก่ผูช้ มทั้งหลาย ความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะในสาขาต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ สาขาวจิ ิตรศลิ ปห์ รอื ประยุกต์ศิลป์ ผู้สร้างสรรค์นนั้ ตอ้ งมีความรเู้ บอ้ื งต้นดา้ นศลิ ปะมาก่อน และศกึ ษาถึงหลักการองค์ประกอบพ้ืนฐาน องค์ประกอบทส่ี าคญั การจกั วางองคป์ ระกอบเหล่านน้ั รวมถึงการกาหนดสี ในลักษณะต่าง ๆ เพ่ิมเติมให้เกิดความเขา้ ใจ เพ่ือ เวลาที่สร้างผลงานท่ีมีคุณค่า ความหมายและความงามเป็นทน่ี ่าสนใจแก่ผพู้ บเห็น หาดสรา้ งสรรค์ผลงานโดยขาด องค์ประกอบศลิ ป์ ผลงานน้ันอาจดดู อ้ ยคา่ หมดความหมายหรอื ไม่น่าสนใจไปเลย ดังนั้นจะเห็นไดว้ า่ องค์ประกอบ ศิลป์นน้ั มคี วามสาคญั อยา่ งมากในการสร้างสรรค์ศิลปะ การศกึ ษาดน้ ศิลปะหลายท่านไดใ้ ห้ทรรศนะในดา้ น ความสาคัญขององคป์ ระกอบศิลป์ท่มี ตี อ่ การสร้างงานศิลปะไว้ พอจะสรุปได้ดงั นี้

องคป์ ระกอบศิลป์ เปน็ เสมือนหวั ใจดวงหนึง่ ของการทางานศิลปะ เพราะในงานองคป์ ระกอบศิลป์หนงึ่ ช้นิ จะประกอบไปดว้ ย การร่างภาพ (วาดเส้น) การจัดวางใหเ้ กิดความงาม (จัดภาพ) และการใชส้ ี (ทฤษฎีสี) ซึ่งแตล่ ะ อย่างจะตอ้ งเรียนรูส้ ูร่ ายละเอียดลึกลงไปอีก องค์ประกอบศิลปนิ จึงเปน็ พ้ืนฐานสาคญั ท่ีรวบรวมความร้หู ลาย ๆ อยา่ งไวด้ ว้ ยกัน จงึ ตอ้ งเรยี นรกู้ อ่ นที่จะศึกษาในเรือ่ งอืน่ ๆ (อนนั ต์ ประภาโส) องค์ประกอบศิลป์ จัดเป็นวิชาท่มี ีความสาคญั สาหรบั ผู้ศึกษางานศิลปะ หากว่าขาดความรู้ ความเข้าใจใน วชิ าน้แี ลว้ ผลงานทส่ี รา้ งขน้ึ มาก็ยากทป่ี ระสบความสาเร็จ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งงานศลิ ปะสมัยใหมท่ ีม่ ีการแสดง เฉพาะ เสน้ สี แสง เงา นา้ หนัก พื้นผวิ จงั หวะ และบริเวณท่วี า่ ง มคี วามจาเปน็ อยา่ งยงิ่ ต้องนาหลกั การ องค์ประกอบศลิ ปม์ าใช้ หลักการจัดองคป์ ระกอบพนื้ ฐาน หลกั การจัดองค์ประกอบพื้นฐาน คอื ส่งิ ท่แี สดงแนวคดิ เก่ียวกับเน้อื หาและเรื่องราวขิงศลิ ปินให้ 1.เอกภาพ (Unity) หมายถึง การนาองค์ประกอบของศิลปะมาจดั เขา้ ดว้ ยกนั ให้แต่ละหนว่ ยมี ความสมั พันธ์ เก่ยี วขอ้ งซงึ่ กันและกนั ประสานกลมกลืนเกิดเปน็ ผลรวมที่แบง่ แยกไม่ได้ โดยถา่ ยทอดเป็นผลงาน ศลิ ปะด้วยกระบวนการศิลปะ รปู ที่ 1 การจกั องค์ประกอบ 2.ดุลยภาพ (Balance) คอื การนาองค์ประกอบของศลิ ปะมาจัดเข้าดว้ ยกันให้เกดิ ความเทา่ กนั หรอื สมดลุ โดยมีเส้นแกนสมมตุ ิ 2 เสน้ เปน็ ตัวกาหนดดลุ ยภาพ เส้นแกนสมมตุ จิ ะทาหน้าท่แี บง่ ภาพออกเปน็ ดา้ นซา้ ยและ ดา้ นขวา หรือด้านบนหรอื ด้านลา่ ง เพอ่ื ให้ผลงานศลิ ปะทปี่ รากฏเกดิ ความสมดุลในลักษณะใดลกั ษณะใดลกั ษณะ หนง่ึ เชน่ แบบซา้ ย ขวา เหมอื นกันและแบบซา้ ย ขวา ไม่เหมอื นกนั อีกทั้งการจดั ภาพท่ีมีความพอดีและเหมาะสม ใหเ้ กิดน้าหนักการจัดวางซา้ ยขวาทัง้ สองข้างเท่ากัน โดยแบง่ ความสมดุลออกเปน็ 2 ประเภท

รปู ที่ 2 การจดั ดุลยภาพ (1) ความสมดุลแบบสองข้างไมเ่ ทา่ กนั เป็นการจัดการองค์ประกอบศิลปท์ ไี่ มเ่ ท่ากัน หรือไม่เหมอื นกนั แต่เท่ากันด้วนความรสู้ ึก โดยดจู ากน้าหนักสว่ นรวมของภาพ (2) ความสมดลุ แบบสองข้างเทา่ กนั เป็นการจดั วางองค์ประกอบให้มนี ้าหนกั เท่ากัน โดยสว่ นมากจะ ปรากฏในจิตกรรมไทย หรือภาพทีแ่ สดงสัญลักษณไ์ ทย 3.จุดเด่น (Dominance) หมายถึง สว่ นสาคัญทปี่ รากฏชดั สะดดุ ตาท่สี ุดในงานศลิ ปะ จุดเดน่ จะชว่ ย สรา้ งความน่าสนใจในผลงานให้ภาพเขียนมคี วามสวยงาม มชี วี ิตชีวายง่ิ ข้นึ จุดเด่นเกิดจากการจัดวางทีเ่ หมาะสม และรูจ้ ักการเนน้ ภาพ (Emphasis) ทดี่ ี จุดเดน่ มี 2 แบบ คือ (1) จดุ เดน่ หลกั เปน็ ภาพที่มคี วามสาคัญมากท่ีสุดในเรอ่ื งทีจ่ ะเขยี น แสดงออกถึงเรอ่ื งราวท่ีชัดเจน เด่นชดั ที่สดุ ในภาพ (2) จดุ เด่นรอง เป็นภาพประกอบของจดุ เด่นหลกั ทาหน้าที่สนับสนุนจุดเด่นหลัก ใหภ้ าพมคี วาม สวยงามยง่ิ ขน้ึ 4. ความขัดแย้ง (Contrast) หมายถงึ ความไมป่ ระสานสมั พันธ์กันหรอื ไมเ่ ข้ากนั เช่น เส้นทีแ่ ตกต่างกนั รปู รา่ งหรือรูปทรงทีแ่ ตกตา่ งกันทั้งลกั ษณะรปู แบบและขนาด ลกั ษณะผิวหยาบ กับผวิ ละเอยี ด สีตรงกันขา้ ม หรอื สี ตดั กนั เปน็ ต้น 5. ความกลมกลนื (Harmony) หมายถึง ลกั ษณะการประสานสัมพันธ์กนั ขององค์ประกอบศิลป์ต่าง ๆ เช่น จดุ เส้น รปู รา่ ง รูปทรง ขนาด สดั ส่วน คา่ นา้ หนัก ลกั ษณะผวิ จงั หวะ บริเวณว่าง สี เมอ่ื นามาประกอบกนั แล้วต้องสนบั สนนุ กนั เขา้ กนั ไดด้ ี ไม่ขัดแยง้ กนั ทศั นศิลป์ ทัศนศลิ ป์ คือ กระบวนการถา่ ยทอดผลงานทางศิลปะ การทางานศิลปะอย่างมีจติ นาการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ มรี ะบบระเบยี บเปน็ ข้นั เปน็ ตอน การสร้างสรรคง์ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพสวยงาม มกี ารปฏบิ ตั ิงานตมแผนและมี การพฒั นาผลงานใหด้ ขี ้นึ อยา่ งต่อเนอื่ ง ทัศนศิลป์ คือ ศิลปะทม่ี องเหน็ ได้ การรบั รู้ทางจกั ษปุ ระสาท โดยการมองเห็นสาร วัตถุ และสรรพส่ิงตา่ ง ๆ ที่ เขา้ มากระทบ รวมถึงมนษุ ย์ และสตั ว์ จะดว้ ยการหยุดนง่ิ หรือเคล่อื นไหวก็ตาม หรอื จะดว้ ยการปรุงแต่ง หรือไม่ ปรุงแตง่ กต็ าม ก่อให้เกิดปัจจัยสมมุตติ อ่ จิตใจ และอารมณข์ องมนุษย์ อาจจะเปน็ ไปในทางเดียวกันหรอื ไม่ก็ตาม มี ขนั้ ตอนและกระบวนการในการถ่ายถอดที่มีลักษณะเฉพาะ ทัศนศิลป์ คือ เป็นการแปลความหมายทางศิลปะทแี่ ตกต่างกันไปข้นึ อยู่กับมุมมองของแตล่ ะบคุ คล ในงาน ศลิ ปะชน้ิ เดียวกัน ซ่ึงไรข้ อบเขตของจินตนาการ ไมม่ ีกรอบท่ีแนน่ อน ขนึ้ อยู่กบั อารมณ์ของบคุ คลในขณะทศั นศิลป์ น้ัน แนวคิดทศั นศลิ ป์เป็นศลิ ปะที่รบั รไู้ ดด้ ้วยการมอง ได้แก่ รปู ภาพววิ ทวิ ทศั นท์ วั่ ไปเป็นสาคญั อบั ดับต้น ๆ รูปภาพ

คนเหมือน ภาพลอ้ ภาพสิ่งของตา่ ง ๆ ก็ล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ เรอ่ื งของทศั นศลิ ป์ด้วนกนั ท้ังสนิ้ ซ่ึงถา้ กล่าวว่าทัศนศิลป์ เป็นความงามทางศิลปะที่ไดจ้ ากการมองหรอื ทศั นานั้นเอง ทศั นธาตุ ทัศนธาตุ (Visual Elements) ในทางทศั นศิลป์ หมายถงึ ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไป ด้วย จุด เสน้ รปู รา่ ง รูปทรง น้าหนกั ออ่ น-แก่ สี บริเวณวา่ ง และพนื้ ผิว จดุ และเส้น 1.จุด (Dot) หมายถึง รอยหรือแตม้ ทมี่ ีลกั ษณะกลม ๆ ปรากฏท่พี ้ืนผวิ ซ่งึ เกดิ จากการจ้ิม กด กระแทกดว้ ย วสั ดอุ ุปกรต่าง ๆ เช่น ดินสอ ปากกา พกู่ ัน และวัสดปุ ลายแหลมทกุ ชนิด จดุ เป็นต้นกาเนิดของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา พืน้ ผิว ฯลฯ เชน่ นาจุดมาวางเรียงต่อกนั จะเกิดเป็น เสน้ และการนาจดุ มาวางใหเ้ หมาะสมก็จะเกิดเป็นรปู ร่าง รปู ทรง และลักษณะผวิ ได้ 2.เสน้ (Line) หมายถึง การนาจดุ หลาย ๆ จุดมาเรียงต่อกนั ไปในทางใดทิศทางหน่ึงเป็นทางยาว หรือส่ิงที่ เกดิ จากการขูดขดี เขียน ลากใหเ้ กิดเป็นริว้ รอย เสน้ เป็นสงิ่ ทมี่ ผี ลตอ่ การรับรู้ เพราะทาให้เกดิ ความร้สู กึ ตอ่ อารมณแ์ ละจิตใจของมนษุ ย์ เป้นพน้ื ฐาน สาคญั ของศิลปะทุกแขนง ใช้ร่างกายเพื่อถา่ ยทอดสง่ิ ท่เี ห็นและส่ิงท่ีคิดจนิ ตนาการให้ปรากฏเปน็ รูป เสน้ นอน ใหค้ วามรู้สกึ กวา้ งขวาง เงยี บสงบน่ิง ราบเรยี บ ผ่อนคลายสายตา เส้นตงั้ ใหค้ วามรูส้ กึ สูงสง่า มั่นคง แขง็ แรง รงุ่ เรอื ง เส้นเฉียง ให้ความรู้สกึ ไม่ม่นั คง เคลอื่ นไหวรวดเรว็ แปรปรวน เสน้ โคง้ ให้ความรสู้ ึกออ่ นไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นมุ่ นวล เย้ายวน เส้นโค้งกน้ หอย ให้ความรสู้ กึ เคืลอื นไหว การคล่คี ลาย ขยายตวั มนึ งง เสน้ ซกิ แซกหรือเสน้ ฟันปลา ให้ความรู้สึกรนุ แรง กระแทกเปน็ หว้ ง ๆ เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไมม่ ่ันคง ไม่แน่นอน รูปที่ 3 จุดและเสน้

รปู รา่ งรปู ทรง รปู รา่ ง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ ส่ิงของเคร่ืองใช้ คน สัตว์ และพชื มี ลกั ษณะ 2 มติ ิ มีความกวา้ งและความยาว รูปร่างแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทคือ 1.รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถงึ รปู รา่ งทเ่ี กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สตั ว์ และพชื เป็นตน้ 2.รูปร่างเรขาคณติ (Geometrical Shape) หมายถงึ รปู รา่ งที่มนษุ ย์สร้างขนึ้ มโี ครงสรา้ งแน่นอน เช่น รปู สามเหลีย่ ม รปู วงกลม เป็นต้น 3.รูปรา่ งอสิ ระ (Free Shape) หมายถงึ รูปรา่ งทเ่ี กิดข้นึ ตามความต้องการของผู้สรา้ งสรรค์ให้ความรสู้ กึ ท่ี เป็นเสรี ไมม่ โี ครงสร้างทแ่ี น่นอนของตวั เอง เป็นไปตามอิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ รูปรา่ งของหยดน้า เมฆ และ ควนั เป็นตน้ รูปที่ 4 รปู ร่างและรูปทรงเรขาคณิต รูปทรง (Form) หมายถึง โครงสร้างทงั้ หมดของวัตถุทป่ี รากฏแกส่ ายตาในลักษณะ 3 มติ ิ คือ มีทั้ง สว่ นกวา้ ง สว่ นหนาหรอื ลกึ คอื จะให้ความรสู้ กึ เป็นแท่ง มเี น้ือทีภ่ ายใน มปี ริมาตร และมีนา้ หนกั รปู ท่ี 5 รปู มิติและเงา นา้ หนักออ่ น-แก่ (Value) หมายถึงจานวนความเขม้ ความอ่อนของสตี ่าง ๆ และแสงเงาตามทป่ี ระสาท ตารับรู้ เม่ือเทียบกบั นา้ หนักของสขี าว-ดา ความอ่อนแกข่ องแสงเงาทาให้เกิดมติ ิ เกดิ ระยะใกล้ใกลและสัมพันธก์ บั

เร่อื งสีโดยตรง 1.4.3 สี พ้นื ผวิ การใช้สี สี (Colour) หมายถงึ สงิ่ ที่ปรากฏอยูท่ ่วั ไปรอบ ๆ ตวั เรา ไม่ว่าจะเปน็ สีท่เี กิดขึ้นเองในธรรมชาติหรอื สิ่งท่ี มนุษย์สร้างขนึ้ สีทาให้เกดิ ความรู้สกึ แตกต่างมากมาย เชน่ ทาให้รู้สึกสดใสร่าเริง ตน่ื เต้น หมน่ หมอง หรือเศรา้ ซึม ได้ เป็นต้น สแี ละการนาไปใช้ 1. วรรณะของสี (Tone) จากวงจรสีธรรมชาติ ในทางศิลปะไดม้ กี ารแบ่งวรรณะของสีออกเป็น 2 วรรณะ คอื สวี รรณะรอ้ น ไดแ้ ก่ สีทม่ี ีความรู้สึกอบอนุ่ หรือร้อน เช่น สเี หลอื ง ส้มเหลอื ง ส้ม สม้ แดง แดง มว่ งแดง เปน็ ต้น สว่ นสวี รรณะเย็น ได้แก่ สีท่ีให้ความรูส้ ึกเย็น สงบ สบาย เช่น สีเขยี ว เขยี วเหลือง เขยี วน้าเงิน นา้ เงิน มว่ งนา้ เงนิ ม่วง เป็นต้น 2. ค่าของสี (Value of Color) หมายถงึ สใี ดสหี นึ่งทาให้ค่อย ๆ จางลงจนขาวหรอื สว่างและทาให้คอ่ ย ๆ เข้มขนึ้ จนมดื 3. สเี อกรงค์ (Monochrome) หมายถึง สีที่แสดงอิทธพิ ลเด่นชัดออกมาเพียงสเี ดยี ว หรือใชเ้ พียงสีเดยี ว ในการเขยี นภาพโดยใหค้ า่ ของสีอ่อน กลาง แก่ คลา้ ยกับภายถ่ายขาวดา 4. สสี ่วนรวม (Tonality) หมายถึง สีใดสีหนง่ึ ทใ่ี ห้อทิ ธพิ ลเหนือสอี ื่นท้งั หมด เชน่ การเขยี นภาพทวิ ทศั น์ ปรากฏสสี ว่ นรวมเป็นสีเขยี ว สีน้าเงนิ เปน็ ตน้ 5. สีตรงข้ามกนั หรือสตี ดั กนั (Contrast) หมายถงึ สีที่อยู่ตรงขา้ มกนั ในวงจรสีธรรมชาติ เช่น สแี ดงกับสี เขียว สีนา้ เงนิ กับสีสม้ สีม่วงกบั สเี หลือง เปน็ ตน้ 1.4.4 บรเิ วณวา่ ง บรเิ วณว่าง (Space) หมายถึง บรเิ วณท่ีเปน็ ความว่างไมใ่ ชส่ ว่ นทเ่ี ปน็ รปู ทรงหรือเนื้อหาในการจดั องค์ประกอบใดกต็ ามถา้ ปล่อยใหม้ พี ืน้ ทว่ี า่ งมากและให้มีรปู ทรงนอ้ ย การจดั นนั้ จะให้ความร้สู ึกอ้างวา้ งโดดเดยี่ ว 1.4.5 พ้นื ผิว พน้ื ผวิ (Texture) หมายถึง พื้นผิวของวัตถุต่าง ๆ ท่เี กิดจากธรรมชาติและมนษุ ย์สร้างสรรค์ขนึ้ พืน้ ผิวของ วตั ถุท่ีแตกต่างกนั ยอ่ มให้ความร้สู กึ ท่ีแตกตา่ งกนั ดว้ ย

คอมพวิ เตอรใ์ นงานกราฟกิ ความหมายของคอมพวิ เตอร์ในงานกราฟิก การสร้างภาพกราฟกิ ในยคุ แรกนน้ั จะเร่ิมตน้ จากการวาดและการระบายสี ไม่วา่ จะเป็นป้ายโฆษณาภาพายนต์ เป็นภาพเขียน ต่อมาวิวฒั นาการของเทคนิคในการถา่ ยภาพเร่ิมพัฒนามากย่งิ ขน้ึ มที ัง้ การตัดตอ่ และใสเ่ ทคนิคพเิ ศษ ลงไปในภาพ ทาให้งานกราฟิกออกมาไดต้ รงตามจินตนาการ รปู ท่ี 5 กราฟกิ งานโฆษณา การเกดิ ภาพบนเครอื่ งบนคอมพวิ เตอร์ ภาพท่ปี รากฏบนหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ทีเ่ ราเหน็ โดยทวั่ ไปนน้ั แบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ Physical Image คอื ภาพท่เี ราเหน็ อยูท่ ั่วไป เช่น ภาพถ่าย ส่วยภาพอีกประเภทหน่ึง คือ Digital Image หรอื Computer Graphic คือ ภาพท่ีใช้ในการประมวลผลและเก็บในคอมพวิ เตอร์ และภาพท่ีปรากฏบนหน้าจอคอมพวิ เตอร์ เกดิ จากจดุ สี่เหล่ยี ม เล็ก ๆ ของสีทีเ่ ราเรยี กว่า พกิ เซล (Pixel) มาประกอบกันเป็นภาพขนาดตา่ ง ๆ รูปที่ 6 ลกั ษณะภาพจากคอมพวิ เตอร์ การประมวลผลภาพคอมพิวเตอรก์ ราฟิก ภาพท่คี อมพิวเตอร์เกบ็ ไวน้ ัน้ มวี ธิ กี ารประมวลแตกตา่ งกนั ดังนี้ การประมวลภาพแบบ Vector การประมวลผลภาพแบบ Vector เป็นการประมวลผลแบบอาศัยการคานวณทางคณิตศาสตร์โดยมสี แี ละ ตาแหน่งของสีท่ีแน่นอน ฉะนั้นไม่วา่ เราจะมีการเคล่ือนย้ายหรือยอ่ ขนาดของภาพ ภาพกจ็ ะไมเ่ สบี รูปทรงในเชงิ

เรขาคณิต ยกตวั อย่างเช่น โลโก้ ตวั การ์ตูน เปน็ ต้น โดยโปรแกรมทม่ี กี ารประมวลภาพแบบเวกเตอร์ ไดแ้ ก่ Illustrator และ CorelDraw การประมวลภาพแบบ Bitmap การประมวลภาพแบบ Bitmap เป็นการประมวลผลแบบอาศัยการอ่านค่าสีในแต่ละพเิ ซลมชี ือ่ เรยี กอยา่ ง หนง่ึ ว่า Raster Image โดยแต่ละพกิ เซลจะมีการกบ็ คา่ สีทเ่ี จาะลงในแตล่ ะตาแหน่ง ซง่ึ เหมาะกับภาพท่ีมลี ักษณะ แบบภาพถา่ ย โปรแกรมทีม่ ีการประมวลผลภาพแบบบติ แมพ ได้แก่ Photoshop และ Paint เปน็ ต้น ประโยชนข์ องงานคอมพิวเตอร์กราฟกิ โปรแกรม Illustrator สามารถสร้างภาพโดยเริม่ ตน้ จากหนา้ กระดาษเปลา่ ในโปรแกรม Illustrator จะมีทัง้ ปากกา พู่กัน ดนิ สอ และอุปกรณอ์ ่ืน ๆ ซ่งึ สามารถนามาใช้สรา้ งงานไดห้ ลากหลายรุปแบบ อาทิ งานสง่ิ พิมพ์ ไมว่ ่าจะเปน็ งาน โฆษณา โบร์ชัวร์ นามบตั ร หรอื นิตยสาร เรยี กไดว้ านสิง่ พิมพแ์ บบทุกชนดิ ทต่ี อ้ งการความคมชัด รปู ที่ 7 กลอ่ งผลิตภัณฑโ์ ปรแกรม Adobe Illustrator CS5 งานออกแบบทางกราฟิก การสร้างภาพสามมติ ิ ภาพสง่ิ ของ โลโก้ สัญลกั ษณต์ า่ ง ๆ งานด้านการ์ตูน การสร้างภาพการ์ตูน หรือวาดเป็นลายเส้นตา่ ง ๆ รูปท่ี 8 การต์ นู โลโก้ และลายเสน้

งานดา้ นเว็บไซต์ ใช้สรา้ งภาพตกแตง่ เว็บไซต์ เชน่ ภาพพน้ื หลังหรอื ปุ่มตอบโต้ ตลอดจนภาพประกอบเนอ้ื หาต่าง ๆ ทีป่ รากฏบน หน้าเวบ็ อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ท่ีใช้ในงานกราฟิก เน่ืองจากคอมพวิ เตอร์สามารถนามาใช้ประโยชนใ์ นการสรา้ งงานกราฟิกได้หลายประเภท ดังน้นั จงึ มอี ปุ กรณ์ มากมายท่ีถกู นามาใช้รว่ มกบั โปรแกรมตา่ ง ๆ ซ่งึ อุปกรณท์ ่ใี ชใ่ นงานกราฟกิ ที่พบเหน็ บอ่ ย ๆ มีดงั น้ี กล้องดิจิตอล (Digital Camera) เราสามารถใชก้ ลอ้ งดจิ ิตอลถ่ายรปู แบบดิจติ อลความละเอยี ดสงู กวา่ 3 ล้านพกิ เซลขึ้นไป ซึ่งภาพลักษณะน้ี เหมาะสาหรับการนาไปใช้ใน งานสงิ่ พมิ พ์ สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ เป็นอปุ กรณ์เป็นอุปกรณท์ ่ีใช้อา่ นและแปลงภาพจากภาพจากภาพบนกระดาษ (Physical Image) เปน็ ไฟล์ภาพดิจิตอล (Digital Image) รปู ท่ี 9 กล้องดิจติ อลและเครอ่ื งสแกนเนอร์ จอสัมผัส (Touch Screen) จอสัมผัส เปน็ หนา้ จอทย่ี อมให้ผู้ใช้ใชน้ ิว้ สัมผสั หนา้ จอ เพ่ือเลอื กเมนูบนหนา้ จอได้ งานที่นิยมใช้หน้าจอน้ี เชน่ เคร่ือง ATM เป็นต้น ปากกาแสง (Light Pan) ปากกาแสง เป็นอุปกรณร์ ับข้อมูลที่ทางานดว้ ยการตรวจจับแสงบนหน้าจอ CRT ของคอมพวิ เตอร์ ใช้ในการ คลกิ เลอื กและวาดบนหนา้ จอเหมอื นกับการใช้ Touch Screen แต่จะทางานดว้ ยการตรวจจับแสงซ่ึงใชก้ ับหนา้ จบ LCD หรอื Projector ได้

รูปที่ 10 จอสมั ผสั และปากกาแสง เคร่อื งพมิ พ์ (Printer) เครื่องพิมพใ์ ช้แสดงผลงานลงบนกระดาษได้ทงั้ ตวั อักษรและรปู ภาพ ปัจจุบนั มีให้เลือกหลายแบบเพอ่ื นาไปใช้ งานตา่ งกนั ดังน้ี 1. เลเซอรพ์ รนิ เตอร์ (Laser Printer) ทางานโดยการยิงเลเซอรเ์ พื่อจดั เรียงผงหมกึ ใหเ้ กิดเป็นภาพทตี่ อ้ งการ จากนั้นก็ใชแ้ รงดนั และ ความรอ้ นผลักให้หมึกจับตวั ติดกับเนอื้ กระดาษ ผลลพั ธจ์ ะมีความละเอยี ดมากท่ีสดุ เครอื่ งพิมพเ์ ลเซอรม์ ี 2 แบบ คอื ขาว/ดา และสี ซ่ึงแบบขาว/ดา นิยมใช้งานพมิ พเ์ อกสารในงานสานักงานซง่ึ เหมาะกบั งานกราฟกิ ชั้นสูง 2. อิงกเ์ จต็ พรินเตอร์ (Inkjet Printer) ใช้หลกั การพน่ หมกึ ผ่านทอ่ พ่นหมกึ เล็ก โดยให้เกดิ จดุ สเี ลก็ ๆ เรียงตอ่ กนั เกดิ เปน็ ภาพ จะมคี วาม ละเอียดนอ้ ยกว่าเลเซอร์ ราคาเคร่อื งถูก แต่หมกึ แพง และพมิ พช์ า้ กว่าเลเซอร์ เหมาะสาหรบั งานสี อารต์ เวิร์ค ส่ิงพิมพ์ และถา่ ยสตก๊ิ เกอร์ หากใช้ พมิ พง์ านเอกสารทีเ่ ปน็ สขี าวดา เมอ่ื เปรยี บเทียบราคาคุณภาพแลว้ เครือ่ งพมิ พ์แบบเลเซอร์จะดกี ว่า 3. ดอตเมทรกิ ซ์พรนิ เตอร์ (Dot Matrix Printer) จะใช้หวั เขม็ กระแทกลงแผน่ คาร์บอน ทาใหเ้ กิดรอยหมึก เป็นขอ้ ความและภาพ ราคาหมกึ ถกู ขอ้ เสยี คือพมิ พ์ชา้ และเสียงดงั รูปท่ี 11 เคร่อื งพมิ พ์

บทที่ 1 ความหมายองคป์ ระกอบศิลป์ ความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ คาวา่ องค์ประกอบ ตามความหมายพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน คือสว่ นตา่ งๆ ท่ปี ระกอบกันทาใหเ้ กดิ รปู ร่างใหม่ ขนึ้ โดยฉะเพราะ องค์ประกอบศลิ ป์ หมายถงึ สงิ่ ทศ่ี ลิ ปนิ เเละนักออกเเบบใชเ้ ปน็ สอื่ ในการเเสดงออกเเละสร้างความหมาย โดยนามา จดั เข้าด้วยกนั เเละเกดิ รปู รา่ งอนั เดน่ ชดั องคป์ ระกอบศิลป์ ยงั เป็นเคร่ืองหมายหรือรปู เเบบทน่ี ามาจดั รวมกันเเล้วเกิดรูปร่างตา่ งๆท่เี เสดงออกในการส่ือ ความหมายเเละความคิดสรา้ งสรรคเ์ เละเปน็ ศิลปะทม่ี นษุ ย์สร้างขึ้นเพ่ือเเสดงออกทางอารมร์ ความรสู้ ึก ความคิดหรือ ความงดงามซ่งึ ประกอบดว้ ยสว่ นทมี่ นษุ ยส์ ร้างขน้ึ เเเละสว่ นทเ่ี ป็นการเเสดงออกอนั เป็นผลท่ีเกดิ จากโครงสร้างทางวตั ถุ ตา่ งๆสว่ นประกอบต่างๆของศลิ ปะ เช่น จุด เส้น รูปร่าง ขนานสดั สว่ น น้าหนกั เเสงเงา ลกั ษณะพนื้ ผิว ท่ีวา่ ง เเละสี ความสาคญั ขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นสาขาวิจิตรศลิ ป์หรอื ประยุกตศ์ ลิ ป์ผูส้ ร้างสรรคต์ ้องมี ความรูเ้ บือ้ งตน้ ด้านศิลปะมาก่อน เเละศกึ ษาถงึ หลักการองค์ประกอบพนื้ ฐาน องคป์ ระกอบทส่ี าคัญ การจัดวางองค์ประกอบเหลา่ นน้ี ้นั รวมถงึ การกาหนดสี ในลกั ษณะต่างๆ เพิม่ เตมิ ให้เกดิ ความเขา้ ใจ เพ่ือเวลาที่สรา้ ง ผลงานศลิ ปะ จะไดผ้ ลงาน

ท่มี คี ณุ ค่า ความหมายเเละความงามเปน็ ท่ีน่าสนใจเเกผ่ ูพ้ บเหน็ หากสร้างสรรค์ผลงานโดยขาดองค์ประกอบศลิ ป์ ผลงานนัน้ อาจดดู อ้ ยคา่ หมดความหมายหรอื ไม่หน้าสนใจไปเลย ดงั น้ันจะเหน็ ไดว้ า่ องคป์ ระกอบศลิ ป์นัน้ มีความสาคัญอย่างมากในการสร้าง งานศิลปะ การจดั องค์ประกอบของศลิ ปะ มหี ลักที่ควรคานงึ อยู่ 5 ประการ คือ สัดส่วน (Proportion) สดั สว่ น (Proportion) หมายถึง ความสมั พันธก์ ันอยา่ งเหมาะสมระหว่างขนาดของ องคป์ ระกอบทีแ่ ตกต่างกนั ท้งั ขนาดท่อี ยู่ในรปู ทรงเดยี วกันหรือระหว่างรปู ทรง และรวมถึง ความสมั พนั ธก์ ลมกลืนระหวา่ งองคป์ ระกอบทงั้ หลาย ดว้ ย ซึง่ เป็นความพอเหมาะพอดี ไม่ มากไมน่ ้อย ขององค์ ประกอบท้งั หลายท่นี ามาจัดรวมกัน ความเหมาะสมของสดั สว่ นอาจ พจิ ารณาจากคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1 สัดสว่ นที่เป็นมาตรฐาน จากรปู ลกั ษณะตามธรรมชาติ ของ คน สตั ว์ พืช ซง่ึ โดยท่ัวไป ถือว่า สัดส่วนตามธรรมชาติ จะมคี วามงามท่ีเหมาะสมทส่ี ุด หรือจากรูปลกั ษณะที่เป็นการ สรา้ งสรรคข์ องมนุษย์ เชน่ Gold section เปน็ กฎใน การสร้างสรรค์รปู ทรงของกรกี ซงึ่ ถือวา่ “ส่วนเล็กสัมพนั ธ์ กับสว่ นทีใ่ หญก่ วา่ ส่วนทีใ่ หญก่ ว่าสัมพันธ์กบั สว่ นรวม” ทาให้ส่งิ ต่าง ๆ ท่ีสรา้ งข้ึนมสี ดั ส่วนทส่ี ัมพนั ธก์ บั ทุกสงิ่ อย่างลง ตัว

2. สัดสว่ นจากความร้สู กึ โดยทศี่ ิลปะนนั้ ไมไ่ ด้สรา้ งขน้ึ เพ่ือความงามของรูปทรงเพียง อย่างเดยี ว แตย่ งั สรา้ งขึน้ เพ่ือ แสดงออกถึง เนือ้ หา เรื่องราว ความรู้สึกด้วย สดั สว่ นจะช่วย เน้นอารมณ์ ความรู้สกึ ให้เปน็ ไปตามเจตนารมณ์ และ เรอ่ื งราวทีศ่ ลิ ปนิ ต้องการ ลักษณะเชน่ น้ี ทาให้งานศลิ ปะของชนชาติต่าง ๆ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เนอ่ื งจากมีเรือ่ งราว อารมณ์ และ ความรู้สึกท่ีต้องการแสดงออกต่าง ๆ กนั ไป เช่น กรกี นิยมในความงามตามธรรมชาตเิ ปน็ อดุ มคติ เนน้ ความงามที่เกิดจากการประสานกลมกลนื ของรูปทรง จึงแสดงถึงความเหมอื น จริงตามธรรมชาติ สว่ นศลิ ปะแอฟรกิ ัน ด้งั เดิม เน้นทีค่ วามรสู้ ึกทางวญิ ญานทีน่ า่ กลวั ดังนน้ั รูปลกั ษณะจงึ มสี ัดสว่ นท่ีผดิ แผกแตกต่างไปจากธรรมชาติทวั่ ไป ความสมดุล (Balance) ความสมดลุ หรอื ดลุ ยภาพ (Balance) หมายถึง นา้ หนักทเ่ี ท่ากนั ขององคป์ ระกอบ ไมเ่ อนเอียงไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง ในทางศลิ ปะยงั รวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดขี อง ส่วนต่าง ๆ ในรูปทรงหน่งึ หรืองานศิลปะชน้ิ หนึง่ การจดั วางองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ลงใน งานศลิ ปกรรมนนั้ จะต้องคานงึ ถงึ จุดศูนย์ถ่วง ในธรรมชาตนิ นั้ ทุกส่ิงสิง่ ท่ี ทรงตวั อยู่ได้โดยไม่ลม้ เพราะมีนา้ หนักเฉลี่ยเทา่ กนั ทกุ ด้าน ฉะนนั้ ในงานศิลปะถ้ามองดูแลว้ รู้สกึ ว่าบางส่วนหนักไป แน่นไป หรือ เบา บางไปก็จะทาให้ภาพน้ันดเู อนเอียง และเกดิ ความ รสู้ กึ ไมส่ มดลุ เปน็ การบกพรอ่ งทางความงาม ดลุ ยภาพในงานศิลปะ มี 2 ลกั ษณะ คือ 1. ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรอื ความสมดลุ แบบซา้ ยขวาเหมอื นกัน คอื การวางรูป ทั้งสองขา้ งของแกนสมดลุ เป็นการสมดลุ แบบธรรมชาตลิ กั ษณะแบบนี้ใน ทางศิลปะมี ใช้น้อย สว่ นมากจะใช้ในลวดลายตกแตง่ ในงานสถาปตั ยกรรมบางแบบ หรอื ในงานที่ ต้องการดุลยภาพทน่ี ่งิ และมน่ั คงจรงิ ๆ 2. ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรอื ความสมดุลแบบซ้ายขวาไม่ เหมือน กนั มกั เป็นการสมดลุ ท่เี กิดจาการจดั ใหม่ของมนษุ ย์ ซง่ึ มลี ักษณะท่ีทางซ้ายและขวาจะ ไม่ เหมือนกัน ใชอ้ งค์ประกอบที่ไมเ่ หมอื นกนั แตม่ คี วามสมดุลกนั อาจเป็นความสมดุลดว้ ย นา้ หนกั ขององค์ประกอบ หรอื สมดลุ ดว้ ยความรู้สึกก็ได้ การจดั องค์ประกอบให้เกิดความ สมดุล

แบบอสมมาตรอาจทาได้โดย เลือ่ นแกนสมดุลไปทางดา้ นทม่ี ีน้าหนักมากวา่ หรือ เล่ือนรูปทมี่ นี า้ หนักมากว่าเขา้ หา แกน จะทาใหเ้ กิดความสมดลุ ขึน้ หรอื ใช้หน่วยที่มีขนาดเลก็ แต่มีรูปลกั ษณะท่ีนา่ สนใจถ่วงดุลกบั รปู ลักษณะทม่ี ขี นาด ใหญ่แตม่ ีรปู แบบธรรมดา จังหวะลลี า (Rhythm) จังหวะลีลา (Rhythm) หมายถึง การเคลื่อนไหวทเ่ี กิดจาการซา้ กนั ขององคป์ ระกอบ เป็นการซา้ ที่เป็นระเบยี บ จาก ระเบียบธรรมดาทม่ี ีชว่ งห่างเทา่ ๆ กนั มาเปน็ ระเบยี บท่ีสงู ข้นึ ซับซอ้ นขึน้ จนถงึ ข้นั เกิดเปน็ รปู ลกั ษณะของศลิ ปะ โดย เกิดจาก การซา้ ของหน่วย หรือการสลับกันของหน่วยกับชอ่ งไฟหรอื เกิดจาก การเล่ือนไหลตอ่ เนือ่ งกันของเส้น สี รปู ทรง หรอื น้าหนกั รปู แบบๆ หนึ่ง อาจเรียกว่าแม่ลาย การนาแม่ลายมาจัดวางซ้า ๆ กันทาให้เกดิ จังหวะ และถ้าจัดจังหวะใหแ้ ตกตา่ งกัน ออกไป ดว้ ยการเวน้ ชว่ ง หรอื สลับชว่ ง ก็จะเกดิ ลวดลาย ที่แตกต่างกนั ออกไป ไดอ้ ย่างมากมาย แตจ่ ังหวะของลายเปน็ จงั หวะอยา่ งงา่ ย ๆ ให้ความร้สู กึ เพียงผวิ เผนิ และเบ่อื ง่าย เนื่องจากขาดความหมาย เป็นการรวมตวั ของส่งิ ที่ เหมอื นกนั แต่ไม่มคี วามหมายในตวั เอง จงั หวะทน่ี า่ สนใจและมชี วี ติ ไดแ้ ก่ การเคลือ่ นไหวของ คน สัตว์ การเตบิ โต ของพชื การเต้นรา เปน็ การเคลอื่ นไหวของโครงสร้างทใ่ี หค้ วามบนั ดาล ใจในการสร้างรูปทรงทีม่ คี วามหมาย เนอื่ งจากจงั หวะของลายน้นั ซา้ ตัวเองอยตู่ ลอดไปไม่มวี ันจบ และมีแบบรูปของการซ้า ท่ตี ายตวั แต่งานศิลปะแต่ละ ชน้ิ จะตอ้ งจบลงอย่างสมบูรณ์ และมีความหมายในตวั งาน ศลิ ปะทกุ ชิ้นมกี ฎเกณฑแ์ ละระเบียบทีซ่ อ่ นลกึ อยภู่ ายใน

ไม่สามารถมองเหน็ ได้ชัดเจน งานชนิ้ ใดท่ีแสดงระเบยี บกฎเกณฑท์ ่ีชดั เจนเกนิ ไป งานชนิ้ น้นั ก็จะจากดั ตัวเอง ไมต่ า่ ง อะไรกบั ลวดลายทมี่ องเห็นไดง้ า่ ย ไมม่ ีความหมาย ให้ผลเพยี งความเพลิดเพลนิ สบายตาแก่ผูช้ ม การเน้น (Emphasis) การเนน้ (Emphasis) หมายถงึ การกระทาให้เด่นเป็นพเิ ศษกวา่ ธรรมดา ในงานศลิ ปะจะต้องมี ส่วนใดส่วนหนึ่ง หรอื จุดใดจดุ หนง่ึ ทม่ี ีความสาคัญกวา่ สว่ นอืน่ ๆ เปน็ ประธานอยู่ ถา้ สว่ นน้นั ๆ อยปู่ ะปนกับส่วนอนื่ ๆ และมลี ักษณะ เหมือน ๆ กัน ก็อาจถกู กลืน หรอื ถูกสว่ นอน่ื ๆที่มคี วามสาคญั นอ้ ยกว่าบดบงั หรอื แยง่ ความสาคัญ ความน่าสนใจไป เสีย งานที่ไมม่ ีจุดสนใจ หรือประธาน จะทาให้ดูน่าเบื่อ เหมือนกบั ลวดลายท่ถี กู จัดวางซา้ กนั โดยปราศจากความหมาย หรือเร่ืองราวท่ีน่าสนใจดงั นนั้ สว่ นนัน้ จงึ ตอ้ งถกู เนน้ ใหเ้ ห็นเดน่ ชดั ขึ้นมา เปน็ พิเศษกว่าส่วนอื่น ๆ ซึ่งจะทาใหผ้ ลงานมี ความงาม สมบูรณ์ ลงตัว และนา่ สนใจมากขน้ึ การเน้นจดุ สนใจสามารถทาได้ 3 วิธี คือ 1. การเน้นด้วยการใชอ้ งคป์ ระกอบทตี่ ดั กัน (Emphasis by Contrast) สงิ่ ท่ีแปลกแตก ต่างไปจากสว่ นอืน่ ๆ ของ งาน จะเป็นจุดสนใจ ดงั นั้น การใช้องคป์ ระกอบทีม่ ีลกั ษณะ แตกต่าง หรือขัดแย้ง กบั สว่ นอืน่ กจ็ ะทาใหเ้ กดิ จุดสนใจ ขนึ้ ในผลงานได้ แต่ทั้งนี้ต้อง พิจารณาลกั ษณะความแตกต่างทีน่ ามาใช้ด้วยว่า ก่อใหเ้ กิดความขัดแย้งกนั ในส่วนรวม และทาให้เนอื้ หาของงานเปลย่ี นไปหรอื ไม่ โดยตอ้ งคานึงว่า แม้มีความขดั แย้ง แตก ตา่ งกนั ในบางส่วน และใน สว่ นรวมยังมีความกลมกลืนเปน็ เอกภาพเดียวกัน 2. การเนน้ ด้วยการดว้ ยการอยู่โดดเดยี่ ว (Emphasis by Isolation) เม่อื สิ่งหน่ึงถกู แยก ออกไปจากสว่ นอ่นื ๆ ของภาพ หรือกลุ่มของมัน สงิ่ น้นั ก็จะเป็นจุดสนใจ เพราะเมอื่ แยกออกไปแล้วกจ็ ะเกิดความสาคญั ขึ้นมา ซึง่ เปน็ ผล จากความแตกต่าง ที่ไม่ใช่แตก ต่างด้วยรูปลักษณะ แต่เปน็ เรื่องของตาแหนง่ ท่ีจดั วาง ซึ่งในกรณีน้ี รปู ลกั ษณะนั้นไม่ จาเปน็ ต้องแตกต่างจากรปู อ่ืน แต่ตาแหน่งของมันได้ดงึ สายตาออกไป จงึ กลายเปน็ จดุ สนใจขึน้ มา 3. การเนน้ ด้วยการจัดวางตาแหนง่ (Emphasis by Placement) เม่อื องคป์ ระกอบอื่น ๆ ชีน้ ามายงั จดุ ใด ๆ จดุ นัน้ กจ็ ะเป็นจุดสนใจท่ีถกู เนน้ ขึ้นมา และการจัดวางตาแหน่งที่ เหมาะสม ก็สามารถทาให้จดุ นน้ั เปน็ จุดสาคญั ขน้ึ มาได้ เช่นกนั พึงเขา้ ใจว่า การเนน้ ไม่จาเป็นจะตอ้ งชแ้ี นะให้เห็นเด่นชัดจนเกินไป สิ่งที่จะตอ้ ง ระลกึ ถึงอยเู่ สมอ คอื เมื่อจัด วางจดุ สนใจแล้ว จะตอ้ งพยายามหลีกเลย่ี งไม่ให้สิ่งอ่ืนมา ดึงความสนใจออกไป จนทาให้เกิดความสับสน การเน้น

สามารถกระทาได้ด้วยองค์ ประกอบตา่ ง ๆ ของศิลปะ ไม่วา่ จะเปน็ เสน้ สี แสง-เงา รูปรา่ ง รปู ทรง หรอื พน้ื ผิว ทงั้ นี้ ขึน้ อยู่ความตอ้ งการในการนาเสนอของศลิ ปนิ ผู้สร้างสรรค์ เอกภาพ (Unity) เอกภาพ (Unity) หมายถึง ความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั ขององคป์ ระกอบศลิ ปท์ งั้ ดา้ นรูปลักษณะและด้านเน้อื หา เรอื่ งราว เป็นการประสานหรอื จดั ระเบยี บของส่วนต่าง ๆใหเ้ กดิ ความเป็น หน่งึ เดียว เพอ่ื ผลรวมอนั ไมอ่ าจแบ่งแยก ส่วนใดส่วนหนึ่งออกไป การสรา้ งงานศิลปะ คือ การสรา้ งเอกภาพขึ้นจากความสับสน ความยงุ่ เหยิง เปน็ การจดั ระเบียบ และดุลยภาพ ใหแ้ ก่สงิ่ ทีข่ ดั แย้งกันเพือ่ ให้รวมตัวกนั ได้ โดยการเชอื่ มโยงส่วนต่าง ๆให้สมั พันธ์กันเอกภาพ ของงานศลิ ปะ มอี ยู่ 2 ประการ คือ 1. เอกภาพของการแสดงออก หมายถงึ การแสดงออกทีมจี ุดมุ่งหมายเดียว แน่นอน และมี ความเรียบง่าย งานชิน้ เดยี วจะแสดงออกหลายความคิด หลายอารมณ์ไม่ได้ จะทาให้สบั สน ขาดเอกภาพ และการแสดงออกดว้ ยลกั ษณะเฉ พาตวั ของศลิ ปนิ แต่ละคน ก็สามารถทาให้ เกิดเอกภาพแก่ผลงานได้ 2. เอกภาพของรปู ทรง คือ การรวมตวั กนั อย่างมดี ุลยภาพ และมรี ะเบียบขององค์ประกอบ ทางศิลปะ เพ่ือให้เกดิ เปน็ รูปทรงหนึ่ง ทีส่ ามารถแสดงความคิดเห็นหรืออารมณ์ของศิลปิน ออกได้อย่างชัดเจน เอกภาพของรูปทรง เปน็ สิ่งที่ สาคัญท่ีสดุ ตอ่ ความงามของผลงานศลิ ปะ เพราะเป็นสิ่งทศี่ ิลปนิ ใช้เปน็ สื่อในการแสดงออกถงึ เรอ่ื งราว ความคิด และ อารมณ์ ดงั น้นั กฎเกณฑ์ในการสรา้ งเอกภาพในงานศิลปะเปน็ กฎเกณฑเ์ ดยี วกนั กับธรรมชาติ ซึ่งมีอยู่ 2 หัวข้อ คอื

1. กฎเกณฑ์ของการขัดแยง้ (Opposition) มอี ยู่ 4 ลักษณะ คอื 1.1 การขดั แย้งขององคป์ ระกอบทางศิลปะแตล่ ะชนดิ และรวมถึงการขดั แย้งกนั ของ องค์ประกอบต่างชนดิ กันดว้ ย 1.2 การขัดแย้งของขนาด 1.3 การขดั แยง้ ของทิศทาง 1.4 การขัดแย้งของทว่ี ่างหรอื จังหวะ 2. กฎเกณฑข์ องการประสาน (Transition) คอื การทาให้เกิดความกลมกลนื ให้สิง่ ต่าง ๆ เข้ากันดอ้ ย่างสนิท เปน็ การสร้างเอกภาพจากการรวมตวั ของสิ่งท่เี หมือนกันเข้าด้วยกนั การประสานมีอยู่ 2 วิธี คอื 2.1 การเป็นตวั กลาง (Transition) คอื การทาส่ิงท่ีขัดแยง้ กนั ใหก้ ลมกลนื กนั ด้วยการ ใช้ตวั กลางเข้าไปประสาน เชน่ สขี าว กบั สดี า ซง่ึ มคี วามแตกต่าง ขัดแย้งกนั สามารถทาใหอ้ ยู่ร่วมกันไดอ้ ยา่ งมเี อกภาพ ดว้ ยการใชส้ ีเทาเข้าไป ประสาน ทาให้เกิดความกลมกลืนกนั มากขึ้น 2.2 การซา้ (Repetition) คือ การจัดวางหน่วยทเ่ี หมือนกนั ต้ังแต่ 2 หน่วยขึ้นไป เปน็ การสรา้ งเอกภาพท่ีงา่ ยท่ีสุด แต่ก็ทาให้ดูจืดชืด นา่ เบื่อที่สดุ นอกเหนอื จากกฎเกณฑ์หลักคือ การขัดแย้งและการประสานแล้ว ยังมกี ฎเกณฑ์รองอีก 2 ข้อ คือ 1. ความเปน็ เด่น (Dominance) ซึง่ มี 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 ความเป็นเดน่ ที่เกดิ จากการขัดแย้ง ดว้ ยการเพม่ิ หรอื ลดความสาคญั ความนา่ สนใจในหนว่ ยใดหน่วยหนึง่ ของคู่ท่ี ขัดแย้งกัน 1.2 ความเป็นเดน่ ที่เกิดจากการประสาน

2. การเปลีย่ นแปร (Variation) คือ การเพม่ิ ความขดั แย้งลงในหนว่ ยทซี่ ้ากนั เพ่อื ป้องกนั ความจืดชดื นา่ เบอ่ื ซงึ่ จะ ช่วยใหม้ คี วามนา่ สนใจมากข้ึน การเปล่ียนแปรมี 4 ลกั ษณะ คอื 2.1 การปลีย่ นแปรของรูปลกั ษณะ 2.2 การปลยี่ นแปรของขนาด 2.3 การปลย่ี นแปรของทศิ ทาง 2.4 การปลยี่ นแปรของจังหวะ การเปล่ยี นแปรรูปลักษณะจะต้องรักษาคุณลักษณะของการซ้าไว้ ถ้ารปู มีการเปล่ียน แปรไปมาก การซ้าก็จะหมดไป กลายเป็นการขดั แยง้ เข้ามาแทน และ ถา้ หนว่ ยหนง่ึ มีการ เปลยี่ นแปรอยา่ งรวดเร็ว มีความแตกตา่ งจากหนว่ ยอนื่ ๆ มาก จะกลายเปน็ ความเปน็ เด่นเปน็ การสรา้ งเอกภาพด้วยความขดั แย้ง

บทท่ี 2 พ้นื ฐานคอมพวิ เตอรเ์ ตอร์กราฟกิ ความหมายของคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ปัจจุบนั คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกเข้ามามบี ทบาทกับงานดา้ นต่าง ๆ เป็นอย่างมากมกี ารนาคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ มา สร้างสรรคเ์ ปน็ ผลงาน ไมว่ ่าจะเปน็ การออกแบบภาพ และการปรบั แตง่ สภี าพ มกี ารนาคอมพิวเตอร์กราฟิก ไปใช้กับ งานดา้ นตา่ งๆ อาทเิ ชน่ งานสิง่ พมิ พ์ งานโฆษณา งานออกแบบ งานนาเสนอข้อมูล งานสรา้ งภาพการต์ นู งานสร้างสื่อ การเรียนการสอน เปน็ ต้น โดยภาพกราฟกิ จะทาใหง้ านท่ีไดม้ คี วามสวยงามและนา่ สนใจย่ิงขึน้ การศึกษา และ ทา ความเข้าใจ เก่ียวกบั ความรเู้ บอ้ื งต้นของคอมพิวเตอร์กราฟิก จดั วา่ เป็นพน้ื ฐานสาคัญเพอ่ื ช่วยใหก้ ารออกแบบ หรอื การตกแต่งภาพกราฟกิ มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ ความหมายของกราฟกิ และคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก กราฟกิ หมายถงึ ศิลปะหรือศาสตรแ์ ขนงหน่ึง ท่สี ือ่ ความหมายโดยใช้ เสน้ ภาพเขียน สัญลกั ษณ์ ภาพถ่าย ซ่ึงมลี ักษณะเหน็ ได้ชัดเจน เข้าใจความหมายได้ทันที และถกู ตอ้ งตรงตามท่ีผู้ใช้ ตอ้ งการ คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถงึ การสรา้ งและการจัดการภาพกราฟิก โดย ใช้ คอมพิวเตอร์ การใช้ คอมพวิ เตอรส์ รา้ งภาพ การตกแต่งแก้ไขภาพ หรอื การจัดการเกย่ี วกับภาพ เชน่ ภาพยนตร์ วดิ ที ัศน์ การตกแต่ง ภาพถา่ ย การสร้างภาพตามจนิ ตนาการ และการใชภ้ าพกราฟิกในการนาเสนอข้อมูลตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถสือ่ ความหมายให้ชดั เจนและทาความเข้าใจไดง้ า่ ยกว่าเดมิ เช่น การนาเสนอขอ้ มูลดว้ ยแผนภาพหรอื กราฟ แทนทจ่ี ะเปน็

ตารางของตัวเลข ซ่ึงในปจั จุบนั มีการใชค้ อมพวิ เตอร์กราฟิกกับงานหลากหลายดา้ น ไมว่ ่าจะเป็นงานด้าน การศกึ ษา งานดา้ นธรุ กิจ งานดา้ นการออกแบบ งานด้านบันเทงิ หรืองานด้านการแพทย์ เปน็ ต้น 1.2 หลกั การทางานของภาพกราฟกิ หลกั การทางานของภาพกราฟิก แบง่ ออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ 1.2.1 ภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ (Raster) ภาพกราฟกิ แบบราสเตอร์ หรือเรยี กอีกอยา่ งหน่งึ ว่า บิตแมพ (Bitmap) เปน็ ภาพกราฟกิ ท่ีเกดิ จากการเรียง ตวั ของจุดส่ีเหล่ยี มเล็ก ๆ ทเี่ รียกวา่ พกิ เซล (Pixel) มีการเกบ็ ค่าสีที่เจาะจงในแต่ละตาแหนง่ จนเกิดเป็นภาพใน ลกั ษณะต่าง ๆ เช่น ภาพถา่ ย ดังน้นั ภาพแบบราสเตอรม์ ี ขอ้ ดี คือ เหมาะสาหรับภาพทต่ี ้องการสรา้ งสหี รอื กาหนดสีที่ตอ้ งการความละเอียดและสวยงามน ขอ้ เสีย คอื หากมกี ารขยายขนาดภาพซงึ่ จะเปน็ การเพิ่มจานวนจุดสีใหก้ ับภาพ สง่ ผลให้คุณภาพของภาพน้นั สูญเสียไป ความละเอยี ดของภาพจะลดลงมองเหน็ ภาพเป็นแบบ จดุ สชี ัดเจนขึ้นไฟล์ภาพจะมีขนาดใหญแ่ ละใชเ้ น้อื ท่ใี นการ จัดเกบ็ มากตามไปดว้ ย โปรแกรมทนี่ ยิ มใช้ในการสรา้ งภาพแบบ ราสเตอร์ ไดแ้ ก่ โปรแกรม Paintbrush โปรแกรม Adobe 1.3 ประเภทของภาพกราฟิก ประเภทของภาพกราฟิก แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.3.1 ภาพกราฟกิ ประเภท 2 มติ ิ เปน็ ภาพกราฟกิ ที่มแี ต่ความกว้างและความยาว แตจ่ ะไมม่ คี วามหนาหรอื ความลกึ ได้แก่ ภาพ

สามเหล่ียม ภาพส่ีเหล่ียม ภาพถา่ ย ภาพลายเสน้ ภาพวาด เปน็ ตน้ โดยทั่วไปเรยี กภาพกราฟกิ ประเภท 2 มิตวิ า่ ภาพ รา่ ง ดงั แสดงในภาพที่1.3 1.4 ระบบสีท่ีใช้กบั ภาพกราฟกิ โดยทวั่ ไปสใี นธรรมชาติและสีท่ีสร้างขึ้น จะมีรปู แบบการมองเห็นของสีที่แตกตา่ งกนั ซง่ึ รปู แบบการมองเห็น สที ี่ใชใ้ นงานด้านกราฟกิ ทัว่ ไปน้นั มีอยู่ด้วยกัน 4 ระบบ ไดแ้ ก่ 1. ระบบสี RGB ตามหลกั การแสดงสขี องเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ระบบสี CMYK ตามหลักการแสดงสีของเครอื่ งพิมพ์ 3. ระบบสี HSB ตามหลกั การมองเห็นสีของสายตามนุษย์ 4. ระบบสี LAB ตามหลกั การแสดงสที ี่ไมข่ นึ้ อยูก่ บั อปุ กรณใ์ ด ๆ สามารถใชก้ ับสีทเี่ กิดจากอปุ กรณ์ ทกุ ชนดิ ไม่วา่ จะเป็นจอคอมพวิ เตอรห์ รือเคร่อื งพิมพ์ 1.4.1 ระบบสี RGB ยอ่ มาจากคาว่า Red Green และ Blue เป็นระบบสีทีเ่ กิดจากการรวมกันของแสงสีแดง สเี ขียว และสีนา้ เงนิ เมือ่ มกี ารใช้สดั สว่ นของ 3 สีนี้ตา่ งกนั จะทาใหเ้ กดิ สีตา่ ง ๆ ได้อกี มากมายถงึ 16.7 ล้านสี ซ่งึ ใกลเ้ คยี งกับสที ่ตี าเรามองเหน็ ปกติ โดยสที ีไ่ ด้จากการผสมสีขึ้นอยู่กบั ความเขม้ ของสี ถ้าหากสีมีความเขม้ มากเมอ่ื นามาผสมกันจะทาใหเ้ กิดเป็นสขี าว จึงเรยี กระบบสนี ้ีวา่ Additive หรือการผสมสีแบบบวกหลักการแสดงสีของ จอคอมพิวเตอรน์ ้นั จะแสดงสเี ปน็ ระบบ RGB อยแู่ ล้ว ไม่วา่ จะเลือกโหมดการทางานใดกต็ าม ดงั แสดงในภาพ

5. ประเภทของไฟลภ์ าพกราฟกิ การสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแตง่ ภาพกราฟิกประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเปน็ อกี ปัจจยั หนงึ่ ท่มี ี ความสาคัญ เพราะความละเอยี ดของไฟลภ์ าพจะสง่ ผลกับขนาดของภาพ เชน่ ภาพทน่ี ามาใชง้ าน บนเวบ็ เพจควร จะต้องมขี นาดเลก็ เพ่ือนาไปเรยี กใชง้ านบนเวบ็ เพจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประเภทของไฟล์ภาพกราฟกิ ท่นี ยิ มใช้โดยทวั่ ไป ได้แก่ 1.5.1 JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เปน็ รูปแบบไฟลท์ ่เี ก็บภาพแบบราสเตอร์ทไ่ี มต่ อ้ งการคณุ ภาพสูงมากนัก เชน่ ภาพถ่ายจากกลอ้ งดจิ ติ อล ภาพถา่ ยจากโทรศพั ทม์ ือถือและภาพกราฟิกสาหรบั แสดงบนอนิ เทอรเ์ นต็ สามารถแสดงสไี ดถ้ ึง 16.7 ลา้ นสี เป็นไฟล์ ภาพชนดิ หนึ่งทีไ่ ดร้ บั ความนิยม เพราะไฟลม์ ีขนาดเล็กสามารถบบี อัดข้อมลู ไดห้ ลายระดับ จุดเด่น 1. สนบั สนนุ สไี ดถ้ ึง 24 bit 2. แสดงสไี ด้ถึง 16.7 ล้านสี 3. สามารถกาหนดค่าการบบี อดั ไฟล์ได้ตามท่ีต้องการ 4. มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อย ๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบโพรเก รสซีฟ (Progressive) 5. มโี ปรแกรมสนับสนนุ การสร้างจานวนมาก 6. เรียกดูไดก้ ับบราวเซอร์ (Browser) ทกุ ตัว จดุ ด้อย 1. ไม่สามารถทาภาพให้มพี น้ื หลงั แบบโปร่งใส (Transparent) ได้ 2. ทาภาพเคล่อื นไหว (Animation) ไม่ได้

บทที่ 3 เร่มิ ตน้ กับ Illustrator ADOBE ILLUSTRATOR CS3 Illustrator คือโปรแกรมท่ีใชใ้ นการวาดภาพท่ีมลี กั ษณะเปน็ ลายเสน้ หรอื เวกเตอร์ และยงั สามารถรวม ภาพกราฟฟกิ ทแ่ี ตกต่างกนั ระหวา่ งเวกเตอรแ์ ละบติ แม็พ ให้เป็นงานกราฟฟกิ ทมี่ ที ้ังภาพเป็นเส้นท่ีคมชดั และ มีเอฟ เฟกต์สสี นั สวยงามหรอื มคี วามแปลกใหมร่ ่วมกันได้ Adobe Illustrator CS3 อะโดบี อลิ ลัสเตรเตอร์ (Adobe Illustrator) เป็นโปรแกรมวาดภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์ ซึง่ พัฒนาโดย บรษิ ัทอะโดบีซสิ เตม็ ส์ รนุ่ แรก จดั ทาขึน้ ในปี ค.ศ. 1986 เพ่ือใช้งานกับเครอื่ งแมคอินทอช และได้พฒั นารุน่ ท่ี 2 ออกมาให้ใชง้ านไดก้ ับวินโดวส์ ซ่ึงไดร้ บั ความพงึ พอใจ และ การตอบรับท่ีดจี ากผู้ใช้เปน็ จานวนมาก จนปัจจุบันได้ พัฒนาออกมาจนถึงรนุ่ ที่ 14 และได้รวบรวมเขา้ ไปเป็น 1 ในโปรแกรมชดุ Adobe Creative (CS4) การนาไปใช้งานโปรแกรม Illustrator งานสงิ่ พมิ พ์ ไม่ว่าจะเปน็ งานโฆษณา โบร์ ชวั ร์ นามบตั ร หนงั สอื หรอื นติ ยสาร เรยี ก ได้ว่าเกือบทุกสง่ิ พมิ พท์ ่ีต้องการความ คมชดั

งานออกแบบทางกราฟฟกิ การสร้างภาพสามมิติ การออกแบบปกหนังสือ การออกแบบสกรีน CD-ROM และการออกแบบ การ์ด อวยพร ฯลฯ งานทางดา้ นการต์ ูน ในการสร้างภาพการต์ ูนตา่ งๆนนั้ โปรแกรม Illustrator ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทและชว่ ยในการวาดรปู ได้ดี เขา้ สโู่ ปรแกรม 1. Click mouse ทป่ี ุ่ม start ทเ่ี มนบู าร์ 2. เลื่อนเม้าส์เลอื กคาสั่ง Programs> Adobe> Adobe Illustrator 3. จะปรากฎหน้าจอแรกของโปรแกรม Illustrator

หมวด คาอธบิ าย file เป็นคาสง่ั การทางานเกย่ี วกับไฟล์ เช่น การเปิดไฟล์ ปิดไฟล์ การบันทกึ ไฟล์และการออกจาก edit โปรแกรม เป็นต้น เป็นคาส่งั เกี่ยวกบั การปรบั แต่งต่างๆ เช่น การยอ้ นกลับการทางาน การตัด การทาสาเนาหรือ object คัดลอก การวาง หรือรปู แบบ การเลือก รวมถงึ การกาหนดคุณสมบัติตา่ งๆท่ีมีผลตอ่ การปรบั แต่ง type ภาพดว้ ย เช่น การสรา้ งรูปแบบ หรือการกาหนดค่าสี เปน็ ตน้ filter เปน็ คาสัง่ ที่เก่ียวกับการทางานกับออบเจ็กต์ทั้งหมด เช่น คาสั่งในการจัดกลุม่ การจัดลาดบั หรอื การ file ปรบั แต่ง เปน็ ต้น effect เป็นคาส่งั ที่เกี่ยวกับการทางานกับตัวอกั ษร เช่น การเลอื กฟอนต์ ขนาดและลักษณะตัวอกั ษร เปน็ view ต้น window การตกแตง่ ชน้ิ งานดว้ ยเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การกาหนดความขรุขระ การกาหนดรอยหยกั หรอื help การหมนุ ชิน้ งาน เป็นตน้ เปน็ คาส่ังการทางานเกยี่ วกบั ไฟล์ เชน่ การเปดิ ไฟล์ ปดิ ไฟล์ การบนั ทึกไฟลแ์ ละการออกจาก โปรแกรม เปน็ ตน้ เปน็ การกาหนดเทคนิคพิเศษในการตกแตง่ ชิ้นงาน จะคล้ายกับเมนู filter แต่เมนู effect สามารถท่ี จะแกไ้ ขค่าในการตกแตง่ ได้ รวบรวมคาส่ังในการกาหนดมมุ มองของการทางาน เช่น การแสดงหรอื ซ่อนเสน้ ไม้บรรทัด หรือการ ขยายชน้ิ งาน เปน็ ตน้ เปน็ เมนูทรี วบรวมคาส่ังเก่ยี วกับการจัดการหน้าต่างแต่ละหน้าตา่ ง ท่ีปรากฎบนจอรวมถงึ หน้าตา่ ง Palette,Toolbox ดว้ ย เชน่ คาสั่งแสดง หรือ คาสง่ั ซอ่ น เปน็ ตน้ รวบรวมวิธกี ารใชง้ านและคาแนะนาอืน่ ๆ เก่ยี วกบั โปรแกรม Illustrator การบนั ทกึ ไฟล์ (Save) เช่นเดยี วกับโปรแกรมโดยทั่วไป หลังจากทเี่ ราสร้างชนิ้ งานเสร็จแล้ว จะมีการเกบ็ บนั ทึกไฟล์ นัน้ ไว้เพอ่ื เรยี กใช้ในครัง้ ต่อไป ในโปรแกรม Illustrator กม็ กี ารบันทกึ ตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เลือกคาส่ัง File ทเ่ี มนบู าร์และเลือกรูปแบบการบนั ทึกไฟลด์ ังต่อไปนี้ คอื File>Save เป็นการบนั ทกึ งานในรปู แบบปกติ โดยโปรแกรมจะบนั ทึก งานท่แี ก้ไขใหม่ในชือ่ เดิม ตาแหนง่ เดิมหรือบนั ทึกไฟลท์ ี่ ยงั ไม่เคยมกี ารบันทกึ มาก่อน File>Save As เปน็ การบันทึกงานเดิมเป็นชื่อใหม่ ตาแหนง่ ใหม่ และใหอ้ ยใู่ นรูปของ Format ใหม่ได้ File>Save for Web เป็นการบนั ทึกไฟล์เพือ่ ให้ไดภ้ าพทีเ่ หมาะสาหรบั การใชง้ าน บนเว็บ

2. Click mouse เพอ่ื กาหนดตาแหนง่ ของไฟลท์ ีต่ ้องการเกบ็ 3. ตงั้ ช่ือไฟล์ 4. Click mouse เลอื ก Format ของไฟล์ 5. Click mouse ท่ีป่มุ Save 6. ทห่ี นา้ จอ Illustrator Native Format Options ให้กาหนดรายละเอยี ดดังนี้ Compatibility : เลอื กเวอรช์ ั่นทต่ี ้องการบันทกึ Option : มใี ห้เลือก 2 รูปแบบคอื Embed All Fonts และ Subset fonts when less than of characters are used 7. Click mouse ทป่ี ุม่ OK การสร้างหนา้ งานใหม่ เร่มิ ต้นการทางานด้วยการเปิดเอกสารใหม่ขน้ี มาด้วยคาส่งั New มขี ้นั ตอนดังน้ี 1.ไปทเี่ มนหู ลกั (Menu Bar) จากนนั้ ไปท่ี File > New.. จะมีหน้าต่างข้ึนมาดงั รูป เมื่อต้องการเปิดไฟลง์ านใหม่ ผใู้ ช้งานสามารถเปิดไดด้ ้วยการเลือกคาสง่ั File > New… จาก Menu Bar หรอื กดป่มุ คียล์ ัด Ctrl + N บนคยี บ์ อร์ด การสร้างหนา้ งานใหม่ในโปรแกรม Illustrator นนั้ กาหนดแต่เพยี งขนาดและรูปแบบมมุ มองของหนา้ งานเทา่ นน้ั เนื่องจากโปรแกรมน้ี จะสร้างภาพกราฟิกประเภท Vector ซ้งึ สามารถแกไ้ ขโดยทีไ่ ม่สรา้ งความเสยี หายใหก้ ับ ชน้ิ งาน รายละเอยี ดมีดงั น้ี 1. Name สาหรบั กาหนดชื่อใหก้ ับชิ้นงานของเรา 2. Artboard setup กาหนดคา่ มาตราฐานให้กับชนิ้ งานของเรา มีรายละเอยี ดดังน้ี 2.1 Size กาหนดขนาดของชนิ้ งานตามขนาดของกระดาษ เชน่ ใหม้ ขี นาดเท่ากับ A4 , A3 หรอื กาหนดเป็นขนาดหน้าจอ เชน่ 800 x 600Pixels 2.2 Unit กาหนดหนว่ ยท่ใี ช้ในช้นิ งาน เชน่ Centimeters (เซนตเิ มตร) , Pixels 2.3 Width/Height กาหนดความกว้าง และความสงู ของชิ้นงาน 2.4 Orientation กาหนดช้นิ งานให้วางแนวตงั้ หรือแนวนอน

3. Color Mode ใชก้ าหนดโหมดสี ประกอบด้วยโหมดสี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ 3.1 CMYK Color เป็นโหมดสาหรับทางานสง่ิ พมิ พ์ (จะให้สีใกลเ้ คยี งกบั ภาพที่ปร้ินออกมา สีจะค่อน ขา้ งทมึ ) 3.2 RGB Color เป็นโหมดสาหรับทางานที่แสดงบนหน้าจอคอมพวิ เตอร์ (จะให้สีสด) การเลอื กโหมดของสนี ัน้ สาคญั มาก ผูใ้ ชง้ านควรเลือกโหมดสใี หต้ รงกบั งานที่ต้องการใช้ เชน่ ถา้ เป็นงาน สง่ิ พมิ พก์ ค็ วรเลอื กCMYK เพอ่ื ให้ได้สีที่แสดงบนหน้าจอทางานตรงกับสีที่ปรน้ิ เน้ืองานออกมา ถ้าเลอื ก เป็น RGB ภาพที่แสดงบนหนา้ จอกบั ภาพท่ีปรน้ิ ออกมาจะแตกตา่ งกนั มาก

บทที่ 4 การสร้างไฟลง์ านใน Illustrator การสรา้ งไฟลใ์ หม่ อารต์ บอรด์ หนา้ เดยี ว และ หลายหนา้ การสร้างไฟล์ อาร์ตบอรด์ หนา้ เดียว เลือกคาสั่ง File> New... (คยี ร์ลดั Ctrl+N) แลว้ โปรแกรมกจ็ ะปรากฏหนา้ จอขน้ึ มาให้เรากาหนดคณุ สมบัติของไฟลอ์ ารต์ บอรด์ ท่ีจะสร้าง 1. ชอ่ ง Name ให้ต้ังชื่อไฟล์ภาพชิน้ งาน (จะละไว้ก่อนแลว้ ไปตงั้ ตอนเซฟงานก็ได้) 2. ช่อง New Document Profile ใช้เลอื กโปรไ์ ฟล์มาตรฐานให้ตรงกับลักษณะชิ้นงานทเี่ ราจะทา เช่น Print คอื งาน ไฟลเ์ อกสารหรืองานพิมพ,์ Web คือไฟล์สาหรับแสดงบนเว็บเพจ 3. ชอ่ ง Size แต่ละประเภททเี่ ลือก จะเป็นตวั กาหนดความกว้าง - ยาว มาตรฐานของอารต์ บอรด์ ในชอ่ ง Width และ Hight 4. ช่อง Width และ Hight ใช้สาหรบั กาหนดความกว้างเอง (เหมาะสาหรบั การสร้างงานท่จี ะแสดงผลบนเวบ็ เพจ) 5. Units คอื หนว่ ยท่ีใชก้ าหนดความกวา้ ง - ยาวของอารต์ บอรด์ ทจ่ี ะสร้าง เช่น เซ็นติเมตร, น้ิว, พิกเซล 6. Orientation คือไอคอนสาหรบั ให้คลิกเลือกว่าชน้ิ งานของเรา จะเป็นแนวต้งั > หรือแนวนอน> เมอื่ กดปมุ่ OK แลว้ ก็จะไดอ้ อกมาเปน็ ดงั นี้ การสร้างไฟลอ์ าร์ตบอร์ดแบบหลายหน้าใหไ้ ปทค่ี าสงั่ Files> New จากนัน้ โปรแกรมก็จะปรากฏหน้าจอข้นึ มาใหเ้ รากาหนดคณุ สมบตั ิของไฟลอ์ าร์ตบอรด์ ทจ่ี ะสรา้ ง 1. ชอ่ ง Name ให้ตง้ั ชอ่ื ไฟล์ภาพชนิ้ งาน (จะละไว้กอ่ นแล้วไปต้งั ตอนเซฟงานก็ได้) 2. ช่อง Number of Artboards ใหใ้ สจ่ านวนหน้าอารต์ บอร์ดทีต่ ้องการจะสร้าง 3. ใช้สาหรบั กาหนดการจัดเรยี งหนา้ อาร์บอรต์ 4. ปมุ่ ลกู ศร สาหรบั ใช้กาหนดลาดับการจดั เรยี งอาร์ตบอรด์ เช่นจากซ้ายไปขวา หรอื จากขวาไปซา้ ย

5.ช่อง Spacing ใชก้ าหนดระยะห่างระหวา่ งอาร์ตบอร์ด 6.ชอ่ ง Rows/Columns ใชส้ าหรับกาหนด จานวนแถวหรอื คอลัมน์ ของอรต์ บอรด์ 7. ช่อง Size แตล่ ะประเภทที่เลือก จะเปน็ ตวั กาหนดความกว้าง - ยาว มาตรฐานของอารต์ บอรด์ ในช่อง Width และ Hight เมอ่ื ตกปุ่ม OK แล้วจะไดอ้ ารต์ บอรด์ ขน้ึ มา 3 ชนิ้ ตามจานวนท่กี าหนดไวใ้ นตอนตน้ การกาหนดคุณสมบัติโหมดสี และความละเอยี ดจุดสี ใหก้ ดปมุ่ ไอคอน Advanced กอ่ น Color Mode = เลือกโหมดสีให้กับไฟลง์ าน ถา้ ไมก่ าหนดโปรแกรมจะเซ็ตค่าให้เป็น CMYK Raster Effects = คือความละเอียดของจดุ สี เม่ือมีการปรับแตง่ ใส่ เอฟเฟคให้กบั ชน้ิ งาน Preview Mode = มมุ มองภาพ ทชี่ ่อง Align New Objects to Pixel Grid จะเป็นการกาหนดใหจ้ ัดวางชน้ิ งานโดยยดึ พิกเซลกรดิ เหมาะสาหรับการ แสดงช้นิ งานบนเวบ็

บทท่ี 5 การวาดภาพด้วยเครื่องมอื ต่างๆ ใน Illustrator การวาดภาพดว้ ยเคร่อื งมือต่างๆ ใน Illustrator การวาดภาพใหก้ ับชน้ิ งาน ในโปรแกรม Illustrator มีความสามารถหนึ่งท่ีนิยมใชก้ ัน และเป็นทน่ี ยิ มในการออกแบบภาพกราฟกิ แบบเวกเตอร์ ดว้ ยเครื่องมือวาดภาพและสรา้ งภาพสาเรจ็ รูปเปน็ รูปตา่ งๆ ลกั ษณะของภาพเวกเตอร์ ในวาดภาพในโปรแกรม Illustrator มีลักษณะของพาธ (Path) หรือเส้นโครงรา่ ง ซึง่ เสน้ พาธเหล่านีส้ ามารถดึงให้ ตรง หรือดัดให้โค้งเกดิ เป็นรปู ร่างตา่ งๆ ได้ตามทเ่ี ราตอ้ งการ สว่ นประกอบของออบเจด็ ภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์มกั จะประกอบไปดว้ ยชิ้นสว่ นตา่ งๆซ่งึ เรยี กวา่ ออบเจด็ (Object) หลายชิน้ มาวางรวมกนั โดยแต่ละออบเจ็ดจะมีองคป์ ระกอบหลกั เหมื่อนกันดังนี้ 1. สัน (Stroke) 2. สีพืน้ (Fill)

3. กรอบภาพ (Bounding Box) เส้นพาธ 5. จุดแองเคอร์ (Anchor Point) เสน้ พาธ การวาดภาพแบบเวกเตอรจ์ ะเปน็ การสรา้ งเสน้ พาธ (Path) จากจุดหนึ่งไปยังอกี จดุ หนึ่งต่อกนั ไปจนเป็นรูปทรง หรือ ภาพตามทเี่ ราต้องการกาหนด โดยทจ่ี ุดปลายทงั้ 2 ด้านของเสน้ แต่ละเสน้ นัน้ จะทาหน้าที่เปน็ ตวั ยยดึ เสน้ ให้เชอ่ื มตอ่ กนั และยงั สามารถกาหนดทิศทางให้เส้นเหล่านัน้ ถูกวางตามตาแหนง่ ท่ีเกิดเปน็ รปู ทรงตามความตอ้ งการ ซึ่งเราเรียกจุดน้ี วา่ จดุ ยดึ (Anchor Point) แบง่ แยกประเภทของเครื่องมอื ของ Illustrator CS เครื่องมือท้ังหมดนผี้ ู้เขยี นขอแบง่ เป็น 3 กลมุ่ ตามลักษณะการใชง้ าน 1. เครื่องมือช่วยในการสร้างภาพ วาดภาพ หนา้ ที่หลักๆ กค็ อื สร้างภาพใดๆ ขน้ึ มา อาจเปน็ การวาด ภาพวงกลม วงรี ภาพคน ภาพสตั ว์ ฯลฯ 2. เครื่องมือช่วยในการแกไ้ ขภาพ ไว้สาหรับแกไ้ ขภาพทส่ี รา้ งด้วยเคร่ืองมือในกลุ่มท่ี 1 หลงั จากวาด ภาพเสร็จแลว้ ต้องการแกไ้ ขภาพกจ็ ะใช้เคร่ืองมือในกล่มุ น้ี 3. เครอ่ื งมอื ช่วยอานวยความสะดวกในการใช้งาน เชน่ การเล่ือนยา้ ยหนา้ จอ ย่อขยายหนา้ จอให้ดชู ัด เจน เพือ่ ความ สะดวกในการสร้างหรอื แก้ไขภาพ การเรยี กใช้เครือ่ งมือตา่ งๆ ใน Illustrator CS 1. เครือ่ งมือแบบเดี่ยวๆ ก็คลิกเลอื กได้เลย 2. เครอ่ื งมือแบบเป็นกลุ่ม ใหค้ ลกิ ทเี่ ครอื่ งมอื พร้อมกับกดปมุ่ ซ้ายของเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์ ไปท่เี คร่ืองมือที่ ตอ้ งการ แลว้ ก็ปลอ่ ยเมาส์ ก็จะเป็นการเลอื กเครือ่ งมือตวั นัน้



บทที่ 6 การเลอื กใชง้ านวัตถุใน Illustrator การเลอื กใช้งานวตั ถุใน Illustrator การเลอื กใชง้ านวตั ถุ Selection Tool การเลอื กใช้งานวัตถุ Selection Tool เปน็ การใช้เครื่องมือในการเลอื กวัตถุ และหากวัตถุถูกรวมกลุ่มกนั อยู่ (Group) เครือ่ งมอื น้กี เ็ ลือกวตั ถุทงั้ กลุม่ โดยคลกิ เลือก Selection Tool ทีเ่ ครื่องเลอื กและคลิกเลอื กวตั ถซุ งึ่ จะแสดง กรอบภาพ (Bounding Box) เพ่อื ใหส้ ามารถคลกิ ย้ายตาแหนง่ ของวัตถุได้ 1. คลกิ เลือก Selection Tool 2. คลกิ เลอื กภาพ 3. คลกิ เลอื นตาแหน่ง การเลอื กใชง้ านวตั ถุ Direct Selection Tool เปน็ การใช้เครอื่ งมือเลอื กจุดยึด (Anchor Point) หรือเสน้ พาธ (Path) ของวัตถุ ทาใหเ้ ราสามารถแก้ไขหรือ ปรับแตง่ วัตถใุ นสว่ นของเสน้ พาธตรงจุดนั้นได้เลยโดยคลกิ เลือก Direct Selection Tool ท่กี ล่องเครื่องมือ 1. คลิกเลือกเฉพราะเสน้ พาธ หรอื จุดยึด 2. คลกิ เลือก Direct Selection Tool 3. คลกิ เลอื กพาธ 4. คลิกเล่อื นพาธ

การเลือกใช้งานวตั ถุ Marquee Selection Tool การเลอื กใช้งานวัตถุ Marquee Selection Tool เปน็ การเลือกวตั ถโุ ดยสร้างพ้ืนท่รี อบวตั ถทุ ัง้ หมดทต่ี อ้ งการ ใน กรณที ่ตี ้องการเลือกวัตถุ (Selection Tool Direct Selection Tool, Group Selection Tool) และลากเมาสเ์ ป็น รปู ส่ีเหล่ยี มให้ครอบ หรอื โดนวตั ถุทีต่ ้องการเลอื ก 1. คลกิ เลือก Selection Tool 2. คลกิ กาหนดพน้ื ท่ีรปู ส่ีเหล่ียมครอบคลุมวัตถุที่ตอ้ งการเลอื ก 3. วตั ถุทัง้ หมดที่อยูใ่ นพืน้ ทส่ี ี่เหล่ียมจะถกู เลอื ก การเลอื กใชง้ านวัตถุ Lasso Tool Lasso Tool เป็นเครอ่ื งมอื ท่ใี ชเ้ ลือกส่วนของวัตถุ หรอื เส้นพาธ และจุดยึด ซ่ึงจะมกี ารใช้งานที่คล้ายกับ Direct Selection Tool แต่สามารถที่จะเลือกวตั ถุท่ตี ้องการเลือก 1. คลิกกาหนดพ้นื ท่ีรปู ส่ีเหลย่ี มครอบคลมุ วัตถทุ ีต่ อ้ งการเลือก 2. คลกิ เลอื ก Lasso Tool 3. ลากเมาส์ผ่านวัตถุทตี่ ้องการ บทท่ี 7 การจดั วางเเละการปรับปรุงทรงใน lllustrator

บทท่ี 7 การจดั วางเเละการปรับปรุงทรงใน Illustrator 7.1 การใช้เสน้ Grid เสน้ Grid คอื ตารางสมมุติทีช่ ว่ ยในการวาดและการจดั วางวัตถุได้อยา่ งแมน่ ยา 1. แสดงเสน้ กรกิ ให้คลกิ ขวาบนอาร์ตบอรด์ แลว้ เลือกคาส่ัง Show>Grid 2 2. ยกเลกิ การแสดง ให้คลกิ ขวาเลือกคาส่งั Hide>Grid 3. 3.ใหว้ ัตถยุ ึดติดกบั เสนกรดิ อัตโนมัติ ขณะวาดหรทือย้ายตาแดหน่งใหใ้ ช้คาสง่ั View>Snap tp Grid และเมอ่ื ตอ้ งการ ยกเลกิ ให้ทาคาสั่งอกี คร้งั 7.1.2 การใชเ้ ส้น Guide เสน้ ไกด์ (Guide) คอื เส้นืทชี ว่ ยในการบอกตาเเหนง่ เพอื่ จดั วางวตั ถุเหม่ือนกบั เส้นกรดเเต่สามารถสร้างเเละจดั วาง ไปยังตาเเหน่งต่างๆ ไดเ้ องทัง้ เเนวตงั้ เเละเเนวนอนโดยใหเ้ เสดงเเถบไมบ้ รรดทัดเสยี ก่อน 1. สรา้ งเสน้ ไกืด์ ทาได้โดยการคลกิ เมาสค์ า้ งเเล้วลากออกจา กเเถบไมบ้ รรทดั ตามเเนวตง้ั หรือเเนวนอนไปยงั ตาเเหนง่ ท่ตี ้องการ 2. ซอ่ นเส้นไกด์ ใหค้ ลิกขวาบนพื้นทก่ี ารทางานเเล้วเลือกคาสง่ั Hide>Guide เมอื่ ตอ้ งการเเสดงเส้นไกด์กลบั คืน ก็ ให้คลกิ ขวาเลือกคาสัง่ Show>Guide 7.1.3 ล็อกเส้นไกด์

เพอ่ื ไม่ใหเ้ สน้ ไกด์ มกี ารเปลีย่ นตาแหน่ง ให้คลกิ ขวาบนอารต์ บอรด์ แลว้ เลือกคาสั่ง Lock Guides 7.1.4 ลบเส้นไกด์ การลบบางเส้น ใหใ้ ช้เครอ่ื งมือ Selection คลกิ เลอื กเส้นไกด์ท่ีต้องการแลว้ กดคีย์ Delete การลบเส้นไกด์ ทั้งหมด ใหใ้ ช้คาสงั่ View > Guides > Clear Guides

บทท่ี 8 การปรับมมุ มองการทางานและการใช้เคร่อื งมอื พ้ืนฐานใน Illustrator การปรับมมุ มองการทางานเเละการใช้เคร่ืองมอื พ้่ืนฐานใน lllustrator 8.1 การกาหนดมุมมองหนา้ ตา่ งของโปรแกรมให้เหมาะสมกับการทางาน ในการสร้างและตกแต่งชิ้นงาน เราสามารถปรบั มุมมองของการทางานได้หลายรปู แบบตามความถนัดใน การใชง้ าน ดงั นี้ 8.1.1 กาหนดมุมมองโดยรวมของภาพ ปกตไิ ฟล์ช้นิ งานถกู แสดงภาพในกรอบหนา้ ต่างโปรแกรม ซึ่งเราสามารถเปลี่ยนมุมมองให้เป็นแบบอื่น เพื่อให้มพี ืน้ ทใี่ นการทางานขึ้น โดยคลกิ กาหนดมุมมองไดจ้ ากกล่องเครอ่ื งมอื ซง่ึ มีใหเ้ ลอื ก ดงั นี้ 1. Normal Screen Mode เป็นสว่ นหนา้ ต่างปกติ Illustrator โดยจะแสดงส่วนประกอบครบถว้ น 2. Full Screen Mode with Bar เปน็ หน้าต่างทจ่ี ะแสดงชน้ิ งานเตม็ พ้ืนทแี่ ต่ยังมีเมนบู าร์อยู่ 3. Full Screen Mode เป็นหน้าตา่ งทีจ่ ะแสดงช้นิ งานเต็มพ้นื ทีไ่ ม่มเี มนบู าร์ ไมม่ กี ลอ่ งเครอ่ื งมอื ออกจาก มุมมอง 8.1.2 กาหนดมมุ มองทั่วไปของภาพ เราสามารถกาหนดให้แสดงชิ้นงานในรปู แบบที่ต้องการได้ โดยเลือกเมนู View ซงึ่ มีรูปแบบใหเ้ ลือกดังน้ี

8.1.3 การซูมขยาย-ย่อภาพ ผ้ใู ช้สามารถใช้เครือ่ งมอื แวน่ ขยายภาพที่ช่วยขยายชนิ้ งานใหส้ ามารถตกแตง่ ได้อย่างละเอียดมากขน้ึ การซมู ภาพ ผใู้ ช้สามารถขยายภาพท่ีนาเข้ามาให้ดชู ดั เจนขึ้น โดยการใช้เครื่องมือZoom Tool ดงั น้ี 1. คลกิ เลือกเครอ่ื งมอื Zoom Tool 2. คลิกเลือกบริเวณทีต่ อ้ งการ Zoom Tool 3. ภาพจะถกู ขยายใหญข่ ึ้น ถ้าต้องการขยายเฉพาะบางที่ ก็สามารถทาได้เหมือนกัน โดยลากเมาส์ครอบเฉพาะทีท่ ี่ตอ้ งการแบบนี้ 1. ลากเมาสค์ รอบพื้นท่ีท่ีเราต้องการ 2. ขยายเฉพาะพ้นื ทท่ี เี่ ลอื กเอาไว้ การย่อภาพ เม่ือต้องการยอ่ ภาพใหเ้ ลก็ ลง ให้กดคีย์ <Alt> + คลกิ เมาสบ์ นภาพ จากนั้นภาพจะคอ่ ย ๆ ย่อใหเ้ ลก็ ลงตามจานวนครัง้ ทค่ี ลิกเมาส์ 8.1.4 เลอื่ นวัตถทุ มี่ ีขนาดใหญ่ ภาพบางภาพมขี นาดใหญไ่ ม่สามารถมองเห็นทกุ สว่ นของภาพ เราสามารถเลือ่ นดูภาพภายในหน้าจอ โดยตอ้ งอาศัยแถบเล่อื น (Scrollbar) เลือ่ นดูภาพชนิ้ งานหรอื จะใชเ้ ครอื่ งมือHand Tool กไ็ ด้ 1. คลกิ เลอื กเคร่อื งมือ 2. คลิกลากเมาสเ์ ลื่อนภาพ 3. ภาพจะถกู เลอื่ นตามทล่ี ากจนกว่าจะปล่อยเมาส์

8.1.5 กาหนดมุมมองด้วยวัตถุ Navigator พาเนล Navigator ในขณะทย่ี ่อขยายภาพ สามารถดภู าพทงั้ หมดและบริเวณโดยรอบได้ โดยใช้คาส่ัง Window > Navigator เพอื่ เปดิ พาเนล Navigator 8.1.6 กาหนดมุมมองของภาพเม่ือเปดิ ภาพหลายภาพพรอ้ มกัน เมือ่ ตอ้ งการเปดิ ใชง้ านไฟลห์ ลายไฟล์พร้อมกัน เชน่ การตดั ภาพจากไฟลห์ น่ึงไปวางบนภาพอกี ไฟล์หนึ่ง เพื่อง่ายต่อการใชง้ าน เราสามารถจักเรยี งมมุ มองของไฟลใ์ หม่ โดยเรียกใชง้ านเมนคู าส่ัง Window > Arrange * Tile เปน็ การจดั เรียงหน้าตา่ งที่แยกตวั ออกจากกรอบโปรแกรม ใหเ้ รยี งชดิ กัน * Float in Window เป็นการดึงหนา้ ตา่ งทเ่ี ลือกใหแ้ ยกตวั ออกจากกรอบโปรแกรม * Float All in Windows เป็นการดึงทกุ หนา้ ต่างให้แยกตวั ออกจากกรอบโปรแกรม * Consolidate All in Widows เปน็ การดึงทุกหน้าตา่ งใหเ้ ชอ่ื มติดกับกรอบโปรแกรม

บทท่ี 9 การทางานกับสีและการระบายสีใน Illustrator การทางานกบั สแี ละการระบายสใี น Illustrator หวั ขอ้ เร่อื ง (Topics) 9.1 ความรูเ้ รอ่ื งสแี ละการระบานสี 9.2 โมเดลการมองเหน็ สใี นโปรแกรม Illustrator แนวคดิ สาคญั (Main Idea) การทางานกบั สีและการระบายสีในโปรแกรม Illustrator โดยมาทาความรู้จักกบั ระบบการเลือกสโี ฟรก์ ราวด์ และแบค็ กราว์การเลือกสีด้วยวิธีตา่ ง ๆ การระบายสกี ารเปล่ยี นสีภาพ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) ใช้องค์ประกอบศิลปใ์ นการทางานกบั สแี ละระบายสใี น Illustrator จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 1. เลอื กใช้สีโฟร์กราวด์ดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ 2. เลือกเทสใี หก้ บั ภาพตามขอบเขตพนื้ ท่ีท่ีเลอื กไว้ 3. เลอื กรูปแบบการกาหนดทใ่ี ชใ้ นการไล่โทนสี 9.1 ความรู้เรือ่ งสแี ละการระบายสี

การแสดงสีของงานกราฟกิ นนั้ เกิดจากการผสมสที ่ีลอกเลียนสใี นธรรมชาติ ซงึ่ โปรแกรมIllustrator ได้มีการนาหลักการจากโมเดลสีในแบบตา่ ง ๆ มาประยุกตเ์ พ่อื ใหเ้ กดิ โหมดสีท่หี ลากหลาย ความรู้เรอื่ งสเี ปน็ พนื้ ฐานในการสรา้ งงานกราฟกิ ในขน้ั ต่อ ๆ ไป โมเดการมองเห็นสีทั่วไป โดยท่งั ไปแล้วสตี ่าง ๆ ในธรรมชาตแิ ละสที ่ีสร้างขึ้นจะมีรปู แบบการมองเหน็ สีที่แตกต่างกนั ซ่ึงรปู แบบการมองเหน็ ทเี่ รียกว่า “โมเดล (Model)” ดังนน้ั จึงทาใหม้ ีโมเดลหลายแบบดงั ท่ีจะได้ศกึ ษาตอ่ ไปนี้ คอื โมเดล HSB ตามหลกั การมองเห็นสขี องสายตามนษุ ย์ โมเดล RGB ตามหลักการแสดงสีของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ โมเดล CMTK ตามหลกั การแสดงสขี องเคร่อื งพมิ พ์ โมเดล Lab ตามมาตรฐาน CIE

9.2 โมเดลการมองเห็นสีในโปรแกรม Illustrator จากการมองเห็นสีโดยท่ัวไป มาสหู่ ลักการมองเหน็ สใี นโปรแกรม Illustrator 9.2.1 การเลอื กสีจากกลอ่ งเครอื่ งมือ การเลอื กสจี ากกล่องเคร่ืองมือ เป็นการกาหนดสที ี่สะดวกทสี่ ดุ เพราะสามารถเลอื กสไี ดท้ ันทีจากกลอ่ งเคร่ืองมือ สพี น้ื (Fill) และสีเสน้ (Stroke) เป็นการกาหนดสีพ้นื และสเี สน้ ขอบของวัตถุ สีพืน้ ฐานของโปรแกรม (Default Color) เปน็ การเปลยี่ นสพี ้ืนและสีเส้นขอบวตั ถุให้กลับมาเปน็ สพี ืน้ ฐาน คอื สพี ้ืนเป็นสีขาว และสีเสน้ ขอบเป็นสดี า สลับสพี น้ื และสเี สน้ (Swap Fill and Stroke) คลิกเมาส์ เพ่อื สลับสีพ้ืนกับสีเส้นขอบของวตั ถุ รปู ที่ 9.1 ช่องกาหนดสี 9.2.2 กาหนดลักษณะเพ่มิ เติมเปน็ การกาหนดลกั ษณะเพม่ิ เติมของสพี ้ืน หรอื สเี สน้ ขอบ Color ระบายสใี ห้สีพนื้ หรอื เสน้ ขอบ Gradient ระบายแบบไลโ่ ทนสีให้เฉพาะสีพืน้ None ไม่ระบายสีใหส้ พี ้ืนหรือสเี ส้นขอบ

บทท่ี 10 การทางานกับเลเยอร์ใน Illustrator การทางานกบั เลเยอรใ์ น lllustrator 10.1 ความหมายของเลเยอร์ เลเยอร์( Layers ) เปรยี บเสมอื นกบั นาแผน่ ใสทีม่ ภี าพซ้อนทบั กันเป็นช้นั ๆซึ้งบรเิ วณของแผน่ ใสท่ไี มมรี ูปก็ สามารภมองเห็นทะทุถงึ แผ่นใสทอ่ี ยู่ช้นั ล่างได้และเมอื่ นาแผ่นใสทกุ ช้ันว่างซ้อนทบั กันจะทาให้เกิดเป็นรูปภาพท่ี สมบูรณ์ 10.2 การสรา้ งเลเยอร์ เราสามารภสร้างเลเยอรข์ น้ึ มาใหม่เพอ่ื แยกเปน็ วัตถุหรอื ข้อความต่างๆ ใหอ้ ยู่คนละสว่ นเพ่ืองา่ ย สาหรบั การปรบั ปรุงแก้ไข โดยเรียกใชง้ านพาเนล Layers (เลือกคาสงั่ Window>) ซงึ่ มเี ลเยอรอ์ ยู่2 ลักษณะคือ ( Layers ) และเลเยอร์ย่อย ( Sublayer )

10.3 การใช้งานพาเนลเลเยอร์ พาเนลเลเยอร์ จะแสดงรายชือ่ เลเยอรท์ งั้ หมดทีม่ ใี นไฟล์ ในแต่ละเลเยอรจ์ ะประกอบไปดว้ ยเลเยอรย์ ่อนและ ชัน้ ในรูปแบบต่างๆ 10.4 ล็อกเลเยอร์ เราเลอื กลอ็ กเลเยอรท์ กี่ าลงั ทางานอยู่เพ่ือไม่ใหถ้ ูกแกไ้ ขโดยบังเอญิ ดดยคลิกเลอื กเลเยอร์จะปลย่ี นเปน็ ( ถ้าลอ็ กเลเยอร์หลกั เลเยอรืย์ ่ยๆ ภายในจะถูกลอ็ กไปด้วย ) 10.5 คัดลอกเลเยอร์ คดั ลอกเลเยอร์ คอื การคดั ลอกเอาวัตถุท้ังหมดบนเลเยอรน์ ้ันออกมาสรา้ งเป็นอกี เลเยอร์หนึ่งโดยเลเยอรใ์ หมท่ ่ี ไดจ้ ะปรากฎอยเู้ หนือเลเยอรท์ กี่ าลังเลือก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook