Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการออกแบบเพื่อทุกคน Universal Design- UD

คู่มือการออกแบบเพื่อทุกคน Universal Design- UD

Published by Kru.Sukanya Kongmuang, 2019-10-14 10:15:40

Description: คู่มือการออกแบบเพื่อทุกคน
รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์

Search

Read the Text Version

ขอ มลู ทางบรรณานกุ รมของสำนักหอสมดุ แหงชาติ ไตรรัตน จารทุ ัศน คมู อื การออกแบบเพ่ือทุกคน Universal Design Guide Book. 90 หนา . 1. คูมอื การออกแบบเพ่อื ทุกคน. I.ช่อื เรือ่ ง ผเู ขียน ไตรรัตน จารทุ ัศน ออกแบบปก จดั รปู เลม สจุ ิตรา จิระวาณชิ ยกลุ หนว ยปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั สภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับผสู ูงอายแุ ละคนพกิ าร คณะสถาปต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั บริษทั ยูนิเวอรแ ซลดไี ซนเ ซน็ เตอร (ไทยแลนด) จำกัด โทร 089-764-8301, 084-554-9301, 092-518-1301 E-mail: [email protected], www.facebook.com/udcuru ขอขอบคณุ ผูสนบั สนนุ การจัดทำตนฉบับ บริษทั โฮม โปรดักส เซน็ เตอร จำกดั (มหาชน) บริษทั ทรงธรรม เดคคอร จำกัด บรษิ ทั กวิน ไดนามคิ จำกดั บริษทั พงศชัยพัฒนา (1977) จำกดั บริษทั เวลคราฟท โปรดัคส จำกัด บรษิ ัท เคนไซ ซรี ามิคส อินดสั ตรี้ จำกดั บรษิ ทั วตั สนั ฟอเซ็ท จำกัด ซนั โพล คัมปะนี ลมิ ิเต็ด บรษิ ทั เอสซจี ี ผลติ ภัณฑกอ สรา ง จำกัด พิมพค ร้ังท่ี 2 จำนวน 8,000 เลม อนญุ าตให กรมสงเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย จดั พมิ พเผยแพร ในคร้ังน้ี กนั ยายน 2558 พมิ พที่ โรงพิมพเทพเพญ็ วานสิ ย ลิขสทิ ธ์เิ นือ้ หาของหนังสอื เลมนเี้ ปนของผูเขียน สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบญั ญัติ พ.ศ. 2537

คาํ นาํ คูมือการออกแบบเพ่ือทุกคน (Universal Design Guide Book) เลมนี้จัดทําข้ึนเพื่อแนะนํา หลักการออกแบบเพ่อื ทกุ คน ใหก ับผูสนใจในวงการออกแบบ ไมวาจะเปนสถาปนิก นักออกแบบในสาขา อ่นื ๆ ทีเ่ กย่ี วของ นิสติ นกั ศกึ ษา หรือแมแตเจาของอาคารสถานท่ีตางๆ หนวยงานราชการท่ีสนใจ โดยมี เปาหมายท่สี าํ คัญ คือการไดมสี วนรว มกนั ปรับสภาพแวดลอม ท้ังที่เปนอาคาร สถานท่ี อุปกรณ เครื่องใช ตา งๆ ใหผ สู ูงอายุ คนพกิ าร เด็ก สตรมี คี รรภ ฯลฯ สามารถใชชีวิตไดอ ยา งมีความสุข สามารถเขาถึงและใช ประโยชนไดอ ยา งสะดวกและปลอดภยั เกิดความเทาเทียมกนั และปราศจากอปุ สรรค สําหรับลําดับในการเขียนคูมือการออกแบบเพ่ือทุกคนเลมน้ี ไดเรียงลําดับจากสิ่งท่ีจําเปนที่สุด เปน การออกแบบกลมุ ท่ี 1 ซึง่ เนนการออกแบบเพอื่ ทกุ คน 5 รายการ ไดแ ก ท่จี อดรถ ทางลาด หองน้ํา ปาย สัญลักษณ และบริการขอมูล อางอิงจากมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ท่ีให หนว ยงานราชการตา งๆ ดําเนินการ ตอดว ยกลมุ ที่ 2 คือส่ิงอํานวยความสะดวกในอาคารตามกฎกระทรวง กาํ หนดส่ิงอํานวยความสะดวกในอาคารสาํ หรบั ผพู ิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 และกลมุ ที่ 3 เปนอุปกรณ สงิ่ อาํ นวยความสะดวกหรอื บรกิ ารตามกฎกระทรวงกาํ หนด ลกั ษณะ หรือการจัดใหม ีอปุ กรณ ส่ิงอํานวยความสะดวก หรอื บรกิ ารในอาคาร สถานท่ี หรอื บรกิ ารสาธารณะอื่น พ.ศ. 2555 ผูเขียนขอขอบคุณทุกฝายที่สนับสนุนการจัดทําหนังสือเลมนี้ โดยหวังเปนอยางย่ิงวาคูมือการ ออกแบบเพ่ือทกุ คนเลม น้ี จะสามารถสรา งความเขา ใจ และเปน แนวทางปฏิบัตใิ หผูเก่ยี วของใชเปนแนวทาง ในการทํางานดา นตา งๆ รวมมือกันปรับสภาพแวดลอมใหปราศจากอุปสรรค ทุกคนสามารถเขาถึงและใช ประโยชนไดอ ยา งแทจริง รศ.ไตรรัตน จารทุ ศั น [email protected]

สารบญั บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมาย “การออกแบบเพอื่ ทุกคน”…………………................................................. 2 1.2 การแบง ประเภทความพกิ าร....................................................................................... 5 1.3 การแบงกลมุ การออกแบบเพ่ือทกุ คน........................................................................ 9 บทท่ี 2 แนวทางการออกแบบ 2.1 กลมุ ท่ี 1 สิง่ อาํ นวยความสะดวกข้ันพ้นื ฐานสาํ หรบั คนพกิ าร ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี.. 14 2.2 กลมุ ท่ี 2 สิ่งอาํ นวยความสะดวกในอาคาร ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2548…………… 29 2.3 กลุมที่ 3 อุปกรณ ส่ิงอํานวยความสะดวก ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2555……………. 45 บทท่ี 3 กรณีศกึ ษา 3.1 บรษิ ัท การบนิ ไทย จํากัด (มหาชน) อาคารสํานกั งานหลกั ส…ี่ ……………………………… 63 3.2 องคการบรหิ ารสวนตําบลหนองบัว จ.นครสวรรค… …………………………………………… 67 บทที่ 4 รายการประกอบแบบอปุ กรณ UD 4.1 หมวดพน้ื ผวิ ตางสมั ผสั …………………………………………………………………………………. 72 4.2 หมวดหองนา้ํ ……………………………………………………………………………………………….. 75 4.3 อปุ กรณภายนอกอาคาร………………………………………………………………………………... 85

บทที่ 1 บทนาํ

2 1.1 ความหมาย “การออกแบบเพื่อทกุ คน”1 (Universal Design) หมายถึง การออกแบบผลิตภัณฑ และสภาพแวดลอม ท่ีปราศจากการออกแบบหรือ ดัดแปลงเปนพิเศษ เปนการออกแบบท่ีทุกคนสามารถใชประโยชนไดอยางกวางขวางเทาที่ เปนไปไดมากทสี่ ดุ โดยไมมขี อ จํากดั ดานอายุและสภาพรา งกาย2 หลกั 7 ประการของการออกแบบเพ่ือทกุ คน Universal Design เปน แนวความคิดสากลท่อี งคการสหประชาชาตไิ ดพ ยายามเผยแพรและ สงเสรมิ จากแนวความคิดเดิมเพ่อื ใหค นพิการไดรับสิง่ อํานวยความสะดวกในการดํารงชีวติ ในอาคาร และส่ิงแวดลอมตามโครงการ Promotion of Non-Handicapping Physical Environment for Disabled Persons และไดมีการพฒั นา ตามลาํ ดบั เปน Accessible Design, Adaptable Design, Barrier Free Design, Design for all และ Inclusive Design ซ่ึงในที่สุดก็เปนท่ียอมรับโดยท่ัวไป ในหลักการของ Universal Design ซง่ึ ประกอบดวย หลกั 7 ประการ ไดแ ก3 1 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชนิ ูปถมั ภ คมู ือปฏบิ ัตวิ ิชาชพี สถาปต ยกรรมการออกแบบสภาพแวดลอ มและส่ิงอาํ นวยความสะดวกสําหรบั ทุกคน (Universal design Code of Practice), 2551 2 \"Ronald L. Mace on NC State University, College of Design\". Design.ncsu.edu. Retrieved 2013-07-26. 3 Molly Follette Story, M.S. IDSA. Principles of Universal Design. Universal Design Handbook. New York: Mc Grow - Hill. 2001.

3 หลัก 7 ประการของการออกแบบเพ่ือทกุ คน 1. ทกุ คนใชไ ดอ ยา งเทา เทยี มกนั (Equitable Use) 2. มคี วามยดื หยนุ ปรบั เปลยี่ นการใชไ ด (Flexible Use) 3. ใชงานงา ย (Simple and Intuitive Use) 4. การสอ่ื ความหมายทเ่ี ขา ใจงา ย (Perceptible Information) 5. การออกแบบทเ่ี ผอื่ การใชง านทีผ่ ดิ พลาดได (Tolerance for Error) 6. ใชแ รงนอ ย (Low Physical Effort) 7. มขี นาดและพน้ื ที่ ทเี่ หมาะสมกบั การเขา ถงึ และใชง านได (Size and Space for Approach and Use)

4 ซึง่ สามารถอธิบายความหมายโดยสงั เขปไดด ังนี้ หลักการ ความหมาย 1. ทกุ คนใชไดอ ยางเทาเทียมกนั การออกแบบท่ีเปน ประโยชนและตรงความตองการของ (Equitable Use) คนทุกกลุม 2. มีความยดื หยุน ปรบั เปล่ยี นการใชได การออกแบบที่รองรับความสามารถที่หลากหลายของ (Flexible Use) แตล ะบุคคล 3. ใชงานงาย ใชการออกแบบท่ีงายตอความเขาใจ โดยไมคํานึงถึง (Simple and Intuitive Use) ประสบการณแ ละระดับความรู ความสามารถ 4. การส่ือความหมายทเี่ ขา ใจงา ย การสื่อสารขอมูลทจ่ี าํ เปนในการออกแบบไดอยา ง (Perceptible Information) มีประสิทธิภาพโดยไมคํานึงถึงสภาพแวดลอมหรือ ความสามารถทางประสาทสมั ผัสของผใู ช 5. การออกแบบท่เี ผ่อื การใชง านที่ผิดพลาดได การออกแบบที่สามารถลดอันตรายจากอุบัติเหตุและ (Tolerance for Error) ผลกระทบท่ไี มพ งึ ประสงคห รอื การกระทาํ ทไี่ มไดตั้งใจ 6. ใชแรงนอ ย การออกแบบที่สามารถนํามาใชอยางมีประสิทธิภาพ (Low Physical Effort) สะดวกสบายและไมเกิดความเมอ่ื ยลา 7. มีขนาดและพืน้ ท่ี ทเ่ี หมาะสมกับการเขา ถงึ ขนาดทีเ่ หมาะสมและมีพื้นท่ีสําหรับการเขาถึงและการ และใชงานได ใชงาน โดยไมคํานึงถึงขนาดรางกาย ทาทางหรือการ (Size and Space for Approach and Use) เคลอ่ื นไหวของผูใ ช

5 1.2 การแบง ประเภทความพกิ าร “การออกแบบเพื่อทุกคน” เปนสวนหน่ึงของการออกแบบใหคนพิการใหสามารถใชส่ิง- อาํ นวยความสะดวกตา งๆ ไดอ ยา งปลอดภยั และในทีน่ ้ี “คนพิการ” ตามประกาศกฎกระทรวงการ- พฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย เร่ือง ประเภทและหลักเกณฑความพิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2555 หมายถึง บคุ คลซ่งึ มีขอจาํ กัดในการปฏิบัตกิ ิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือเขาไปมีสวนรวมทาง สังคม อันเน่ืองมาจากความบกพรองทางการเห็น การไดยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ พฤตกิ รรม สติปญญา การเรียนรู หรือความบกพรองอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในดาน ตางๆ และมีความจําเปน พิเศษทจ่ี ะตอ งไดรับความชวยเหลือดานหนึ่งดานใด เพ่ือใหสามารถปฏิบัติ กิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือเขาไปมีสวนรวมทางสังคมไดอยางบุคคลทั่วไป และไดแบงประเภท ความพิการและหลักเกณฑความพิการ 7 ประเภท4 ดงั นี้ 1. ความพิการทางการเหน็ ไดแ ก 1.1 ตาบอด หมายถึง การทบ่ี คุ คลมขี อจาํ กัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไป มสี วนรวมในกจิ กรรมทางสงั คม ซ่งึ เปน ผลมาจากการมคี วามบกพรอ งในการเห็น เมอ่ื ตรวจวดั การเหน็ ของสายตาขางที่ดีกวาเม่ือใชแวนสายตาธรรมดาแลว อยูในระดับแยกวา 3 สวน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 สวน 400 ฟุต (20/400) ลงมาจนกระทัง่ มองไมเ ห็นแมแตแสงสวาง หรือมีลานสายตาแคบ กวา 10 องศา 4 ประกาศกฎกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑค วามพกิ าร (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2555

6 1.2 ตาเห็นเลือนราง หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือ การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการเห็น เมื่อ ตรวจวัดการเห็นของสายตาขางที่ดีกวา และ/หรือใชแวนสายตาธรรมดาแลว อยูในระดับตั้งแต 3 สว น 60 เมตร (3/60) หรอื 20 สว น 400 ฟุต (20/400) ไปจนถึงแยกวา 6 สวน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 สว น 70 ฟตุ (20/70) หรือมีลานสายตาแคบกวา 30 องศา หมายเหตุ : ควรเรียกแทนบุคคลในกลุม น้ีวา คนพิการทางการเห็น หรือ คนตาบอด ไมควรเรียกวา ผพู กิ ารทางสายตา ผูทุพพลภาพทางการมอง ฯลฯ เปนตน 2. ความพกิ ารทางการไดย นิ หรือสอ่ื ความหมาย ไดแก 2.1 หูหนวก หมายถงึ การท่บี คุ คลมีขอ จาํ กัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไป มสี ว นรวมในกจิ กรรมทางสังคม ซงึ่ เปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจนไมสามารถรับ ขอมลู ผานทางการไดยิน เมื่อตรวจการไดยิน โดยใชคล่ืนความถ่ีท่ี 500 เฮิรตซ 1,000 เฮิรตซ และ 2,000 เฮริ ตซ ในหูขา งท่ไี ดยินดีกวาจะสญู เสยี การไดยนิ ท่คี วามดงั ของเสยี ง 90 เดซเิ บลข้นึ ไป 2.2 หูตึง หมายถึง การท่ีบุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไป มีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยิน เมื่อตรวจวัด การไดยนิ โดยใชคล่นื ความถี่ที่ 500 เฮิรตซ 1,000 เฮริ ตซ และ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่ไดยินดีกวา จะสูญเสียการไดยนิ ทค่ี วามดังของเสยี งนอยกวา 90 เดซเิ บล ลงมาจนถึง 40 เดซเิ บล

7 2.3 ความพิการทางการสื่อความหมาย หมายถึง การท่ีบุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชวี ติ ประจําวนั หรือการเขา ไปมีสว นรว มในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง ทางการสือ่ ความหมาย เชน พดู ไมได พดู หรอื ฟงแลว ผูอื่นไมเ ขาใจ เปน ตน 3. ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย ไดแก 3.1 ความพิการทางการเคล่ือนไหว หมายถึง การท่ีบุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชีวติ ประจาํ วนั หรือการเขา ไปมสี ว นรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง หรือการสูญเสียความสามารถของอวัยวะในการเคล่ือนไหว ไดแก มือ เทา แขน ขา อาจมาจาก สาเหตอุ มั พาต แขน-ขาออนแรง แขน-ขาขาด หรอื ภาวะเจบ็ ปว ยเรื้อรงั จนมีผลกระทบตอการทํางาน ของมือ เทา แขน-ขา 3.2 ความพกิ ารทางรางกาย หมายถงึ การท่ีบคุ คลมขี อ จาํ กดั ในการปฏิบัติกจิ กรรมในชีวิตประจําวัน หรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเปนผลมาจากการมีความบกพรองหรือ ความผิดปรกติของศีรษะ ใบหนา ลาํ ตัว และภาพลักษณภ ายนอกของรางกายท่เี หน็ ไดอยางชัดเจน 4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ไดแก การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติ กิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเปนผลมาจาก ความบกพรองหรอื ความผดิ ปรกติทางจติ ใจหรือสมองในสวนของการรับรู อารมณ หรอื ความคดิ

8 5. ความพิการทางสติปญญา ไดแก การท่ีบุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชวี ิตประจาํ วันหรือการเขา ไปมีสว นรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึง่ เปนผลมาจากการมีพฒั นาการชา กวา ปรกติ หรือมรี ะดับเชาวนปญญาต่ํากวา บุคคลทวั่ ไป โดยความผิดปรกตนิ ั้นแสดงกอ นอายุ 18 ป 6. ความพิการทางการเรียนรู ไดแก การท่ีบุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชีวิตประจาํ วัน หรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมโดยเฉพาะดานการเรียนรู ซึ่งเปนผล มาจากความบกพรองทางสมอง ทําใหเกิดความบกพรองในดานการอานการเขียน การคิดคํานวณ หรอื กระบวนการเรียนรพู น้ื ฐานอืน่ ในระดับความสามารถที่ตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานตามชวงอายุและ ระดบั สตปิ ญ ญา 7. ความพิการทางออทิสติก ไดแก การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ชวี ิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเปนผลมาจากความบกพรองทาง พัฒนาการดานสังคม ภาษาและการส่ือความหมาย พฤติกรรมและอารมณ โดยมีสาเหตุมาจาก ความผิดปรกตขิ องสมอง และความผดิ ปรกตินั้นแสดงกอนอายุ 2 ปคร่ึง ทั้งนี้ ใหรวมถึงการวินิจฉัย กลุมออทสิ ติกสเปกตรมั อน่ื ๆ

9 1.3 การแบง กลุม การออกแบบเพอื่ ทุกคน เพอื่ ใหสามารถนาํ หลักการออกแบบเพอื่ ทุกคนนีไ้ ปใชก ับงานออกแบบไดอยา งเขาใจ จะขอ แบง กลุม การออกแบบเพื่อทกุ คนนี้เปน 3 กลุมดังนี้ กลุมท่ี 1 สง่ิ อาํ นวยความสะดวกขนั้ พน้ื ฐานสาํ หรบั คนพกิ าร ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 1. ทจี่ อดรถ 2. ทางลาด 3. ปา ยสญั ลกั ษณ 4. หอ งนาํ้ 5. บรกิ ารขอ มลู หมายเหตุ : กําหนดใหห นว ยราชการ ไดแก ศาลากลางจังหวัด ท่ีวาการอําเภอ สํานักงานเขต อบจ. อบต. เทศบาล เมืองพทั ยา สถาบนั การศกึ ษาและสถานตี าํ รวจ จดั ส่ิงอํานวยความสะดวกขัน้ พนื้ ฐาน : โรงพยาบาลใหจัดทาํ ครบถว น ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2548

10 กลมุ ท่ี 2 สิ่งอาํ นวยความสะดวกในอาคาร ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25485 1. ทจี่ อดรถ 2. ทางลาด 3. ปายสัญลักษณ 4. หอ งนํ้า 5. ลฟิ ตโดยสาร 6. บนั ได 7. ราวจบั 8. ประตู 9. ทางสัญจรระหวางอาคาร และทางเชือ่ มระหวางอาคาร 10. พนื้ ผวิ ตางสมั ผสั 11. โรงมหรสพ หอประชมุ และโรงแรม หมายเหตุ : สิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารตามกฎกระทรวงน้ีมีท้ังส้ิน 11 ขอ คือเปนรายการใน กลุม ที่ 1 = 4 ขอ (ขอ 1-4) ท่เี พิม่ เติมจากกลมุ ท่ี 1 = 7 ขอ (ขอ 5-11) 5 กฎกระทรวงกาํ หนดสง่ิ อาํ นวยความสะดวกในอาคารสําหรบั ผพู กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 กระทรวงมหาดไทย

11 กลุม ที่ 3 อปุ กรณ สิ่งอํานวยความสะดวก ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25556 ไดแ ก 1. ทีจ่ อดรถสําหรบั คนพกิ าร 2. ทางลาด 3. ปา ยแสดงอุปกรณหรอื สงิ่ อํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ 4. หองนํ้าสาํ หรบั คนพกิ าร 5. สถานทีต่ ิดตอ หรอื ประชาสมั พันธส ําหรับคนพกิ าร 6. ลฟิ ตสําหรับคนพกิ าร 7. ราวกันตกหรือผนงั กันตก 8. ประตสู าํ หรบั คนพกิ าร 9. ทางสญั จรสาํ หรบั คนพกิ าร 10. พื้นผิวตา งสัมผสั สําหรับคนพกิ ารทางการเหน็ 11. ทีน่ งั่ สําหรบั คนพิการหรือพื้นทีส่ าํ หรับจอดวีลแชร 12. บนั ไดเลอ่ื นสาํ หรบั คนพิการ 13. ทางลาดเล่ือนหรือทางเลอ่ื นในแนวราบ 14. ถังขยะแบบยกเคล่ือนท่ไี ด 15. โทรศัพทสาธารณะสําหรบั คนพิการ 16. จุดบรกิ ารนา้ํ ด่มื สาํ หรับคนพิการ 17. ตูบรกิ ารเงินดวนสาํ หรับคนพิการ 18. สญั ญาณเสียงและสญั ญาณแสงขอความชวยเหลือสําหรบั คนพิการ 6 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย กฎกระทรวงกาํ หนดลกั ษณะ หรอื การจดั ใหม ีอุปกรณ ส่งิ อาํ นวยความสะดวก หรือบริการในอาคาร สถานที่ หรอื บริการสาธารณะอ่นื เพ่ือให คนพิการสามารถเขาถงึ และใชป ระโยชนได พ.ศ. 2555

12 19. ตูไปรษณียสําหรับคนพกิ าร 20. พืน้ ที่สาํ หรับหนภี ัยของคนพิการ 21. การประกาศเตอื นภัยสําหรับคนพกิ ารทางการเหน็ และตวั อักษรไฟว่ิงหรือ สญั ญาณไฟเตอื นภัยสาํ หรบั คนพิการทางการไดยินหรือส่ือความหมาย 22. การประกาศขอมูลที่เปนประโยชนส าํ หรบั คนพกิ ารทางการเหน็ และตวั อกั ษรไฟวงิ่ หรือปายแสดงความหมายสําหรบั คนพกิ ารทางการไดยินหรอื สอื่ ความหมาย 23. เจาหนา ทีซ่ ึง่ ผา นการฝก อบรมและมคี ณุ สมบตั ติ รงกบั ความตอ งการของคนพกิ าร แตล ะประเภทอยา งนอยหนึง่ คนเพือ่ ใหบ ริการคนพกิ าร หมายเหตุ : สง่ิ อํานวยความสะดวกในอาคารตามกฎกระทรวงนม้ี ที ั้งส้ิน 23 ขอ เปนรายการ ในกลมุ ที่ 1 = 5 ขอ (ขอ 1-5) และเปนรายการในกลมุ ที่ 2 = 5 ขอ (ขอ 6-10)

บทท่ี 2 แนวทางการออกแบบ

14 กลุม ที่ 1 สิ่งอํานวยความสะดวกขน้ั พนื้ ฐานสาํ หรบั คนพกิ าร ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 1. ท่จี อดรถ 2. ทางลาด 3. ปา ยสญั ลักษณ 4. หอ งนํ้า 5. บรกิ ารขอมูล 1. ท่ีจอดรถ 1. จดั ใหมที ่จี อดรถสาํ หรบั คนพกิ ารใกลท างเขาออกอาคาร ไมขนานกบั ทางเดินรถ มพี นื้ ผวิ เรียบ ระดับเสมอกัน 2. ชอ งจอดรถ มขี นาด 2.40 x 6.00 เมตร มีที่วา งดานขางรถไมนอยกวา 1.00-1.40 เมตร 3. มสี ญั ลกั ษณร ูปคนพิการทีพ่ ้ืน ขนาด 90 x 90 เซนตเิ มตร 4. มีปา ยสญั ลักษณร ูปคนพิการขนาดไมนอยกวา 30 x 30 เซนตเิ มตร ตดิ สูงจากพ้นื 2.00 เมตร

15 5. ทจี่ อดรถตามกฎกระทรวงฯ กําหนดสดั สวน 10-50 คัน ใหม ีทจ่ี อดรถคนพกิ าร 1 คัน 51-100 คนั ใหมีทจ่ี อดรถคนพิการ 2 คนั และทุกๆ 100 คันขนึ้ ไป ใหม ีทจ่ี อดรถคนพกิ ารเพม่ิ 1 คัน 6. ถามีทางเทาบริเวณทจ่ี อดรถ ตอ งมที างลาดขน้ึ และทางลาดควรมีความกวางอยางนอย 90 เซนตเิ มตร โดยไมรวมทางลาดดานขาง ความชนั ของทางลาดตอ งไมน อยกวา 1:12 7. ควรมเี จาหนา ทด่ี แู ลทีจ่ อดรถคนพิการเพอื่ บรกิ ารคนพิการ ไมใหผ ูอน่ื เขา มาจอด 8. ควรมีแสงสวา งเปนพิเศษ มองเหน็ ชดั เจน หนว ย : เมตร

16 2. ทางลาด 1. จัดใหมีทางลาดเขาสูอาคารโดยมขี นาดความกวา ง วสั ดพุ ้ืนผวิ และความชันที่เหมาะสมและ ปลอดภยั พนื้ ผิวของจุดตอเนือ่ งระหวา งพื้นกับทางลาดตองเรียบ ไมสะดดุ 2. ระดับพ้ืนหางกันเกิน 2 เซนติเมตร ตองมีการปาดมุมพ้ืนสวนท่ีตางระดับกันไมเกิน 45 องศา (ขอ แนะนํา คอื 30 องศา) 3. มีราวจับทาํ ดวยวัสดุเรียบ มั่นคง ไมลน่ื ตดิ ตั้งบรเิ วณทางลาด 4. พ้นื ผวิ วสั ดไุ มลืน่ และไมม ีรอ งและตะแกรงระบายน้ํา ไมม ีการเซาะรองทีพ่ ืน้ 5. ความชันไมเ กิน 1:12 คือ ความสูงตอความยาว (4.76 องศา) 6. ทางลาดมีความยาวโดยรวมไมเกนิ 6.00 เมตร ตองมคี วามกวา งไมน อ ยกวา 90 เซนตเิ มตร 7. ปลายทางลาด ควรทาํ ดว ยคอนกรตี เสริมเหล็ก ตรงจุดเร่ิมตนและจุดสิ้นสุดทางลาดตองมี สภาพดี เชอ่ื มตอ กับพนื้ เดิมระยะทางยาว 1.50 เมตร ทางลาดชว่ั คราวท่ที าํ จากเหลก็ ควรมคี วามยาวไมควรเกิน 1.80 เมตร กวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร มีความมั่นคงปลอดภัย 8. ถา ทางลาดยาวตั้งแต 2.50 เมตรข้ึนไป ตอ งมรี าวจบั ทัง้ 2 ขา ง 9. ทางลาดมีความยาวทุกชวงรวมกันต้ังแต 6.00 เมตรข้ึนไป ตองมีความกวางไมนอยกวา 1.50 เมตร 10. มขี อบกนั ตกสงู จากพนื้ 5 เซนตเิ มตร (ขอ แนะนาํ คอื 10 เซนตเิ มตร)

17 หนวย : เมตร

18 ราวจบั ทางลาด 1. มีราวจับทําดว ยวสั ดุเรียบ มคี วามมั่นคงแขง็ แรง ไมเ ปนอนั ตรายในการจบั และไมลนื่ 2. มลี กั ษณะกลม เสน ผานศนู ยกลาง 3-4 เซนตเิ มตร 3. ติดตัง้ หางจากผนงั ไมนอ ยกวา 5 เซนติเมตร สูงจากจุดยดึ ไมนอยกวา 12 เซนตเิ มตร ผนัง ทตี่ ิดต้งั ราวจบั ควรเรยี บ ไมค มหรอื ขรขุ ระ 4. ราวจบั ควรใชสที ่เี ดน เพ่ือใหคนพิการทางการเห็นไดรบั รอู ยา งชดั เจน 5. ราวจับสูงจากพนื้ 80-90 เซนติเมตร 6. ปลายราวจับ ยื่นจากจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของทางลาดไมนอยกวา 30 เซนติเมตร สว นยนื่ ควรมลี กั ษณะขนานกับพื้น ปลายราวจับควรเปน ปลายมน (ขอ แนะนาํ 30-40 เซนติเมตร) หนว ย : มิลลเิ มตร

19 3. ปายสัญลกั ษณ 1. ปา ยสญั ลกั ษณค วรมี 2 รูปแบบ ไดแก ปายแสดงทางไปสูสิ่งอาํ นวยความสะดวก และ ปา ยแสดงประเภทของส่งิ อาํ นวยความสะดวก 2. ปา ยสัญลักษณม ีพน้ื สขี าว+ตัวหนงั สือสีน้ําเงนิ หรือพนื้ สีนา้ํ เงิน+ตวั หนังสือสีขาว 3. ตดิ ตง้ั ในตาํ แหนงท่ีเห็นชดั เจน มแี สงสอ งสวา งเปนพเิ ศษทง้ั กลางวัน กลางคนื ปายแสดงทางไปสสู ่ิงอาํ นวยความสะดวก ปายแสดงประเภทของสง่ิ อํานวยความสะดวก ทางลาด ทจี่ อดรถ ลฟิ ตโ ดยสาร หอ งน้าํ

20 4. หอ งนาํ้ 1. หองน้ําอยูในตําแหนงที่สามารถเขาถึงไดสะดวกและควรอยูในสภาพพรอมใชงาน ไมปด ล็อกหรือเปนหองเกบ็ อุปกรณ 2. หองนํา้ คนพิการควรแยกออกจากหอ งนาํ้ คนทั่วไปชาย/หญิง 3. หากมีหองน้ําสําหรับคนท่ัวไปมากกวา 1 จุด ทุกจุดที่มีหองน้ําสําหรับคนท่ัวไป ควรมี หองน้าํ สาํ หรับคนพกิ ารอยางนอย 1 หอ ง 4. วสั ดุปูพน้ื ผวิ ไมลื่น ควรมีพืน้ สีออ นและ/หรือสตี ดั กบั ผนัง 5. พืน้ ที่วา งภายในมเี สน ผานศูนยก ลางไมน อ ยกวา 1.50 เมตร 6. ไมม ีนํ้าขังบนพน้ื โดยพ้นื หองน้ําตอ งมีความลาดเอยี งเพียงพอไปยังชองระบายน้ําทิง้ 7. พนื้ หอ งนํา้ มีระดบั เสมอพื้นภายนอก ถาเปน พนื้ ตา งระดบั ตองมลี กั ษณะเปน ทางลาด 8. ประตูทีเ่ หมาะสมที่สุด คือ ประตูบานเลอ่ื น หากเปน บานเปด ควรจดั ใหอ ยใู นลกั ษณะเปด ออกสทู างดา นนอก ทั้งนี้ในขณะที่ประตูหองนํ้าเปดออกเต็มที่ตองเปดคางไดไมนอยกวา 90 องศา และไมค วรตดิ ต้ังตัวปด ประตูอัตโนมัติ (โชคอัพประตู) 9. ชองประตคู วรมคี วามกวางอยางนอย 90 เซนติเมตร พรอมมือจับแบบกานโยกท่ีใชงาน สะดวก 10. ในกรณีท่ีมธี รณีประตู ความสงู ของธรณปี ระตตู อ งสงู ไมเกนิ 2 เซนติเมตร และใหขอบท้ัง สองดานมีความลาดเอียง 1:2 เพื่อใหวีลแชร (Wheelchair) หรือคนพิการที่ใชอุปกรณชวยเดิน สามารถขามไดสะดวก

21 หนว ย : เมตร 11. ควรจะมมี อื จบั ประตูท้ังภายในและภายนอกหอ งนาํ้ เพอ่ื ใหก ารเปดปดประตูสะดวก 12. ประตูควรล็อกหรอื ใสก ลอนไดจากภายใน แตก ็สามารถปลดไดจากภายนอกในกรณีท่ีมี เหตฉุ ุกเฉิน

22 อุปกรณเ ปด ปดประตู 13. อุปกรณเปดปดประตู เปนชนิดกานบิดหรือแกนผลัก อยูสูงจากพ้ืนไมนอยกวา 1.00 เมตร แตไ มเกนิ 1.20 เมตร มีมือจับท่ีมีขนาดเทากับราวจบั มาตรฐาน ในแนวดิง่ ทง้ั ดา นในและดานนอกของประตู ซ่ึงมี ปลายบนสดุ สูงจากพนื้ ไมน อ ยกวา 1.00 เมตร และปลายดานลา งสงู ไมเ กนิ 80 เซนตเิ มตร 14. ในกรณที ี่เปนประตูบานเปด ออก ใหมีราวจับตามแนวนอนดานในประตู และในกรณีท่ี เปน ประตบู านเปด เขาใหมีราวจบั ตามแนวนอนดานนอกประตู ราวจับดังกลาวใหสูงจากพื้นไมนอย กวา 80 เซนตเิ มตร แตไมเกิน 90 เซนตเิ มตร ยาวไปตามความกวางของประตู (ไมแนะนาํ ใหเปด เขา) หนว ย : มลิ ลิเมตร

23 อางลา งมอื 15. อางลางมือ มีความสูงจากพ้นื ถึงขอบบนของอาง 75-80 เซนตเิ มตร มพี ืน้ ทีว่ างใตอ างสูง ไมน อยกวา 60 เซนตเิ มตร (ไมควรมขี าต้ังอา งลางหนา หรือตูเ กบ็ ของใตอ า ง) 16. ระยะหา งจากเสนผา นศนู ยก ลางของอางลางมือกับกําแพงดานขาง ควรจะไมนอยกวา 45 เซนตเิ มตร 17. กอ กน้ําเปนชนดิ กา นโยกหรอื กานปด หรอื ระบบอตั โนมัติ 18. มรี าวจับในแนวนอนแบบพบั เกบ็ ไดใ นแนวด่งิ ท้ังสองขา งของอาง 19. ควรติดตั้งกระจกเงา ขอบลางสูงจากพื้นไมเกิน 1 เมตร และติดตั้งทํามุมเอียงมา ดา นหนาประมาณ 10-20 องศา หนว ย : มลิ ลเิ มตร

24 โถสว ม 20. โถสวมชนิดนง่ั ราบ สูงจากพน้ื 45-50 เซนติเมตร มีพนกั พิงท่ีม่นั คง (ใชถ งั พักนาํ้ ได) 21. ระยะกึง่ กลางของโถสว มหา งจากผนัง 45-50 เซนตเิ มตร 22. ทีป่ ลอ ยนํ้าเปนชนิดคันโยก ปุมกดขนาดใหญหรือชนิดอ่ืนที่คนพิการสามารถใชงานได อยางสะดวก (ขอแนะนํา ไมใชแบบปุมกดน้ําดานบนและกานโยกแบบฟลัชวาลว อาจใชระบบ อตั โนมัต)ิ 23. ราวจับรูปตวั L บริเวณชกั โครก แนวนอนควรมคี วามยาวไมนอยกวา 60 เซนติเมตร สูง จากพ้นื 65-70 เซนตเิ มตร และราวจบั แนวดิ่งมคี วามยาวไมน อยกวา 60 เซนตเิ มตร 24. ราวจับรปู ตัว L แนวดง่ิ ยืน่ ล้ําออกมาจากดานหนา โถสว ม 25-30 เซนตเิ มตร 25. โถสวมดานท่ไี มติดผนัง มรี าวจับแบบพับเก็บได มีความยาวไมนอยกวา 55 เซนติเมตร ติดตงั้ หา งจากขอบของโถสวม 15-20 เซนตเิ มตร 26. ในกรณีท่ีระยะก่ึงกลางโถสวมอยูหางจากผนังเกิน 50 เซนติเมตร ตองมีราวจับแบบ พบั เกบ็ ไดในแนวราบหรือแนวดง่ิ ความยาวไมนอ ยกวา 55 เซนตเิ มตร ติดตั้งหา งจากขอบของโถสวม 15-20 เซนติเมตร เม่ือกางออกใหม รี ะบบล็อกทคี่ นพิการ สามารถปลดล็อกไดงาย 27. ควรมีสายชําระแบบกานกด ตั้งคางได หรือระบบฉีดนํ้าชําระอัตโนมัติ ใชงานไดและ สะดวก

25 60 45-50 25-30 70 70 45-50 45-50 สนามบินสุวรรณภมู ิ หนวย : เซนติเมตร

26 โถปสสาวะชาย 28. ในกรณีทเี่ ปนหองนํา้ สาํ หรบั ผชู าย (ไมแ ยกหองสาํ หรับคนพิการ) ตอ งจัดใหมีโถปสสาวะ ชายท่ีมรี ะดับเสมอพืน้ อยางนอย 1 ท่ี เพื่อใหผูใ ชท ุกวยั สามารถใชง านไดอ ยางสะดวกยิง่ ขน้ึ 29. โถปสสาวะชายมรี าวจบั ในแนวนอนอยูดานบน ยาว 50-60 เซนติเมตร ติดต้ังสูงจากพื้น 1.20-1.30 เมตร 30. โถปสสาวะชายมีราวจับดานขางทั้งสองขางสูงไมนอยกวา 80-100 เซนติเมตร ย่ืน ออกมาจากผนงั 55-60 เซนติเมตร 31. พื้นที่หนาโถปสสาวะควรมีท่ีวางอยางนอย 90 x 120 เซนติเมตร เพื่อการเขาถึง ดา นขา งท้งั สองดา นของโถปส สาวะควรเปนทโ่ี ลง คันกดชักนํ้า ควรติดต้ังอยูท่ี 1.10 เมตร เหนือพ้ืน ราบหรืออาจใชร ะบบอตั โนมัติ หนวย : มลิ ลเิ มตร

27 ระบบสัญญาณเสียงและสัญญาณแสงขอความชวยเหลือ สาํ หรบั คนพิการ 32. ตดิ ตง้ั ระบบสัญญาณแจง เหตุฉกุ เฉนิ ขอความชวยเหลอื ระบบแสงและเสียงจากภายในสู ภายนอก โดยตอ งใชง านไดส ะดวก ปุมกดมสี แี ดงหรอื สีตดั กบั พืน้ หลงั (ขอ แนะนํา ควรตดิ ตง้ั ปุมกดสูง จากพนื้ 80-90 เซนตเิ มตร และมรี ะบบเชือกดงึ ปลายสงู จากพ้ืน 25-30 เซนติเมตร) 33. ตดิ ตง้ั ระบบสัญญาณแสงและเสยี งทีแ่ จง เหตจุ ากภายนอกสูภายใน

28 5. บริการขอ มูล–เคานเ ตอรต ดิ ตอ 1. มเี คานเ ตอรติดตอ ทค่ี นพกิ ารสามารถเขา ถึงได 2. เคานเตอรต ิดตออยูในตาํ แหนง ที่สามารถสังเกตไดงาย ความสูงเคานเตอร สูงไมเกิน 80 เซนติเมตร 3. มีพ้ืนท่ีวางใตเคานเตอรใหผูใชวีลแชรสามารถเขาประชิดไดโดยไมมีส่ิงกีดขวาง โดย สวนลางใตเ คานเ ตอรควรมีความสูง 70-75 เซนติเมตร 4. สว นบนเคานเ ตอรท่ีย่ืนออกมาหรอื มพี ้นื ทีว่ า งใตเ คานเ ตอร ลกึ ไมนอ ยกวา 40 เซนตเิ มตร ≥40 70-75 75-80 หนว ย : เซนติเมตร

29 กลุมที่ 2 ส่งิ อาํ นวยความสะดวกในอาคาร ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25487 ไดแก 1. ทีจ่ อดรถ 2. ทางลาด 3. ปายสญั ลกั ษณ 4. หองน้ํา 5. ลฟิ ตโดยสาร 6. บนั ได 7. ราวจบั 8. ประตู 9. ทางสญั จรระหวางอาคาร และทางเช่อื มระหวางอาคาร 10. พื่นผิวตา งสัมผสั 11. โรงมหรสพ หอประชมุ และโรงแรม หมายเหตุ : ส่ิงอํานวยความสะดวกในอาคารตามกฎกระทรวงน้ีมีทั้งสิ้น 11 ขอ คือเปน รายการในกลุมท่ี 1 = 4 ขอ (ขอ 1-4) ไดแก ท่ีจอดรถ ทางลาด ปายสัญลักษณ และหองน้ํา ซ่ึงได กลาวในกลุม ท่ี 1 แลว ที่เพ่มิ เตมิ จากกลุมท่ี 1 = 7 ขอ (ขอ 5-11) 7 กฎกระทรวงกําหนดส่ิงอํานวยความสะดวกในอาคารสาํ หรับผูพกิ ารหรอื ทพุ พลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 กระทรวงมหาดไทย

30 1. ลฟิ ตโดยสาร 1. ประตูกวา งสุทธไิ มนอ ยกวา 90 เซนตเิ มตร 2. มีระบบแสงเพอ่ื ปองกันไมใหประตหู นีบผโู ดยสาร 3. มีระบบการทํางานที่ทําใหลิฟตเลื่อนลงจอดที่ชั้นระดับพื้นดิน (Ground Floor) และ ประตลู ฟิ ตตองเปด โดยอัตโนมัติ เม่อื ไฟฟาดบั 4. มีพื้นผิวตางสัมผัสหนาประตูลิฟต ขนาด 30 x 90 เซนติเมตร ติดหางจากประตู 30 เซนตเิ มตร 5. มีปุมกดลิฟตสําหรับคนพิการโดยติดต้ังในระดับท่ีวีลแชรสามารถใชงานไดสะดวกทั้ง ภายในและภายนอกลิฟต ปุมกดสูง 90-120 เซนติเมตร ปุมกดภายในหางจากมุมไมนอยกวา 40 เซนติเมตร 6. ปุมกดมีอักษรเบรลลกํากับไวทุกปุม และมีขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 2 เซนตเิ มตร เม่อื กดปุม จะตองมเี สยี งดงั และมแี สง 7. ปุมกดควรจะมีสีเห็นไดช ดั แตกตางจากสิ่งรอบๆ เพือ่ งา ยตอการใช อาจเปน ปุมเรืองแสง 8. มีตวั เลขและระบบเสียงแจงเตือนและบอกช้ันตางๆ ภายในลิฟต เม่ือลิฟตหยุด และขึ้น หรือลง 9. ในกรณีทลี่ ิฟตขัดขอ งใหมีทั้งเสยี งและแสงไฟเตอื นภยั เปนไฟกะพรบิ สแี ดงเพ่ือใหคนพกิ าร ทางการเหน็ และคนพกิ ารทางการไดยินทราบ 10. มีไฟกะพริบสีเขียวเปนสัญญาณใหคนพิการทางการไดยินทราบวาผูที่อยูขางนอก รบั ทราบแลววา ลฟิ ตข ดั ขอ งและกําลงั ใหค วามชวยเหลอื อยู

31 11. มโี ทรศพั ทแ จง เหตุฉุกเฉินภายในลฟิ ตซ ึ่งสามารถติดตอกบั ภายนอกได ตอ งอยสู ูงจากพื้น 90-120 เซนติเมตร 12. หองลฟิ ตข นาดไมนอยกวา 1.10 x 1.40 เมตร 13. ควรมรี าวจบั กลม เสนผานศูนยก ลาง 3-4 เซนตเิ มตร (หรอื 1.5 น้ิว) 3 ดา น 14. เม่อื เปด ประตลู ฟิ ตต องมหี มายเลขบอกชั้นอยทู ี่ผนัง ทมี่ องเหน็ ได 15. ควรมกี ระจกเงาอยูภายใน ดา นตรงขา มประตูลิฟต หนวย : มิลลเิ มตร

32 2. บันได 1. บันได มีความกวา งไมนอ ยกวา 1.50 เมตร 2. ลกู ตัง้ มคี วามสงู ไมเ กิน 15 เซนติเมตร และไมเ ปดเปนชอ งโลง 3. ลกู นอนมคี วามกวา งไมน อ ยกวา 30 เซนตเิ มตร และตอ งใชวสั ดทุ ี่ไมล ื่น 4. จมูกบนั ได ไมค วรมขี อบท่ีแหลมคม และไมล ่นื มรี ะยะเหลื่อมกันไดไมเกิน 2 เซนติเมตร 5. มพี ้นื ผวิ ตา งสัมผสั กอนทางขึน้ ชานพัก และข้นั สดุ ทาย 6. ควรมีราวจับท้งั สองดาน มีความสูง 2 ระดบั คือ 70 และ 90 เซนตเิ มตร หนว ย : มลิ ลเิ มตร

33 3. ราวจบั 1. มีราวจับทําดว ยวัสดเุ รยี บ มคี วามมั่นคงแขง็ แรง ไมเ ปน อนั ตรายในการจบั และไมล ่ืน 2. ราวจับมคี วามยาวตอเนือ่ ง 3. มลี กั ษณะกลม เสน ผานศูนยก ลาง 3-4 เซนติเมตร (หรือ 1.5 นิว้ ) 4. ตดิ ต้งั หา งจากผนังไมน อยกวา 5 เซนตเิ มตร สูงจากจดุ ยดึ ไมน อ ยกวา 12 เซนติเมตร ผนัง ที่ติดตั้งราวจบั ตอ งเปนผนงั เรียบ ไมคมหรือขรขุ ระ 5. ราวจบั ควรมีสตี ัดกับผนังเพื่อใหคนพิการทางการเหน็ ไดร บั รอู ยางชัดเจน 6. ราวจับสงู จากพน้ื 80–90 เซนตเิ มตร 7. ปลายราวจับ ย่ืนจากจุดเริ่มตนและจุดส้ินสุดของทางลาดไมนอยกวา 30 เซนติเมตร สวนยื่นควรมลี ักษณะขนานกับพน้ื ปลายราวจบั ควรเปน ปลายมน (ขอแนะนํา 30-40 เซนตเิ มตร) ≥5 ≥12 หนวย : เซนตเิ มตร

34 4. ประตู 1. ประตูสามารถเปดและปดไดงาย 2. ในกรณีท่ีประตเู ปน แบบบานผลักหรือเลื่อนตองมีพื้นท่ีวางบริเวณที่ประตูเปดออกโดยมี ขนาดพ้นื ท่วี า ง 1.50 x 1.50 เมตร กวา งเพียงพอสาํ หรบั วีลแชร 3. ประตูท่ีมรี ะบบเปด และปด แบบอตั โนมัติ ควรมีปุม กดทคี่ นพกิ ารสามารถควบคุมการเปด และปด ประตูไดดวยตนเองทงั้ ภายในและภายนอก 4. ชองประตูตองมคี วามกวางสุทธไิ มน อ ยกวา 90 เซนติเมตร 5. ในกรณีที่ประตูเปนแบบบานเลื่อนหรือแบบบานเปดใหมีมือจับในแนวดิ่งทั้งดานในและ ดานนอกของประตซู ง่ึ มีปลายดา นบนสงู จากพ้นื ไมนอยกวา 1.00 เมตร และปลายดา นลางไมเกิน 80 เซนติเมตร

35 6. ในกรณีท่ีเปนประตูบานเปดออกใหมีราวจับ ตามแนวนอนดานในประตู และในกรณีที่ เปนประตบู านเปดเขา ใหม ีราวจบั ตามแนวนอนดานนอกประตู ราวจับดังกลาวใหสูงจากพ้ืน 80-90 เซนติเมตร ยาวไปตามความกวางของประตู 7. ในกรณีท่ีประตูเปนกระจกหรือลูกฟกเปนกระจก ใหติดเคร่ืองหมายหรือแถบสีที่ สังเกตเห็นไดชดั 8. อปุ กรณเปดปด ประตูตองเปน ชนดิ กานบดิ หรือแกนผลกั อยูสูงจากพน้ื ไมน อ ยกวา 1 เมตร แตไ มเกิน 1.20 เมตร 9. ตอ งไมต ดิ ตงั้ อปุ กรณชนดิ ท่ีบงั คับใหบ านประตปู ดไดเ อง (ไมใชกับประตูหนีไฟและประตู ปด/เปดอตั โนมตั )ิ 5. ทางสญั จรระหวางอาคาร และทางเชื่อมระหวางอาคาร 1. พ้ืนผวิ ทําจากวัสดุไมล น่ื เรยี บเสมอกนั 2. ไมม สี ิง่ กดี ขวาง 3. มคี วามกวาง ไมน อยกวา 1.50 เมตร 4. ทางเชอื่ มระหวางอาคารตองมผี นงั หรอื ราวกนั ตกท้ัง 2 ดา น 5. อยูในระดับเดยี วกับถนนภายนอกอาคารหรอื พืน้ ลานจอดรถ ในกรณที อี่ ยูตา งระดบั ตองมี ทางลาด 6. ถา เปน ทางลาด มีความชนั ไมเ กิน 1:10 (ขอ แนะนาํ คือ 1:12)

36 7. หากมฝี าทอ ระบายน้ํา ตองมขี นาดรชู องตะแกรงกวา งไมเกิน 1.30 เซนตเิ มตร หรือมแี ผน โลหะปด อยางมั่นคง 8. รูชองตะแกรงจะตอ งขวางแนวทางเดนิ 9. ปา ยและสง่ิ กดี ขวางทีอ่ ยเู หนือทางเดนิ ตองสูงกวาพืน้ ทางเดนิ ไมนอยกวา 2 เมตร 10. บริเวณทางแยกตองมพี ื้นผวิ ตางสัมผสั 11. กรณที ่มี สี งิ่ กดี ขวางที่จําเปนบนทางเดิน มีการจัดใหอยูในแนวเดียวกัน โดยไมกีดขวาง ทางเดนิ และจัดใหม พี นื้ ผวิ ตางสัมผสั หรือมกี ารกั้นเพ่ือใหท ราบกอนถึงสิ่งกีดขวางการก้ัน อยูหา งจาก สง่ิ กดี ขวางไมนอ ยกวา 30 เซนติเมตร หนวย : มลิ ลเิ มตร

37 6. พืน้ ผวิ ตางสัมผัส (Tactile Surface) พื้นผิวตางสัมผัส คือ พื้นผิวท่ีมีผิวสัมผัสและสีซึ่งมีความแตกตางไปจากพ้ืนผิวและสีใน บริเวณขา งเคียง รูปแบบอาจจะเปน แผน กระเบอื้ ง หรือพนื้ ทรายลา งทม่ี พี ้นื ผิวและสีแตกตางจากพื้น บรเิ วณขางเคียงก็ได โดยทว่ั ไปเราจะพบเหน็ พื้นผิวตา งสัมผัส 2 ชนดิ คือ ก. พนื้ ผิวตางสมั ผสั ชนดิ เตือน (Warning Tactile/ Block) ข. พื้นผิวตางสมั ผสั ชนิดนาํ ทาง (Guiding Tactile/ Block) ก. พืน้ ผวิ ตา งสัมผสั ชนิดเตอื น (Warning Tactile/ Block) ใหมีพืน้ ผิวตา งสมั ผัสชนดิ เตือน ใน บริเวณพื้นที่ดงั ตอ ไปนี้ 1. ทางข้นึ และทางลงของทางลาด 2. ทางข้นึ และทางลงของบันได 3. พืน้ ดา นหนา และดา นหลังของประตูทางเขา อาคาร 4. พนื้ ดานหนา ของประตหู อ งนาํ้ 5. พ้ืนท่หี นาประตูลฟิ ต

38 30 30 30 30 หนว ย : เซนติเมตร ลกั ษณะการติดต้งั พ้ืนผิวตางสัมผัสชนิดเตือน กวาง 30 เซนติเมตร ความยาวเทากับและขนานไปกับ ความกวางของชอ งทางเดินของพน้ื ตางระดับ ทางลาด บันได หรอื ประตู ขอบของพ้ืนผิวตางสัมผัสชนิดเตือน อยูหางจากจุดเริ่มตนของทางขึ้นหรือทางลงของพื้น ตางระดับ ทางลาด บนั ได หรือประตู 30-35 เซนตเิ มตร ในกรณขี องสถานขี นสง มวลชน ใหข อบนอกของพ้ืนผวิ ตางสัมผัสชนิดเตือนอยูหางจากขอบ ของชานชาลา ไมน อยกวา 60-65 เซนตเิ มตร

39 ข. พน้ื ผวิ ตา งสัมผัสชนิดนาํ ทาง (Guiding Tactile/ Block) ควรใชสําหรบั นาํ ทางคนพิการทางการเห็นไปสูจุดหมายท่ีสําคัญในพ้ืนที่ เชน บริเวณพ้ืนท่ี หรือโถงอาคารท่ีกวางๆ ไมสามารถใชปลายไมเทาขาวแตะขอบผนังอาคารได การติดตั้งพื้นผิวตาง สัมผัสชนิดนําทางนี้ ใชควบคูกับพื้นผิวตางสัมผัสชนิดเตือน โดยจะนําทางไปสูปายใหขอมูล เชน แผนผงั ตางสัมผัส หรอื จดุ บริการขอ มลู T-Shape +Shape L-Shape S-Shape Warning Tactile/ Block Guiding Tactile/ Block

40 7. โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม โรงมหรสพ หอประชมุ ตองจัดใหมีพ้ืนที่เฉพาะสําหรับวีลแชรอยางนอยหนึ่งท่ีทุกๆ จํานวน 100 ท่ีนั่ง โดยพ้ืนท่ี เฉพาะนเ้ี ปน พน้ื ทีร่ าบขนาดความกวาง ไมนอยกวา 90 เซนติเมตร ความยาวไมนอยกวา 1.40 เมตร อยใู นตําแหนง ทเี่ ขาออกได 140 90 หนวย : เซนติเมตร

41 โรงแรม 1. โรงแรมที่มีหองพักต้ังแต 100 หองข้ึนไป ตองจัดใหมีหองพักที่คนพิการเขาใชได ไมนอ ยกวา 1 หอ ง ตอ จาํ นวนหองพกั ทุก 100 หอ ง 2. หอ งพกั ควรอยูใกลบ นั ไดหรอื บันไดหนไี ฟหรือลิฟตด บั เพลิง 3. มีแผนผังตางสมั ผัสของอาคารในชนั้ ทม่ี หี อ งพักคนพกิ าร มีอกั ษรเบรลล ผงั แสดงตาํ แหนง ของหองพกั บันไดหนีไฟ และทศิ ทางไปสูบนั ไดหนไี ฟโดยตดิ ไวที่กงึ่ กลางประตูดานในและอยูสูงจาก พน้ื 1.30-1.70 เมตร 4. มสี ัญลกั ษณรูปคนพกิ ารตดิ ไวท ่ีประตูดานหนาหอ งพกั 5. กรณฉี ุกเฉนิ มสี ญั ญาณแสงและเสยี งแจงภัยหรอื เรียกใหผูทอี่ ยูภายนอกทราบวา มีคนอยู ภายในหองพัก 6. มสี ญั ญาณบอกเหตุหรือเตือนภัยท้ังสัญญาณเสียงและแสง และระบบสั่นสะเทือนติดไว บรเิ วณทนี่ อน 7. มีสวติ ชส ญั ญาณกริง่ เรียกจากภายนอก มีลักษณะทง้ั แสงเสยี งและระบบส่นั สะเทอื น 8. ภายในหอ งไมควรมีพ้นื ตา งระดับ มีชองทางเดินกวางไมนอยกวา 90 เซนติเมตร เพื่อให วลี แชรส ามารถเคล่ือนท่ไี ดโดยรอบ 9. ประตกู วา งสทุ ธอิ ยา งนอ ย 90 เซนติเมตร พรอ มมอื จับแบบกานโยกที่ใชงานสะดวก 10. ตเู สื้อผา ควรมีราวแขวนผาสูงในระดบั ทีเ่ หมาะสม ใชง านสะดวก 11. โตะ เครื่องแปง และโตะเขียนหนงั สือควรสงู 75-80 เซนติเมตร พื้นท่ีใตโตะโลง วีลแชร สามารถเขาไดโ ดยสะดวก

42 ที่อาบน้ําแบบฝกบวั 1. ประตูหองน้ําเปนบานเลอ่ื น กวางไมน อยกวา 90 เซนตเิ มตร พรอ มมือจบั ท่ใี ชงานสะดวก 2. มพี ื้นท่วี า งขนาดความกวางไมน อยกวา 1.10 x 1.20 ตารางเมตร 3. มที ีน่ ง่ั สําหรบั อาบน้าํ ท่มี ีความสงู จากพ้นื 45-50 เซนติเมตร 4. มีราวจับรูปตัว L ที่ดานขางของท่ีน่ัง แนวนอนมีความสูงจากพ้ืนไมนอยกวา 65-70 เซนตเิ มตร และยาว 65-70 เซนตเิ มตร ราวจับแนวด่ิงยาวไมนอยกวา 60 เซนติเมตร ตอจากปลาย ราวจบั แนวนอน หนวย : เมตร

43 5. ฝกบวั ควรเปนแบบที่ปรบั ระดับและถอดได ตดิ ตง้ั ทีค่ วามสงู จากพื้นไมเ กิน 1.20 เมตร ชอ งระบายนาํ้ ท่พี นื้ ควรอยตู รงมุมของหองอาบนา้ํ เพ่อื ทจ่ี ะสามารถปแู ผน ยางกันลนื่ บนพน้ื หอ งได 6. สิ่งของ เครื่องใชห รืออุปกรณภายในทอ่ี าบนาํ้ ใหอยูสงู จากพ้นื 30-120 เซนตเิ มตร ≤120 65-70 45-50 หนวย : เซนตเิ มตร

44 ท่อี าบนาํ้ แบบอา งอาบน้าํ 7. มรี าวจับในแนวดงิ่ อยูหางจากผนังดานหัวอางอาบน้ํา 60 เซนติเมตร โดยปลายดานลาง อยูส งู จากพ้ืน 65-70 เซนติเมตร มคี วามยาวอยา งนอย 60 เซนตเิ มตร 8. มีราวจบั ในแนวนอนที่ปลายของราวจบั ในแนวดิง่ และยาวไปจนจรดผนังหองอาบน้ําดาน ทา ยอางอาบน้ํา 9. ราวจบั ในแนวนอนและราวจบั ในแนวด่ิงตอเนือ่ งกนั ได 10. ส่ิงของ เครื่องใชหรืออุปกรณภายในที่อาบนํ้าใหอยูสูงจากพื้น 30-120 เซนติเมตร หนว ย : มิลลิเมตร

45 กลมุ ที่ 3 อปุ กรณ ส่ิงอํานวยความสะดวก ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2555 ไดแ ก 1. ทีจ่ อดรถสําหรบั คนพกิ าร 2. ทางลาด 3. ปายแสดงอปุ กรณห รอื สง่ิ อาํ นวยความสะดวกสําหรับคนพกิ าร 4. หองนาํ้ สาํ หรับคนพิการ 5. สถานที่ตดิ ตอหรือประชาสัมพนั ธสาํ หรับคนพกิ าร 6. ลิฟตส าํ หรบั คนพกิ าร 7. ราวกนั ตกหรือผนงั กันตก 8. ประตสู ําหรบั คนพิการ 9. ทางสัญจรสาํ หรับคนพิการ 10. พ้นื ผิวตางสัมผสั สําหรับคนพิการทางการเหน็ 11. ทน่ี ง่ั สาํ หรับคนพิการหรอื พนื้ ท่สี ําหรับจอดวีลแชร 12. บันไดเลือ่ นสําหรับคนพกิ าร 13. ทางลาดเลอ่ื นหรือทางเล่ือนในแนวราบ 14. ถังขยะแบบยกเคลื่อนท่ไี ด 15. โทรศพั ทส าธารณะสําหรับคนพิการ 16. จดุ บรกิ ารนํา้ ดื่มสําหรบั คนพิการ 17. ตูบรกิ ารเงนิ ดว นสําหรับคนพิการ 18. สัญญาณเสียงและสญั ญาณแสงขอความชว ยเหลือสําหรบั คนพิการ 19. ตไู ปรษณียส าํ หรบั คนพิการ

46 20. พ้นื ที่สาํ หรบั หนีภัยของคนพิการ 21. การประกาศเตือนภัยสาํ หรบั คนพิการทางการเห็น และตัวอักษรไฟวิ่งหรือ สญั ญาณไฟเตือนภยั สาํ หรบั คนพกิ ารทางการไดย ินหรือสอื่ ความหมาย 22. การประกาศขอมูลที่เปน ประโยชนส ําหรับคนพกิ ารทางการเหน็ และตวั อกั ษร ไฟวง่ิ หรือปายแสดงความหมายสําหรบั คนพกิ ารทางการไดยนิ หรือสือ่ ความหมาย 23. เจาหนาที่ซึ่งผานการฝกอบรมและมีคุณสมบัติตรงกับความตองการของ คนพกิ ารแตละประเภทอยา งนอ ยหน่ึงคนเพ่อื ใหบ รกิ ารคนพิการ หมายเหตุ : สิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารตามกฎกระทรวงนม้ี ีทงั้ ส้ิน 23 ขอ เปน รายการในกลุมที่ 1= 5 ขอ (ขอ 1-5) และเปนรายการในกลุมที่ 2 = 5 ขอ (ขอ 6-10) และเปนเร่ืองการบริหารจัดการ 3 ขอ (ขอ 21-23) จงึ จะอธบิ ายรายละเอียด 10 ขอ คือขอ ที่ 11-20 ดังนี้คอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook