Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงาน15E book.pdf-1

ใบงาน15E book.pdf-1

Published by Quintesza, 2022-09-07 05:21:14

Description: ใบงาน15E book.pdf-1

Search

Read the Text Version

วชิ าระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอรเบ้อื งตน เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ บอื้ งตน 1. Enhanced mobile broadband (eMBB): เพม่ิ ศกั ยภาพการรับ-สง ขอมูล (สงู สดุ 10 Gbps) นาํ ไปใชในการ ใหบริการบรอดแบนดไ รส าย การใหบ รกิ าร Real-time เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอรเบื้องตน 2. Ultra-reliable low latency communication (uRLLC): การ ใช้งานท่ีต้องการความสามารถในการสง่ ข้อมลู ท่ีมีความเสถียรมาก รวมทงั ้ มีความหน่วง (latency) ในการส่งข้อมลู ตํ่าในระดบั 1 มิลลิวนิ าที (ระบบ 4G ในปัจจบุ นั รองรับ ความหนว่ งเวลาในระดบั 10 มิลลวิ นิ าที) ซงึ่ ความสามารถนีท้ ําให้ระบบ 5G เหมาะกบั การ ใช้งานระบบที่ต้องการความแม่นยําสงู เชน่ การผา่ ตดั ทางไกล การควบคมุ เคร่ืองจกั รในโรงงาน การควบคมุ รถยนต์ไร้คนขบั ยานยนต์อตั โนมตั ิ เป็นต้น เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรกั ษาความปลอดภยั คอมพิวเตอรเ บอื้ งตน 3.Massive-Machine Type communications (mMTC): การใช งานท่มี กี ารเช่ือมตอ ของอปุ กรณจาํ นวนมากในพน้ื ทเ่ี ดยี วกนั โดยมี ปรมิ าณมากถึงระดับลา นอุปกรณต อ ตารางกิโลเมตร โดยการสง ขอมลู ของอปุ กรณใ นการใชง านลกั ษณะนี้ จะเปนการสง ขอมูล ปรมิ าณนอ ย ๆ ที่ไมต อ งการความเรว็ สูง ซ่งึ ความสามารถนี้ทาํ ให ระบบ 5G เหมาะสมกบั การทาํ งานของอุปกรณจาํ พวก IoT เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรกั ษาความปลอดภยั คอมพิวเตอรเ บ้ืองตน นาโนเทคโนโลยี คืออะไร นาโนเทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยขี องวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ที่เอาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการออกแบบ เพ่ือประดิษฐว์ สั ดุหรือผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆ การสงั เคราะห์วสั ดุท่ีมีขอ้ ดอ้ ยลดลง การตรวจวิเคราะห์และ วนิ ิจฉยั ท่ีมีความละเอียดแม่นยาํ ยง่ิ ข้ึนสาํ หรับวสั ดุหรือส่ิงของที่เลก็ มากอยใู่ นระดบั นาโนเมตร ซ่ึง นาโนเทคโนโลยจี ะใหค้ วามสาํ คญั แก่กระบวนการเตรียมหรือการใชเ้ ทคโนโลยใี นช่วงแรก โดย เริ่มจากการควบคุมแต่ละโมเลกุล หรือ อะตอม ที่ส่งผลต่อการประกอบหรือการรวมตวั กนั ทาํ ให้ เกิดเป็นสารที่มีขนาดใหญ่ ทาํ ใหน้ าโนเทคโนโลยมี ีความพิเศษ คือ มีความเฉพาะเจาะจง สามารถ ควบคุมการทาํ งานของสารท่ีสร้างข้ึนไดท้ ้งั ในดา้ นเคมีและฟิ สิกส์อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยหน่วยนาโนเมตร (nanometer) ท่ีใชส้ ญั ลกั ษณ์ตวั ยอ่ nm เป็นหน่วยของระบบ SI ซ่ึงท่ี คุน้ เคยกนั ดีคือ ระดบั เซนติเมตรและเมตร ซ่ึง 1 นาโนเมตร คือความยาว 1 ในสิบลา้ นของ เซนติเมตร (10-7 cm) หรือ ในพนั ลา้ นของเมตร (10-9 m) เม่ือเปรียบเทียบกบั ส่วนประกอบในร่างกายที่มีขนาดเลก็ เช่น โมเลกลุ ของดีเอน็ เอ มีความกวา้ ง 2.5 นาโนเมตร ซ่ึง ขนาด 1 นาโนเมตร คือ ขนาดของอะตอมที่มีความเลก็ กวา่ เส้นผา่ ศูนยก์ ลางของเส้นผมมนุษยถ์ ึง แปดหม่ืนเท่า โดยสิ่งที่มีขนาดในช่วง 1-100nmจดั วา่ เป็นนาโนเทคโนโลยเี กือบท้งั สิ้น เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ บอ้ื งตน 1. เครื่องนอนตา้ นแบคทีเรีย ดว้ ยเทคโนโลยกี นั น้าํ และตา้ นแบคทีเรีย คุณจะนอนหลบั สบายโดยไมต่ อ้ งกงั วลเก่ียวกบั เช้ือแบคทีเรียท่ี เกิดจากคราบน้าํ ลายยามฝันหวาน หรือเจา้ ตวั ไรฝ่ นุ หนา้ ตาน่าเกลียดน่ากลวั อีกต่อไป ที่นอน 6 ฟุตธรรมดาราคา 5,500 บาท VS ท่ีนอนนาโนราคาประมาณ 7,700 บาท เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอรเ บื้องตน 2. เสื้อผา ตา นแบคทเี รีย หากกล่นิ อบั บนผาทาํ ใหไ มมั่นใจวา คนขางๆ จะไดกลน่ิ ตุๆ หรอื ไม โยนของเดิมทิ้งไปซะ!! แลวมาปลอดโปรงโลง จมูกกบั เสอ้ื นาโน ปอ งกนั แบคทีเรียทจี่ ะชวยเรียกความม่ันใจกลบั คนื มากนั ดีกวา เสือ้ ธรรมดาราคาประมาณ 250 บาท VS เสอ้ื นาโนราคา ประมาณ 550 บาท เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอรเบ้ืองตน 3. เครื่องซกั ผา ตา นแบคทีเรยี ซกั ผา ตามปกติ งายและงาย แตแบคทีเรยี ตายเรยี บ!! เครอ่ื งซกั ผาธรรมดาราคาประมาณ 13,000 บาท VS เครื่องซกั ผา นาโนราคาประมาณ 18,000 บาท เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรกั ษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ บื้องตน Bluetooth เปนเทคโนโลยกี ารตดิ ตอ ส่ือสาร ที่สามารถใชใ น การรบั สง ขอ มลู ระยะใกล จากอปุ กรณดจิ ิตอลหนงึ่ ไปยงั ตวั อนื่ . Bluetooth โดยพนื้ ฐานแลว เปน การเช่อื มตอ แบบไรสายหนึ่ง ตอหนึ่ง ทใี่ ชความถคี่ ลื่นวิทยุยา น 2.4 GHz เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรกั ษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอรเบอื้ งตน เทคโนโลยไี ร้สาย BLUETOOTH เป็นเทคโนโลยไี ร้สายระยะส้นั ที่สนบั สนุนการ ส่ือสารขอ้ มูลแบบไร้สายระหวา่ งอุปกรณ์ดิจิตอล อยา่ งเช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์และกลอ้ ง ถ่ายภาพดิจิตอล เทคโนโลยไี ร้สาย BLUETOOTH สามารถใชง้ านไดภ้ ายในช่วงระยะ 10 เมตร การเชื่อมต่ออุปกรณ์สองชิ้นเขา้ ดว้ ยกนั เป็นรูปแบบการใชง้ านตามปกติ แต่อุปกรณ์บางชนิด สามารถเชื่อมต่อกบั อุปกรณ์อื่นมากกวา่ สองชิ้นไดใ้ นเวลาเดียวกนั ท่านไม่จาํ เป็นตอ้ งใชส้ ายเคเบิ้ลเพอ่ื ทาํ การเชื่อมต่อ และไม่จาํ เป็นตอ้ งวางอุปกรณ์ใกลก้ นั และ หนั เขา้ หากนั เหมือนการใชเ้ ทคโนโลยอี ินฟราเรด ตวั อยา่ งเช่น ท่านสามารถใชง้ านอุปกรณ์ได้ จากกระเป๋ าถือหรือกระเป๋ าเส้ือ/กางเกง มาตรฐาน BLUETOOTH เป็นมาตรฐานสากลท่ีไดร้ ับการสนบั สนุนจากหลายพนั บริษทั ทว่ั โลก และมีบริษทั จาํ นวนมากนาํ ไปใชง้ านจนแพร่หลายทวั่ โลก ระยะสูงสุดทสี่ ามารถใช้ส่ือสารข้อมูล ระยะสูงสุดท่ีสามารถใชส้ ื่อสารขอ้ มูลอาจส้ันลงไดใ้ นกรณีต่อไปน้ี  มีสิ่งกีดขวางอยา่ งเช่น คน, โลหะ หรือกาํ แพง อยรู่ ะหวา่ งอุปกรณ์ท่ีใชก้ บั อุปกรณ์ BLUETOOTH  มีอุปกรณ์ LAN ไร้สายใชง้ านอยใู่ นบริเวณใกลก้ บั อุปกรณ์ของท่าน  มีไมโครเวฟใชง้ านอยใู่ นบริเวณใกลก้ บั อุปกรณ์ของท่าน  มีอุปกรณ์ที่สร้างรังสีคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าใชง้ านอยใู่ นบริเวณใกลก้ บั อุปกรณ์ของท่าน เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอรเบือ้ งตน การรบกวนจากอปุ กรณอ น่ื เนอื่ งจากอุปกรณ BLUETOOTH และระบบ LAN ไรส าย (IEEE802.11b/g) ใชง านความถเ่ี ดียวกัน อาจทําใหเ กดิ การ รบกวนกนั ของคลนื่ ไมโครเวฟได สง ผลใหค วามเรว็ การสอื่ สาร ขอ มูลลดลง, เกดิ สัญญาณรบกวน หรือไมส ามารถทาํ การ เชอื่ มตอได หากใชง านอปุ กรณของทา นใกลกบั อปุ กรณ LAN ไรสาย หากเกดิ กรณดี งั กลาว ใหด าํ เนินการดงั น้ี ใชง านอปุ กรณท่ีระยะหางอยา งนอ ย 10 เมตรจากอปุ กรณ LAN ไรส าย หากใชง านอุปกรณภ ายในระยะ 10 เมตรจากอปุ กรณ LAN ไร สาย ใหปดอุปกรณ LAN ไรส าย เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรกั ษาความปลอดภยั คอมพิวเตอรเบ้ืองตน เทคโนโลยี IPv6 เกอื บจะทกุ คนทเ่ี คยใชง านอินเทอรเ น็ต นาจะคนุ หกู บั คาํ วา IP Address กันมาบา งแลว แลวเคยทราบกนั บางไหม วา IP Address ทพ่ี ดู ถงึ กันเปนประจาํ คอื อะไร IP Address ยอ มา จาก Internet Protocol Address เปรียบเสมอื นบานเลขที่ ของเจา ตัวคอมพิวเตอรท ีอ่ อนไลนอยบู นเครอื ขา ย เพอื่ ทีแ่ ตล ะ คนทีใ่ ชง าน สามารถแยกแยะไดว า จะติดตอ กบั ใคร เหมอื นกบั บานเลขทส่ี าํ หรับใชสงจดหมายน่ันเอง เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรักษาความปลอดภยั คอมพิวเตอรเ บอ้ื งตน ปจจุบัน IP Address Version 4 ซึง่ เปน มาตรฐานปจจุบนั ทเี่ รากําลังใชอยู นน้ั เหลือจาํ นวนนอ ยลงทกุ ที เน่อื งจากอตั ราการเตบิ โตของผูใชงาน อินเทอรเนต็ เพม่ิ ขึ้นอยา งรวดเร็วนนั่ เอง และปจ จยั สําคญั อีกประการคือ แนวโนม ของการพฒั นาอปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกสใ นอนาคต เชน โทรศพั ท มอื ถือ PDA เครอื่ งเลนเกมส ตเู ย็น โทรทัศน ไมโครเวฟ ระบบกลองวงจร ปด ฯลฯ จะมคี วามสามารถ ในการส่ือสารและเชอื่ มตอเขา กบั อินเทอรเนต็ ไดเ หมือนกบั คอมพิวเตอร ทําใหอ ุปกรณเหลา น้ีตา งกต็ อ งการ มี IP Address เปนของตนเอง ทําใหผ เู ชย่ี วชาญตองรว มมือกันพัฒนา มาตรฐาน IPv6 ข้นึ มารองรับความตองการในจดุ นัน้ บางทานอาจจะมี คาํ ถามวา ทําไมถงึ กลายเปน Version 6 แลว Version 5 หายไปไหน คําตอบก็คอื Version 5 ไดถูกใชงานไปเรยี บรอยแลวในขณะน้ี เนอื่ งจาก ในการทํางานของ IPv4 นน้ั จะมีเจา IPv5 เปน ตัวแบคอัพนั่นเอง เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรกั ษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ บื้องตน การทาํ งานของ IPv4 (ถกู คดิ คนมาเกือบ 20 ปแลว ) มที ่มี าจากเลขฐานสอง คอื เลข 0 กับ 1 เทานัน้ แตการส่อื สารกนั ดวยเลขสองตัวนอ้ี าจสรา งความสบั สน ใหกบั ผทู ่สี ือ่ สารได จึงมกี ารแบง เจา เลขฐานสองออกเปนชวง 4 ชว ง แลว คัน่ ดว ย “.” จากนัน้ กแ็ ปลงเปนเลขฐานสิบ (เลข 0 ถงึ 9) ที่เราคุนเคยกนั จึงมหี นาตา แบบที่เราเห็นกนั ในปจจบุ ัน ตัวอยา งเชน 193.10.10.154 ซง่ึ เจาตัวเลข 32 บติ ท่ี ถกู สรางขึ้นมานั้น สามารถสราง Address ทแี่ ตกตางกนั ไดทัง้ หมดถึง 4.2 หมืน่ ลาน Address แตป จ จุบันเราใชง านเจาเลขพวกนี้กนั อยา งเตม็ ทจ่ี นไมส ามารถท่ี จะขยายออกไปไดอีกแลว IPv6 จงึ ถกู คดิ คนขนึ้ มาเพ่ือแกไ ขปญ หาจาํ นวน IP Address ทีก่ ําลังจะหมดไป และเพมิ่ ขีดความสามารถ บางอยา งใหด ีข้นึ กวาเดิม เชน ความสามารถในดา น Routing และ Network Autoconfiguration ซง่ึ การเปลย่ี นแปลงมาเปน IPv6 ตองเปน การเปล่ียนแปลงอยา งชา ๆ คอ ยเปนคอยไป ใหทงั้ สองเวอรช่นั สามารถ ทาํ งานรวมกนั ได เพอ่ื ทจี่ ะไดไมเ กิดผลกระทบตอ ผบู รโิ ภคทใ่ี ชงาน เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรกั ษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอรเ บื้องตน Wi-Fi คอื อะไร? Wi-Fi ยอ มาจาก Wireless fidelity หมายถึง ชุดผลติ ภณั ฑตางๆทสี่ ามารถใชไ ด กบั มาตรฐานเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรแบบไรส าย (WLAN) ซ่ึงอยูบนมาตรฐาน IEEE 802.11 เดมิ ที Wi-Fi ออกแบบมาใชสาํ หรบั อุปกรณพกพาตา งๆและใชเครือขา ย LAN เทาน้นั แตป จจุบันนิยมใช Wi-Fi เพือ่ ตดิ ตอกบั อินเทอรเ น็ต โดยอปุ กรณพ กพา ตางๆ สามารถเชื่อมตอ กบั อนิ เทอรเนต็ ได ผานอปุ กรณท่เี รยี กวา Access point และบริเวณทร่ี ะยะทาํ การของ Access point ครอบคลมุ เรียกวา ฮอสสปอต (Hotspot) เทคโนโลยี WIFI

วชิ าระบบรกั ษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเ บ้ืองตน Wireless คอื อะไร? Wireless หมายถงึ ลักษณะของการใชง านอปุ กรณส ื่อสารโทรคมนาคม แปลตรง ตวั วา ไรส าย ดงั นนั้ อุปกรณอะไรก็ตาม ทต่ี ิดตอ สอ่ื สารกันโดยไมใชส ายสัญญาณ ถือวาอปุ กรณน ้ันเปน Wireless เหมือนกัน เพราะฉะน้ันจะเรยี ก Wireless หรือ Wi-Fi กห็ มายถงึ สิ่งเดยี วกัน เทคโนโลยี WIFI

วิชาระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอรเ บ้ืองตน Wi-Fi หรอื Wireless คอื เครือขา ยไรส าย (Wireless LAN : WLAN) เปน เทคโนโลยีทชี่ ว ยในการติดตอ สอ่ื สารระหวา งเครื่องคอมพวิ เตอร หรอื เชอ่ื มตอ ระหวา งเครอ่ื งคอมพวิ เตอรก ับอปุ กรณอ ่นื ๆ ทสี่ ามารถเช่อื มตอ เครอื ขา ยได เชน สมารท โฟน แทบ็ เล็ต ดจิ ิทัลทวี ี ใหสามารถสอื่ สารกันไดผาน Access point โดยการติดตอ ส่อื สารนจี้ ะเปน การเช่อื มตอโดยปราศจากการใชส ายสญั ญาณ แต จะใชค ล่ืนวทิ ยเุ ปนชอ งทางการสอื่ สารแทน การรับสง ขอ มลู ระหวา งกนั จะผา น อากาศ ทาํ ใหไมตองเดินสายสญั ญาณและติดตัง้ ใชง านไดส ะดวกข้ึน ซ่ึงแตกตา ง จากระบบ LAN ทีจ่ ะตอ งใชสาย LAN เปนตวั เชือ่ มตอ คอมพวิ เตอรเ ขา กบั เครอื ขา ยนั่นเอง และ ปจ จบุ นั นิยมใช Wi-Fi เพอื่ เชื่อมตอกบั อินเทอรเนต็ เทคโนโลยี WIFI


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook