เรยี บเรียงโดย ROOF สุกัญญา คงเมือง หลังคา ทีม่ า : https://www.onestockhome.com/
ประเภทของหลงั คา
การเลือกใช้หลงั คา ทีม่ า : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
หลงั คาทรงจั่ว หลังคาทรงจ่ัว เป็นหลังคามาตรฐานของบ้านใน เมืองไทยท่ีพบเห็นกันได้มากท่ีสุด แม้จะเป็น รูปแบบหลังคาที่ง่าย ด้วยความลาดชัน จึง ระบายน้าฝนได้รวดเร็ว ไม่ค้างอยู่บนหลังคา ชายคายืน่ ยาวออกจากตัวบ้านป้องกันละอองฝน ไดด้ ี ปัจจุบันน้ามาประยุกต์ท้าเป็นหลังคาจั่วสอง ชนั เพ่มิ การระบายอากาศได้ดียิ่งขนึ *** ก่อนลงมอื สรา้ งตอ้ งสา้ รวจทิศทางลมและฝน ก่อน เพื่อออกแบบผืนหลังคาให้หันรับแนวฝน และหันด้านจ่ัวให้รับกับแรงลมเพ่ือการระบาย ความร้อนใตห้ ลงั คาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ที่มา : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
หลงั คาทรงป้ันหยา หลังคาทรงปั้นหยา ด้วยรูปทรงที่ดูเรียบหรู ดูดี ท้าให้เป็นหลังคาที่นิยมใช้ในหมู่บ้านจัดสรร รีสอร์ทท่ัวไปจ้านวนมาก จุดเด่นคือความสมดุล ของหลังคาทัง 4 ด้าน สามารถป้องกันแดด ป้องกันฝนได้ทุกด้าน ทนต่อการปะทะจาก แรงลมได้ดี เป็นหลังคาท่ีมีปัญหาร่ัวซึมน้อยกว่า รปู ทรงอ่นื ๆ เหมาะส้าหรับบ้านที่มีสภาพอากาศ รุนแรงของฝน ลมพายุ อย่างชายฝั่งทะเล ข้อด้อย คือหลังคาเป็นทรงปิดไม่มีหน้าจ่ัวช่วย ระบายความร้อน จึงต้องปรับประยุกต์เลือกติด ฝ้าชายคาท่มี รี ่องระบายอากาศใตห้ ลงั คา ที่มา : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
หลังคาทรงมะนิลา เป็นหลังคาท่ีใช้งานได้ดีในสภาพอากาศ เมืองไทย นยิ มใช้กันมากในกลุ่มบ้านสร้าง เองทุก ๆ ภูมิภาค คุณสมบัติเด่นของ หลังคาทรงนีคือ แข็งแรง ปะทะแรงลมได้ ดี กันแดดและฝนให้บ้านได้รอบด้าน ระบายน้าออกไปได้อย่างรวดเร็วในวันท่ี ฝนตกชุก ระบายความร้อนออกทางช่อง ลมได้ง่ายในวันท่ีแดดร้อน พบเห็นหลังคา แบบนีได้มากในเรืองทรงไทยล้านนา และ เรือนไทยประยุกต์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของ ประเทศ ที่มา : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
หลงั คาทรงหมาแหงน รูปทรงของหลัวคาดูเรียบ โฉบเฉี่ยว ท้าให้ดูเท่ ทันสมัย จึงกลายเป็นหลังคาท่ีได้รับความนิยม สูงในยุคปัจจุบัน แต่ด้วยความลาดเอียงของหลังคาประเภทนีมีไม่มาก ทรงผลให้การระบาย น้าฝนท้าได้ไม่ดีพอ เกิดการร่ัวซึม เจ้าของบ้านจึงนิยมใช้วัสดุเมทัลชีทมาท้า ซ่ึงเป็นโลหะน้า ความร้อน ส่งผลให้บ้านร้อนมากกว่าทรงหลังคาทั่วไป จึงควรออกแบบให้โถงหลังคาด้านสูง อย่างน้อย 1 เมตร เพ่ือสามารถติดตังฉนวนกันความร้อนได้สะดวก และถ่ายเทความร้อนได้ดี ขึน ทม่ี า : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
หลงั คาทรงแบน ไดร้ ับความนิยมสูงในโซนยโุ รป ให้ความรู้สึกโมเดิร์น หรู ดูแพง แต่หากน้ามาใช้ในประเทศไทย จ้าเป็นต้องปรับให้เหมาะสมเน่ืองจากสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันมาก จึงเหมาะกับบ้านทรง สูงมากกว่าบ้านชันเดียว ด้วยหลังคาแบบราบเสมอกันจึงท้าให้รับแสงแดดได้เต็ม ๆ ในช่วง กลางวัน และฝนสาดโดนตัวบ้าน เกิดการร่ัวซึมได้ในช่วงฤดูฝน หรือเวลาท่ีฝนตกหนัก ๆ สถาปนกิ และ วศิ วกรควรออกแบบอย่างรอบคอบ เพ่อื ป้องกันปัญหาทีจ่ ะเกดิ ขนึ ภายหลัง ท่มี า : https://www.banidea.com/roof-in-thailand/
สว่ นประกอบของโครงหลังคา ทีม่ า : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลงั คา 1. ระแนง หรือ แป ระแนง Batten เป็นไม้ส่ีเหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ขนาดหน้าตัดประมาณ 1x1 นิว หรือ 1 ½ x 1 ½ นิว วางห่างกันตามขนาดของกระเบืองแต่ ละชนิดท่ีใช้ ใช้รองรับกระเบืองหลังคาขนาดเล็กในสมัยเก่า เช่น กระเบืองหลังคาบ้านทรงไทย กระเบืองหลังคาวัดหรือโบสถ์ ใน ปัจจุบัน ได้มีการน้าระแนงมารองรับกระเบืองเอสซีจี ไม่ว่าจะเป็น ซี แพคโมเนีย เพรสทีจ นิวสไตล์ ไอยร่า เอ็กซ์เซลล่า เพราะความ สวยงามของกระเบอื งเหลา่ นี แตเ่ พราะ กระเบอื งเหล่านี มีน้าหนักมาก ระแนงในปัจจุบันจึงเปลี่ยนไปใช้ เหล็กกล่อง ขนาด 25x25x1.6 มม. หรือ 50x50x1.6 มม. หรือแล้วแต่ความทนทานท่ีต้องการ วางห่างกัน ตามมาตรฐานท่ีกระเบืองแต่ละประเภทก้าหนดไว้ เพ่ือให้มีความ แข็งแรง แบกรับน้าหนักกระเบืองได้ดี ไม่ยืดหด คดโค้ง บิดเบียว เหมือนกับระแนงไม้ ท้าให้ไดแ้ นวกระเบืองหลงั คาทต่ี รง และดูสวยงาม ท่ีมา : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลังคา สาหรับแป Purlin มีให้เลือกใช้เป็นประเภทไม้ ซึ่งมักจะใช้ไม้ ยาง มีขนาดหน้าตัดทั่วไปคือ 1 ½ x 3 นิว และ 2 x 4 นิว ใช้ รองรับกระเบืองแผ่นใหญ่ ที่มีน้าหนักไม่มาก เช่น กระเบือง ลอนคู่ กระเบืองลูกฟูก ระยะหา่ งโดยท่ัวไปจะประมาณ 1 เมตร (ส้าหรับกระเบืองท่ียาว 1.2 ม.) หรือระยะห่าง 1.3 ม. (ส้าหรับ กระเบืองท่ียาว 1.5 ม.) ถ้าเป็นเมทัลชีท หรือสังกะสีท่ีมีน้าหนัก เบามาก ปัจจุบันนิยมใช้แปเหล็กตัวซีบาง หรือเหล็กกล่อง ขนาดท่ัวไปคือ C 75x40x15x2.3 มม.หรือ C 100x50x20x3.2 มม. นอกจากนี ยังได้มีการพัฒนาระบบแปท่ีเป็นเหล็กเคลือบ กลั วาไนซ์ ท้าให้โครงสร้างไม่เป็นสนิม ไม่ต้องทาสีซ้า ซึ่งมีหลาย ขนาดให้เลือกสรรตามประเภทของกระเบือง และการรับ นา้ หนักท่ีตอ้ งการ ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลังคา ระยะแปของกระเบอื งแตล่ ะประเภทสามารถจา้ แนกได้ดังนี ท่ีมา : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลงั คา 2. จันทนั จันทนั Rafter เปน็ สว่ นโครงสร้างทรี่ ับนา้ หนกั หลังคาจากแป ผู้ออกแบบควรจะพิจารณาหน้าตดั ของจันทัน จากพนื ท่ีรบั หลังคา และนา้ หนกั ของกระเบอื งแตล่ ะชนิดทจี่ ะน้ามาใช้ จันทันจะวางพาดระหวา่ งอเสเพอื่ ถ่าย น้าหนกั ที่จันทันรับใหอ้ เส โดยทวั่ ไปหนา้ ตัดทใ่ี ชไ้ ดแ้ ก่ 1 1/2\" x 6\", 2\"x6\", 1 1/2\"x8\", 2\"x 8\"เป็นตน้ โดย ยดึ กับอะเสด้วยตะปูตอกเฉยี งหรอื เหลก็ ฉากความยาวของจันทนั ตอ้ งวัดตามแนวลาดเอยี งของหลังคา คอื วัด จากรปู ตดั ตามขวาง เนือ่ งจากหลงั คาย่งิ ลาดเอียงมากเทา่ ใด ความยาวของจนั ทันจะเพ่ิมมากขนึ จากแนวราบ เทา่ นัน นอกจากจนั ทนั จะรับกระเบืองจากแปแลว้ ยงั รบั น้าหนักฝ้าเพดานรว่ มกบั อเส หรอื ข่อื (ถา้ มอี ีกดว้ ย) โดยจะยดึ โครงค่าวฝา้ กับจนั ทัน เพอื่ ปอ้ งกันฝา้ เพดานตกท้องชา้ ง ท่มี า : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลังคา โดยทั่วไปจนั ทันจะเปน็ ไม้เนอื แข็งมี ขนาดหน้าตัดประมาณ 1 ½ x 5 นวิ และ 2 x 6 นวิ หรอื อาจใชเ้ ปน็ เหลก็ ตัวซีหรอื เหลก็ กล่องขนาด C125x50x20x3.2 มม.หรอื C 150x50x20x3. 2มม. วางห่างกัน ประมาณ 60-80 ซม. (ถา้ ใชร้ องรับ ระแนง) และวางหา่ งกนั ประมาณ 1-1.2 ม. (ถา้ ใช้รองรับแป) กไ็ ด้ นอกจากนีอาจจะแบ่งตามการเรียกออกเป็น จันทันพราง และจันทัน เอก มีความแตกต่างกันตรงท่ีจันทันเอกนัน จะเป็นตัวที่อยู่ ณ ต้าแหน่งหวั เสา ส่วนจันทันพรางจะเป็นแต่ละตัวท่ีอยู่ระหว่างช่วงเสา ถึงเสา หน้าทีข่ องจนั ทันจะเป็นตวั แบกรบั น้าหนกั จากระแนงหรือแป ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลงั คา 3. ตะเข้สนั หรอื ตะเข้ราง ตะเขส้ ัน Hip Rafter หรือ ตะเข้ราง Valley Rafter ตะเขส้ ันหรือตะเข้รางเปรียบเสมือนเป็นจันทันเอกท่ีวาง อยู่ทังสี่มุมของหลังคาทรงปั้นหยา ตะเข้สันหรือตะเข้รางจะต้องมีขนาดหน้าตัดความสูงเท่ากับจนั ทัน เพราะ จันทันทุกตัวจะว่ิงมาเกาะกับตะเข้สัน หรือ ตะเข้ราง โดยระดับหลังของจันทันและตะเข้จะต้องเท่ากัน เพื่อให้แปหรือระแนง สามารถวางได้ในระดับเดียวกันโดยรอบทังส่ีด้านของหลังคา และเน่ืองจากตะเข้สัน หรือ ตะเข้รางต้องแบกรับน้าหนักจากจันทันหลายตัว แต่ไม่สามารถขยายหน้าตัดให้ใหญ่ขึนได้ เพราะต้อง รักษาระดับหลงั ตะเขก้ ับจันทนั ให้เท่ากนั จึงมักพบวา่ ตะเข้สันหรือตะเข้รางนันมักจะเป็นสองตัวคู่ เพ่ือให้การ แบกรับน้าหนักท้าได้ดี เช่น 2 - 1 1/2 x 5 นิว และ 2-2 x 6 นิว หรืออาจใช้เป็นเหล็กตัวซีหรือเหล็กกล่อง ขนาด 2C-125x50x20x3.2มม. หรือ 2C-150x50x20x3.2มม. เป็นต้น หรืออาจใช้วิธีเสริมค้ายันใต้ตะเข้สัน ตะเข้รางเพิ่มเตมิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความแข็งแรงและชว่ ยลดการแอน่ ตัวกไ็ ด้ ท่ีมา : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลงั คา 3. ตะเข้สนั หรือ ตะเข้ราง ท่มี า : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลงั คา 4. อกไก่ อกไก่ Ridge อกไก่ก็เปรียบเสมอื นคานอยบู่ รเิ วณสว่ นกลางของหลงั คาทรงจ่วั หรอื ทรงปัน้ หยา ท้าหน้าท่แี บก รบั นา้ หนักจากจนั ทนั ทกุ ตัวทงั สองด้าน ท้าให้ตอ้ งแบกรับน้าหนักมากเป็นพเิ ศษ โดยทวั่ ไปจะเป็นไมเ้ นือแขง็ ขนาด 2 - 2x6 นิว และ 2x8 นวิ หรอื อาจใชเ้ ป็นเหล็กตวั ซีหรอื เหล็กกล่อง เชน่ C 150x50x20x3.2มม. และ 2C 150x50x20x3.2 มม. กไ็ ด้ อกไก่ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลังคา 5. ด้ัง ดัง King Post โดยปกติอกไก่จะวางอยู่บนเสาของอาคาร แต่ถ้าต้าแหน่งของอกไก่วางไม่ตรงกับเสาของ อาคาร ก้ต้องมีเสาเสริมขึนมารองรบั ที่เรยี กว่า ดัง เพ่ือคอยท้าหน้าท่ีรองรับอกไก่ทดแทนเสาจริงของอาคาร โดยทั่วไป จะเป็นไม้เนือแข็งส่ีเหล่ียมจัตุรัสขนาด 4x4นิว และ 6x6นิว หรืออาจใช้เป็นเหล็กตัวซี หรือเหล็ก กล่อง เช่น 2C 100x50x20x3.2 มม. และ 2C 125x50x20x3.2มม. วางประกบเข้ากันเป็นรปู เสากไ็ ด้ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลงั คา 6. ข่ือ ขื่อ Tie Beam หรือเรียกว่า สะพานรับดัง สืบเนื่องจากอกไก่ไม่ได้วางอยู่ต้าแหน่งที่มีเสามารองรับ จึงต้อง อาศัยดังเข้ามาแบกรับแทน และท้าการถ่ายน้าหนักต่อไปยังคาน ท่ีเข้ามาแบกรบั ดังอีกท่ีหน่ึง คานท่ีแบกรับ ดังนี เรียกว่า ข่ือ ซ่ึงขื่อก็จะท้าหน้าที่ถ่ายน้าหนักลงสู่เสาอาคารต่อไป ขนาดของขื่อโดยท่ัวไปจะเป็นไม้เนือ แข็งขนาด 2 - 2x6 นวิ และ 2 - 2x8 นิว หรืออาจใช้เปน็ เหลก็ ตัวซหี รอื เหล็กกลอ่ ง เชน่ 2C 125x50x20x3.2 มม. และ 2C 150x50x20x3.2 มม. ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลังคา 7. อเส อเส Stud Beam อเสก็คือคานชันบนสุดของอาคาร ท้าหน้าท่ียึดปลายเสาตอนบนเพ่อื ให้โครงสร้างแข็งแรง ขึน และถ่ายน้าหนักโครงหลังคาสู่เสา ท้าหน้าที่เปรียบเสมือนคานรัดรอบตัวอาคาร และเป็นคานแบกรับ นา้ หนกั จากจันทันแต่ละตัวด้วย ขนาดของอเสโดยท่ัวไปค้านวณตามความยาวของเสา และพืนท่ีหลังคาที่รับ น้าหนัก อเสมักจะใช้ไม้เนือแข็งขนาด 2 x 6 และ 2 x 8 นิว หรืออาจใช้เป็นเหล็กตัวซี หรือเหล็กกล่อง เช่น C 125x50x20x3.2 มม. และ C 150x50x20x3.2 มม. ท่มี า : https://www.onestockhome.com/
ส่วนประกอบของโครงหลังคา 8. เชิงชายหรอื ทับเชงิ ชาย หรือทบั ปน้ั ลม หรอื ปดิ กนั นก และปัน้ ลม เชงิ ชาย ปัน้ ลม Eaves ไมเ้ ชงิ ชายเป็นไม้ทีใ่ ช้ปิดปลายชายคาของจนั ทนั ทกุ ตัวโดยเปน็ ตัวปรบั แนวชายคายดึ หัวจนั ทนั ให้เปน็ แนวตรง สวยงาม และป้องกันการผุเปื่อยของไม้ที่ปลายจนั ทันอนั เน่ืองมาจากถูกแดดหรอื ฝน ซ่งึ แดดหรือฝนนี จะท้าใหโ้ ครงสรา้ งผไุ ด้ง่าย ทับเชิงชายหรอื ทบั ปน้ั ลม หรือท่เี รียกวา่ แผน่ ปดิ กันนก เปน็ ไม้ทต่ี ีทบั ลงไปบนไม้เชงิ ชายหรอื ปน้ั ลมอกี ครงั หนึ่ง ซ่งึ จะมกี ารเลอ่ื ยไมใ้ หม้ สี ว่ นโค้งไปมาสอดคลอ้ งกับลอนของกระเบืองหลงั คาแต่ละชนิด ถือว่าเปน็ ชอ่ งปดิ ระหว่างจันทันกับหลงั คา เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ ห้ นก หนู หรือแมลงใดๆ เข้าไปท้ารงั ใต้หลังคาได้ สว่ น ปน้ั ลมนันจะเปน็ ไมท้ ตี่ ีทับลงไปบนด้านข้างของจันทันตวั นอกสุดของหลงั คาทีเ่ ปน็ ทรงจว่ั เพื่อปอ้ งกันไม่ให้ จันทันถูกทา้ ลายจากฝนหรอื แดด โดยทัว่ ไปขนาดของเชิงชายและป้ันลมคตอื 3/4 x 6 นวิ และ 3/4 x 8 นิว และขนาดของทบั เชงิ ชายหรอื ทบั ป้ันลมหรอื ปิดกนั นกคอื 3/8 x 4 นิว และ 1/2 x 6 นิว ความยาวของไม้เชงิ ชาย ควรพยายามเลอื กใชไ้ มย้ าวท่ีสุด เน่ืองจากเมือ่ มองด้านข้าง จะสวยงาม และไร้ รอยตอ่ ได้ ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลงั คา 8. เชิงชายหรอื ทับเชิงชาย หรือทับปน้ั ลม หรอื ปดิ กนั นก และปน้ั ลม ที่มา : https://www.onestockhome.com/
สว่ นประกอบของโครงหลังคา ทีม่ า : https://www.onestockhome.com/
วสสั ่วดนุมปุงรหะลกงั อคบาข(อROงOโFคINรGงMหATลEงัRIคALาS)
วัสดมุ งุ หลงั คา 1. กระเบื้องดนิ เผามุงหลังคา เป็น กระเบืองแผ่นเล็กๆ เช่น กระเบืองว่าว กระเบืองหางมน กระเบืองดินขอรองรับด้วยระแนงขนาด 1\"x 1\" วางห่างกัน ประมาณ 120 มม. เมื่อมุงแล้วซ้อนทับกันเกือบเป็น 2 ชัน น้าหนักไม่มากนัก ปัจจุบันไม่นิยมใช้ส้าหรับบ้านพักอาศัย เน่ืองจากต้องให้หลังคาลาดชันมาก เปลืองระแนงท่ีรับ กระเบืองและรั่วง่าย มักใช้กับอาคารรูปทรงเก่า หรือทรง อนุรักษ์ตามแบบเดิม อาคารเกี่ยวกับศาสนา โบสถ์ ทังนี ต้อง ออกแบบกันน้าฝนใต้หลงั คาไวด้ ้วย ขอ้ ดีที่เด่นชัดของกระเบือง ประเภทนีคือ ความสวยงาม และให้รูปทรงอนุรักษ์ตาม ลกั ษณะของท้องถิ่น ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วัสดุมงุ หลงั คา 2. วสั ดมุ ุงตามธรรมชาติ ได้แก่ แป้นเกล็ดไม้สัก ซึ่งใช้กับอาคารทางภาคเหนือ ลักษณะ เป็นไม้แผ่นบาง ขนาดใกล้เคียงกับกระเบืองดินเผา ใช้กับ ระแนง 1\"x1“ เช่นกัน แต่ปัจจุบันไม่มีการท้าขึนมาอีก เพราะ อายุการใช้งานจ้ากัด ร่ัวง่าย ไม่ทนไฟ และราคาแพงมาก หลายโรงงาน ไม่ว่าจะเป็น เอสซีจี โดยกระเบืองไอยร่า หรือ มหพันธ์ จึงคิดค้นกระเบืองเลียนแบบแป้นเกล็ดนีขึนมา ด้วย การท้าสีเลียนธรรมชาติ แต่วัสดุที่ใช้ เป็นวัสดุประเภทไฟเบอร์ ซีเมนต์ ซึ่งมีตัวแผ่นบาง และน้าหนักเบา ขึนรูปคล้ายแป้น เกลด็ ได้จรงิ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ ุงหลงั คา 3. สังกะสี เปน็ วัสดุทมี่ ีราคาถูก น้าหนักเบา ลักษณะเป็นแผ่น มีหลายขนาด และจ้าหน่ายเป็นฟุต ราคาต่อฟุตแตกต่างกันตามสี และชัน คณุ ภาพของสังกะสี ปจั จบุ ัน สังกะสตี ราสามดาว เป็นสังกะสีตรา เดียวที่ได้รับมาตรฐาน มอก. ด้วยคุณสมบัติน้าหนักเบา จึงช่วย ประหยัดโครงสร้าง ติดตังรือถอนได้ง่ายและเร็ว ไม่แตกหัก การเลือกใช้สังกะสี จะช่วยให้ประหยัดโครงสร้างหลังคา แต่มี ข้อเสียคือ เป็นตัวน้าความร้อนสูงมาก ท้าให้กระจายความร้อน มาสู่อาคารได้อย่างรวดเร็ว เป็นสนิมง่าย ท้าให้เกิดรูร่ัว และ ส่งผลใหม้ อี ายุการใชง้ านจา้ กดั และดว้ ยความทีต่ วั แผ่น มีน้าหนัก เบามาก ถ้าไม่มีฝ้าเพดานจะท้าให้เกิดความเสียหายได้มาก เวลา เกดิ ลมพายแุ รงๆ หลังคาอาจจะปลิวหรือฉีกขาดได้ง่าย และ เกิด เสยี งดงั มากในชว่ งเวลาท่ฝี นตกหนกั ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วัสดุมงุ หลงั คา 4. แผน่ เหล็กเมทลั ชีท หรือ หลงั คาโลหะเคลอื บ จากข้อดีข้อด้อยของหลังคาสังกะสี จึงมีบริษัทท่ีคิดน้า กลับมาพัฒนาใหม่ โดยเสริมจุดเด่นขึน และลดจุดด้อยลง ท้าให้ผลิตภัณฑ์ชนิดนีกลับมาเป็นท่ีนิยมอีกครัง แต่ ส่วนมาก จะใช้กับอาคารประเภทโกดงั สินค้า โรงงาน สถานี บริการน้ามัน โรงจอดรถ ฯลฯ เนื่องจากอาคารดังกล่าว มัก มีช่วงกว้างตังแต่ 10-30ม. และไม่มีเสาอยู่ระหว่างกลาง การออกแบบโครงสร้างหลังคา จึงต้องพยายามหาวัสดุ หลังคาท่ีเบาท่ีสุด ซึ่งสังกะสีก็เป็นวัสดุที่เบาอยู่แล้ว จึงน้า กลับมาพัฒนาใหม่ โดยการผสมโลหะอื่นท่ีช่วยลดปัญหา การเกิดสนมิ เช่น อลูมนิ ม่ั รวมทังใช้วิธีการเคลือบ และ อบ สี ท้าให้ช่วยลดการกัดกร่อนและช่วยสะท้อนความร้อน ออกไปได้ดี ท้าให้อาคารไม่ร้อนมากเหมือนเกา่ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วสั ดุมงุ หลงั คา 4. แผน่ เหลก็ เมทัลชีท หรอื หลังคาโลหะเคลือบ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วัสดุมงุ หลงั คา 5. กระเบ้ืองไฟเบอร์ซเี มนต์ กระเบืองในปัจจุบัน โรงงานอย่างเช่น เอสซีจี เลือกผลิตสินค้าประเภทนี จากไฟเบอร์ซีเมนต์ และไม่มีสารแอสเบสตอส หรือสารใยหินผสมใน ตัวกระเบือง ในอดีต โรงงานเลือกผลิตกระเบือง ประเภท ลอนคู่ ซ่ึงเป็นท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน และ ปัจจุบนั กไ็ ด้เพ่ิมกระเบืองประเภท พรีม่า และเคิฟ ลอน ทีม่ ีลักษณะลอนท่เี ดน่ ชดั กวา่ เดิม ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วัสดมุ ุงหลงั คา 6. กระเบ้ืองโปรง่ แสง กระเบืองโปร่งแสง หรือบางทีเรียกว่า กระเบืองไฟเบอร์- กลาส ซ่ึงผลิตมาจากใยแก้ว และ โพลีเอสเตอร์เรซิน แล้ว เข้าเคร่ืองรีด ออกมาเป็นแผ่นบาง ๆ หนาเพียง 1.2 มม. และยังเคลือบด้วยแผ่นฟิล์มพิเศษ ที่มีคุณสมบัติป้องกัน รังสีจากแสงแดด ไม่ได้ท้าให้เรซ่ินในเนือกระเบืองจนเกิด การแตกลายงาหรือขุ่นมัว ท้าใหก้ ระเบืองยังคงโปร่งใสให้ แสงส่องสว่างลงมาได้ ทา้ ใหป้ ระหยัดพลังงานไฟฟ้าโดยไม่ ต้องเปิดไฟในเวลากลางวัน กระเบืองโปร่งแสงผลิต ออกมาตามรูปร่างหรือลอนเหมือนกับกระเบืองลอนคู่ และกระเบืองลอนลูกฟูกทุกประการ เพ่ือให้ใช้ร่วมกันได้ และมีหลายสีให้เลือกตามความต้องการ เช่น ขาวใส ขาว ขุ่น เหลือง เขยี ว นา้ เงนิ นา้ ตาล เปน็ ตน้ ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ งุ หลงั คา 6. กระเบือ้ งโปรง่ แสง ท่มี า : https://www.onestockhome.com/
วัสดมุ งุ หลงั คา 7. กระเบือ้ งคอนกรีต ที่มา : https://www.onestockhome.com/ กระเบืองคอนกรีตเรม่ิ มีการน้ามาใช้เมื่อหลังคาทรงป้ันหยา ได้รับความนิยมอย่างมาก กระเบืองคอนกรีตผลิตมาจาก คอนกรีต สามารถต้านทานต่อการพัดปลิวของแรงลมได้ และคอนกรีตมีความแข็งแรงทนทานมากกว่าเมื่อเทียบกับ กระเบอื งไฟเบอรซ์ เี มนต์ (ลอนคู่) แต่มีขอ้ ดอ้ ยคือ ท้าให้ต้อง เพิ่มความแข็งแรงของโครงหลังคามากขึน และราคาก็แพง ขึนด้วย มีความสวยงาม สีสันสดใส ไม่เป็นเชือรา บริษัทที่ ผลิตกระเบืองคอนกรีตรุ่นแรกๆ คือ บริษัท กระเบือง หลังคาซีแพค จ้ากัด จึงท้าให้คนทั่วไปเรียกกระเบืองลอน คอนกรีตว่า กระเบืองซีแพคโมเนีย ต่อมา ได้มีการผลิต กระเบืองหลังคาคอนกรีต เป็นชนิดผิวเรยี บ ซึ่งเรยี กรุน่ ใหม่ นี ว่า กระเบืองเพรสทีจ กระเบืองนิวสไตล์ ซ่ึงเป็นชนิดผิว เรยี บ ทีไ่ ม่มลี อนโค้ง
วสั ดมุ งุ หลงั คา ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ ุงหลงั คา 8. กระเบือ้ งเซรามิค กระเบอื งเคลอื บเซรามิค เป็นกระเบืองท่เี ริม่ ไดร้ บั ความนิยมอยา่ งแพร่หลายในกลุ่มลูกค้าผู้ท้าการเลือกหลังคา ด้วยตัวเอง สว่ นหนงึ่ เป็นเพราะกระเบืองลักษณะนีมีสีสันที่คงทน ไม่ขึนรา เมื่อถูกชะล้างด้วยน้าฝนแล้ว ยังคง สภาพเหมอื นใหม่เชน่ เดิม ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
วสัคดรอุมบงุ หหลลังงั คคาา ที่มา : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ งุ หลงั คา ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ งุ หลงั คา ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
วสั ดมุ งุ หลงั คา ทม่ี า : https://www.onestockhome.com/
I hope you enjoyed.ขอบคุณแหลง่ ข้อมลู จาก : https://www.onestockhome.com/ อ.สกุ ัญญา คงเมือง 2562
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: