ชนิดของไฟลภ์ าพความรเู้ กีย่ วกับภาพ
คำนำ รำยงำนฉบับน้ี เป็นส่วนหน่ึงของรำยวิชำ 2204-2104กำรผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ กำรค้นคว้ำเขียนรำยงำนโดยมวี ัตถุประสงค์เพื่อให้ทรำบถึง ชนิดของไฟล์ภำพ ตลอดจนควำมรเู้ กย่ี วกบั ภำพ กำรจัดทำรำยงำนได้ทำกำรค้นควำ้ รวบรวมขอ้ มลู จำกหนังสือ บทควำมต่ำงๆ และคน้ หำเพ่ิมเติมจำกเวบ็ ไซต์ ผเู้ ขยี นรำยงำนหวงั ว่ำจะเปน็ ประโยชน์แกผ่ ทู้ ีส่ นใจบ้ำงตำมสมควร ผจู้ ดั ทำ พันทวิ ำ ปรียำนนท์
สำรบัญ เร่อื ง หนำ้ชนดิ ของไฟล์ภำพ 1ควำมร้เู บ้ืองต้นเก่ยี วกบั ภำพ 3
1 ชนดิ ของไฟล์ภำพ การสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพกราฟิกประเภทของไฟล์ภาพกราฟิกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญ เพราะความละเอยี ดของไฟล์ภาพจะส่งผลกับขนาดของภาพ เช่น ภาพท่ีนามาใช้งาน บนเว็บเพจควรจะตอ้ งมขี นาดเล็ก เพ่อื นาไปเรียกใช้งานบนเว็บเพจได้อย่างรวดเรว็ ประเภทของไฟล์ภาพกราฟกิ ที่นิยมใช้โดยทัว่ ไป ได้แก่1. JPEG หรอื JPG (Join Photographic Export Group) เป็นรูปแบบไฟล์ที่เก็บภาพแบบราสเตอร์ท่ีไม่ต้องการคุณภาพสูงมากนัก เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล ภาพถ่ายจากโทรศัพท์มือถือและภาพกราฟกิ สาหรบั แสดงบนอินเทอร์เนต็ สามารถแสดงสีได้ถึง 16.7ล้านสี เป็นไฟล์ภาพชนิดหน่ึงที่ได้รับความนิยม เพราะไฟล์มีขนาดเล็กสามารถบีบอัดข้อมูลได้หลายระดับ(JPEG) คือรูปแบบการบีบอัดแฟ้มภาพแบบสูญเสีย โดยยังให้เสียความละเอียดนอ้ ยท่ีสุด รูปแบบแฟ้มสาหรบัวิธีการนี้ไดแ้ ก่ .jpeg, .jpg, .jpe, .jfif, .jfi (อาจจะเปน็ ตัวเลก็ หรือตัวใหญ่ก็ได)้ รูปแบบแฟ้ม JPEG นี้ เป็นรูปแบบแฟ้มท่ีใช้กันในการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนรูปภาพบนเวิลด์ไวด์เวบ็มากที่สุด โดยเฉพาะภาพถ่าย เน่ืองจากสามารถเก็บความละเอียดสูงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถเก็บภาพสีได้หลากหลายระดับความแม่นยาของสี(Bit Depth) ความสามารถในการย่อขนาดไฟล์ของแฟ้ม JPEGน้ันเกิดจากการใช้เทคนิคการยอ่ ขนาดภาพแบบการบีบอดั คงข้อมูลหลัก (Lossy Compression) หรือการบบีอัดแบบมีความสูญเสียทาใหไ้ มน่ ิยมใช้กบั ภาพท่เี ปน็ ลายเสน้ หรือไอคอนต่าง ๆ เนอื่ งจากจะไมไ่ ด้ประสิทธิภาพเทา่ การเก็บในรูปแบบอนื่ อยา่ ง PNG หรอื GIF การบีบอัดของ JPEG นั้นจะใช้เทคนิคท่ีเรียกว่า DCT (Discrete Cosine Transform) ซึ่งเป็นการแปลงค่าความสว่างของภาพให้อยู่ในรูปแบบเชิงความถี่ (Frequency Domain) ทาให้สามารถเลือกแทนค่าของสัมประสทิ ธิ์หรือในทน่ี ้ีคือแอมพลิจูดของคา่ ความถ่ีต่างๆ ไดโ้ ดยอาศัยตวั แปรที่มีนัยสาคญั ที่ต่างกนั ได้ การที่สามารถลดนัยสาคัญของค่าตัวเลขลงไปได้ทาให้สามารถลดขนาดของหน่วยความจาหรือขนาดไฟล์ท่ีใช้เก็บตามไปได้ ชื่อ JPEG เดิมย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน JPEG,JPEG 2000, และ JPEG XR
22. GIF (Graphic Interchange Format) GIF เป็นรูปแบบแฟ้มภาพและแฟ้มภาพเคล่ือนไหว รูปแบบ GIF ถูกออกแบบโดย Compuserve ซ่ึงเป็นระบบเครือขา่ ยข่าวสารแบบออนไลน์ เพอ่ื ใหบ้ ริการแลกเปลีย่ นกราฟกิ ในรูปแบบบิตแมป ภาพแบบGIF มีขอ้ จากัดอยตู่ รงดา้ นแผงสีแบบ Index ภาพสีแบบ 24bit (RGB) ไม่สามารถใช้ได้ แผงสสี ามารถบรรจุได้ 2-256สี ซงึ่ สรา้ งจากข้อมลู สี 24 บทิ แฟ้มแบบ GIF โดยใช้การบบี ขนาด LZW แบบประยุกต์ ทาให้เปลอื งพ้นื ท่ีความจุน้อยกว่า สาหรับการออกเสียงคาว่า GIF มีการโต้เถียงกันหลายท่ี ข้ึนอยู่กับภาษาที่ใช้ โดยทางผู้ผลิตได้สรุปวิธีอา่ นของตวั เองไว้3. PNG (Portable Network Graphics) เป็นชนิดของไฟล์ภาพท่ีนาจุดเดน่ ของไฟล์ภาพแบบ GIF และแบบ JPG มาพัฒนารว่ มกนั ทาใหไ้ ฟล์ภาพชนดิ นี้แสดงสีไดม้ ากกว่า 256 สี และยงั สามารถทาพนื้ หลงั ภาพให้โปร่งใสได้ จงึ เปน็ ไฟลภ์ าพท่ไี ด้รบั ความนิยมมากในปจั จบุ นั เป็นรูปแบบแฟ้มภาพที่พัฒนาขึ้นมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF เพ่ือแก้ปัญหาด้านสิทธิบัตร PNGออกเสียงว่า ปิง แต่ไม่สะกดว่า ping เน่ืองจากซ้ากับโปรแกรมทางเครือข่ายท่ีชื่อเดียวกัน ปัจจุบันมาตรฐานของ PNG คือรุ่น 1.2 โดยได้รับการอนมุ ตั เิ ปน็ มาตรฐานของทั้ง W3C และ ISO/IEC เรยี บร้อยแลว้
34. TIF หรือ TIFF (Tagged Image File) เป็นไฟล์ภาพที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมป ใชใ้ นงานโปรแกรมสง่ิ พมิ พ์ เช่น เพจเมเกอร์ โฟโตชอป เป็นต้น เป็นรูปแบบบิตแมป ท่ีใช้อย่างกว้างขวาง ถูกพัฒนาข้ึน โดยการร่วมมือ Aldus Corporation กับไมโครซอฟท์ เป็นรูปแบบที่สามารถเปล่ียนแปลงแก้ไขได้ รูปแบบTIF เป็นรูปแบบไฟล์แบบบิตแมปท่ีค่อนขา้ งแขง็ แรง มันสามารถทาบางสิ่ง ทร่ี ูปแบบอ่นื ไม่สามารถทาได้ นอกจากน้ันข้อดคี ือ สามารถเปล่ยี นไปมาระหว่างพีซี กับเคร่ืองแมคอินทอช ได้ เน่ืองจากสนบั สนุนท้ังสองระบบ แต่เน่ืองจากลักษณะการจัดเก็บภาพ ไม่มีการบบี อดั ข้อมูลเลย จงึ ทาใหข้ นาดของภาพคอ่ นข้างใหญ่เมือ่ เทียบกบั รูปแบบการจัดเกบ็ ภาพในลักษณะอ่ืน5. PSD (Photoshop Document) เปน็ ไฟล์ภาพเฉพาะโปรแกรม Adobe Photoshop จะทาการบนั ทึกแบบแยกเลเยอร์ (Layer)โดยเก็บประวตั กิ ารทางานและรายละเอยี ดการตกแต่งภาพ เอาไว้ เพือ่ ง่ายตอ่ การแกไ้ ขในภายหลัง ควำมรเู้ บ้ืองตน้ เกยี่ วกบั ภำพควำมหมำยของภำพกรำฟกิ กราฟกิ (Graphic)เปน็ คามาจากภาษากรกี วา่ Graphikos หมายถึง การเขยี นภาพด้วยสแี ละเขียนภาพขาวดาและคาว่า Graphein มีความหมายท้ังการเขียนด้วยตัวหนังสือและการสื่อความหมายโดยการใช้เส้นเม่ือรวมท้ังคา Graphikos และ Graphein เข้าด้วยกันวัสดุกราฟิกจะหมายถึงวัสดุใด ๆ ซึ่งแสดงความจริงแสดงความคดิ อยา่ งชัดเจน โดยใชภ้ าพวาด ภาพเขยี น และอักษรขอ้ ความรวมกันภาพวาดอาจจะเป็น แผนภาพ(Diagram) ภาพสเก็ต(Sketch) หรือแผนสถิติ (Graph) หรืออาจเป็นคาท่ีใช้เป็นหัวเรื่อง (Title) คาอธิบายเพ่ิมเติมของแผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ และภาพโฆษณา อาจวาดเป็นการ์ตูนในรูปแบบหรือประเภทต่างๆภาพสเกต็ สัญลกั ษณ์ และภาพถา่ ย สามารถใชเ้ ป็นวสั ดุกราฟกิ เพ่อื สอื่ ความหมายในเร่อื งราวท่ีแสดงขอ้ เท็จจริงต่าง ๆได้องค์ประกอบของภำพ สาหรบั การถ่ายภาพให้ได้ภาพท่ีตรงตามความตอ้ งการ มคี ุณค่า มคี วามงามทางดา้ นศิลปะ นอกจาก จะทาความเข้าใจในเรือ่ งของการใชก้ ลอ้ งถ่ายภาพ และเคร่อื งมือท่มี ีคุณภาพแล้ว การจัดองคป์ ระกอบภาพ ก็เป็นส่ิงท่ีสาคญั ท่ีจะทาให้ภาพมีคณุ ค่าขนึ้ ดงั น้ันเราจึงมาศกึ ษาการจดั องคป์ ระกอบภาพ ซ่งึ ในบทนี้ จะกล่าวถงึ การจดั องค์ประกอบภาพอยู่ 10 ลักษณะ คอื
4 รูปทรง เป็นการจดั องค์ประกอบภาพที่ให้ความรูส้ กึ สง่างาม มนั่ คง เหมาะสาหรบั การถ่ายภาพ ทางสถาปัตยกรรม การถา่ ยภาพวตั ถุ หรือถ่ายภาพสิ่งต่างๆ เนน้ ให้เหน็ ความกว้าง ความสงู ความลกึ โดยให้เห็นทงั้ ดา้ นหนา้ และดา้ นขา้ ง และความลึก หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ใหเ้ ห็น Perspective หรอื ภาพ 3 มิติ รูปร่างลักษณะ มกี ารจัดองคป์ ระกอบภาพตรงข้ามกบั รูปทรง คอื เน้นให้เหน็ เป็นภาพ 2 มติ ิ คือ ความกว้างกับความยาว ไม่ใหเ้ หน็ รายละเอยี ดของภาพ หรอื ที่เรียกว่าภาพเงาดา ภาพลักษณะนี้ เป็นภาพทดี่ ูแปลกตา น่าสนใจ ลึกลับ ให้อารมณแ์ ละสร้างจินตนาการ ในการในการดภู าพไดด้ นี ยิ มถ่ายภาพในลักษณะ ยอ้ นแสง
5 ความสมดลุ ทเ่ี ทา่ กัน เป็นการจัดองคป์ ระกอบภาพเพ่ือใหภ้ าพดูน่งิ สงา่ งาม นา่ ศรัทธา คลา้ ยกับแบบเน้นดว้ ยรปู ทรง แต่จะแสดงออกถึงความสมดลุ น่ิง ปลอดภยัภาพลักษณะนีอ้ าจจะดูธรรมดา ไม่สะดดุ ตาเท่าใดนัก แต่กม็ ีเสนห่ แ์ ละความงามในตวั ความสมดลุ ท่ไี ม่เทา่ กัน การจดั ภาพแบบนี้ จะใหค้ วามรสู้ ึกทีส่ มดุลย์เช่นเดียวกบั แบบทแ่ี ลว้ แต่จะต่างกนั อยทู่ ่ี วตั ถทุ ้ังสองขา้ ง มขี นาดและรูปรา่ งทแี่ ตกต่างกัน แต่จะสมดุลได้ด้วยปัจจัยตา่ ง ๆ กนั เช่น สี รปู ทรง ท่าทาง ฉากหนา้ ฉากหลัง ฯลฯ ภาพดูนา่ สนในกวา่ แบบสมดุลท่ีเทา่ กนั แตค่ วามรสู้ กึ ท่มี ่นั คงจะ น้อยกวา่ แตแ่ ปลกตาดี ฉากหนา้ ส่วนใหญจ่ ะใช้ในการถา่ ยภาพทิวทัศน์ หรือภาพอ่ืน ๆ ใช้ฉากหนา้ เปน็ ตวั ช่วยใหเ้ กิดระยะ ใกล้ กลาง ไกล หรอื มมี ติ ิขึน้ ทาใหภ้ าพน่าสนใจอาจใช้ก่งิ ไม้วัตถุ หรือส่ิงต่าง ๆ ท่อี ยู่ใกลก้ ับกล้องเพือ่ ช่วยเน้นให้จุดสนใจทต่ี ้องการเนน้ มคี วามเดน่ ย่ิงขน้ึ และไม่ให้ภาพมชี อ่ งวา่ งเกนิ ไป
6 ฉากหลัง พืน้ หลงั ของภาพก็มคี วามสาคญั หากเลือกท่ีนา่ สนใจ กลมกลนื หรอื ช่วยใหส้ ่ิงทต่ี อ้ งการ เนน้ เด่นข้ึนมา ควรเลือกฉากหลังทก่ี ลมกลนื ไม่ทาใหจ้ ุดเดน่ ของภาพด้อยลง หรือมารบกวนทาให้ภาพน้นั ขาดความงามไป กฏสามสว่ น เป็นการจดั ภาพที่นยิ มมากทสี่ ุด ภาพดมู ีชีวติ ชีวา ไม่จืดชดื การจดั ภาพโดยใชเ้ สน้ ตรง 4 เส้นตดั กันในแนวตง้ั และแนวนอน จะเกดิ จดุ ตดั 4 จุด (ดงัภาพ) หรอื แบ่งเป็น 3 สว่ น ทง้ั แนวตงั้ และแนวนอน การวางจุดสนใจของภาพจะเลือกวางใกล้ ๆ หรือ ตรงจุด 4 จุดนี้ จดุ ใดจุด หน่งึ โดยหนั หน้าของวัตถุไปในทศิ ทางทม่ี พี ้นื ท่ีวา่ งมากกวา่ ทาใหภ้ าพดูเด่น ไม่อึดอดั ไมแ่ น่น หรือหลวมจนเกนิ ไป นกั ถ่ายภาพท้งั มอื อาชพี และมอื สมคั รเล่นนยิ มจัดภาพแบบน้ีมาก เสน้ นาสายตา เปน็ การจดั ภาพทใี่ ชเ้ ส้นท่ีเกิดจากวตั ถุ หรือส่ิง อ่นื ๆ ทมี่ ีรปู ร่างลกั ษณะใกลเ้ คยี งกัน เรียงตวั กันเปน็ ทศิ ทางไปสู่จุดสนใจ ชว่ ยใหว้ ัตถทุ ตี่ อ้ งการเนน้ มีความ เด่นชดั และนา่ สนใจยิง่ ขนึ้
7 เน้นดว้ ยกรอบภาพ แมว้ า่ ภาพถ่ายจะสามารถนามาประดบั ตกแต่งดว้ ยกรอบภาพอย่แู ลว้ แตก่ ารจัดใหฉ้ ากหน้าหรือสว่ นประกอบอื่นลอ้ มกรอบจดุ เด่น เพ่อื ลดพนื้ ท่ีวา่ ง หรอื ทาใหส้ ายตาพงุ่ สจู่ ดุ สนใจนั้น ทาให้ภาพกระชบั น่าสนใจ เนน้ รปู แบบซ้าซ้อนหรือแบบ Pattren เปน็ การจดั ภาพทีม่ รี ปู ร่าง ลักษณะ ทคี่ ลา้ ย ๆ กันวางเป็นกลมุ่ ทาใหภ้ าพดสู นกุ สดชื่น และมเี สนห่ แ์ ปลกตาที่ไดก้ ลา่ วมาทง้ั 10 ลกั ษณะ เปน็ เพยี งการจดั องคป์ ระกอบภาพทีเ่ ปน็ ทนี่ ิยมกัน และเปน็ พื้นฐาน ในการฝึกปฏบิ ัตกิ ารถา่ ยภาพเทา่ น้ัน ผถู้ ่ายภาพ ควรฝกึ การจดั องคป์ ระกอบภาพในลักษณะ ท่ีแปลกใหม่ อยเู่ สมอ ซึ่งเชอ่ื แน่วา่ คณุ ต้องประสบความสาเรจ็ อยา่ งแน่นอน
8
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: