วทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม
(1) เรียนสถาปัตยกรรมแลว้ ไดอ้ ะไร (2) จะไปต่ออะไรและทีไ่ หนได้บ้าง (3) พื้นฐานการออกแบบ (4) พื้นฐานการเขียนแบบ (5) สถาปนกิ ของโลก วทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 00
(1) เรียนสถาปัตยกรรมแล้วไดอ้ ะไร วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 01
1. สอนให้เป็นนักวางแผน จัดการเวลา Time 3. สอนให้เป็นนักแก้ปัญหา Problem-Solver Manager / plannerการจัดการเวลาเป็น skill ที่ ขั้นตอนท่ีต้องทาในทุกโครงการ คือ การมองหา ได้มาจากการเรียนคณะน้ีโดยไม่รู้ตัวแม้ว่าในคณะ และเข้าใจปัญหา ของพื้นท่ีโครงการไปจนถึงปัจจัย จะไม่สอน แต่ว่าระบบท่ีบังคับให้เรา “ต้อง ที่อาจจะเก่ียวข้องกับการใช้งานของพ้ืนท่ีหรือการ รอด” ทาให้ต้องหาทางจัดการเวลา และเตรียม ออกแบบ แปลว่า สถาปนิกไม่ได้แค่มองโอกาส คาดการณ์ล่วงหน้า วางแผนนอกจากแปลนอาคาร หรือโลกสวยแต่ต้องเข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้อีก คือ แผนในการจัดการกับงานกลุ่ม งานเด่ียว หรือ ด้วย เพราะปัญหาน่ันคือ โจทย์ และเงื่อนไข ที่มีไว้ แม้แต่ งานออกค่าย และ อนื่ ๆ ใหส้ ถาปนกิ จัดการมัน ดว้ ยการออกแบบ ก า ร อ อ ก แ บ บ คื อ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ความสามารถน้ีแหละ่ ที่ทาให้สถาปนิก ต้องค่อย ๆ สรา้ งระบบ และตรรกะในหัว เพื่อค่อย ๆ คลายปม ทาให้ปญั หาทนี่ ่าเกลียด กลายเปน็ โอกาสท่ีสวยงาม ได้ ลักษณะความคิดน้ีบางทีมันก็ติดไปกับตัวและ เอาไปปรบั ใชก้ ับสิง่ อ่ืน ๆ ในชีวิตได้ด้วย 2. สอนให้เป็นคนมองโลกในแง่ดี นักเรียนรู้โอกาส และนักพัฒนา Optimist / Opportunist สถาปนิกมีหน้าท่ีพิเศษ คือสร้างโอกาส สร้างส่ิง ใหม่ ๆ ใหท้ างเลือกท่คี นอื่นมองไม่เห็น การเป็นคน มองโลกในแง่ดี และเห็นโอกาสในการพัฒนาที่ หลาย ๆ คนอาจจะไม่ทันเห็น ความสามารถนี้จึง เปน็ ความสามารถทย่ี งั พฒั นาต่อไปไมม่ ีท่ีส้นิ สดุ 4. สอนให้มีความคิดสร้างสรรค์ สอนให้เป็นนักคิด Creative Thinker ความคิดสร้างสรรค์ คือ แนว ทางเลือกใหม่ท่ีเกิดข้ึนในการจัดการปัญหา การ พฒั นา ทแี่ ตกตา่ งจากวิธีเดิม ๆ ไม่ใช่แค่เห็นโอกาส และปัญหา แต่สามารถผลิตทางเลือกท่ีพัฒนาให้ วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 02
ทางออกใหม่เกิดข้ึนท่ีดีกว่าทางออกเดิม ๆ อีกด้วย 6. สอนให้เก็บแรงบันดาลใจจากส่ิงรอบกาย เ พ ร า ะ ว่ า ก ร ะ บ ว น ก า ร อ อ ก แ บ บ ท า ใ ห้ เ ร า ใ ช้ Inspiration collector บางทีคาว่าการเก็บแรง ความคิดและหาทางเลือกใหม่ ๆ ความคิด บันดาลมันอาจฟังดู...ติสไป แต่จริง ๆ แล้วมันคือ สร้างสรรค์จึงเกิดขึ้น หลาย ๆ คนจึงอาจจะเห็นว่า การสังเกตการณ์ และให้ความใส่ใจกับส่ิงรอบตัว มีคนจบสถาปัตยกรรมแต่ไปทางานพวก Creative และมองมันในอีกมุมมองที่พอมองแล้วทาให้เอา หรืองานวงการบันเทิง งานดนตรี แม้จะไม่ได้เรียน กลบั มาย้อนคดิ เปรียบเทียบ เปรียบเปรย หรือเอา สายนัน้ ๆ โดยตรงแต่ก็ประสบความสาเร็จได้อย่าง มาอ้างอิงในงานออกแบบ เช่น การได้เดินไปเท่ียว ดี ในสถานที่ท่องเท่ียว เช่น ไปถ้ามา ประสบการณ์ท่ี เดินจากท่ีแคบ ๆ เต้ีย ๆ ในถ้าสักพักในทันใด 5. นักปฏบิ ัติ Executioner เหมือนเป็นเรื่องง่าย ๆ นัน้ เอง ก็มาโผล่ตรงทโ่ี ล่งกว้าง มีแสงธรรมชาติส่อง แต่เป็นเร่ืองที่ยาก คณะนี้สอนให้ทางานเสร็จลุล่วง มาท่ีหัว แรงบันดาลใจจากธรรมชาติเหล่านี้ก็ถูก ในระยะเวลาอันจากัดและเง่ือนไขท่ีตึงเครียด มัน นาไปใช้ในงานสถาปัตยกรรมอย่างมากมาย น่ีคือ เหมือนไม่ใช่เร่ืองใหญ่ในการจะทาอะไรสักอย่างให้ ตัวอย่างเดียว แต่สถาปนิกอาจจะมีความคล้ายกับ เสรจ็ แต่เพราะว่าการทาอะไรสักอย่างให้เสร็จต้อง ศิลปินในแง่นี้ก็ได้ เพราะมีความสามารถชนิดนี้ ใช้ท้ังการบริหารเวลา การบริหารความคิด และ เหมือนกัน ที่ทาให้เรามองและอ่านสิ่งรอบตัว ด้วย ความมุ่งมั่นท่ีจะทามันให้เสร็จ ทาให้มันเกิดข้ึนจริง “เลนส์” ในแบบสถาปนิก ไม่มีการล้มเลิกกลางทาง ต้องไปจนสุดทางเท่านั้น ไม่ว่าจะเผาออกมาเน่า หรืออัดจนออกมาสวยงาม 7. นักเล่าเร่ือง Storyteller จะเรียนจบมาได้ ไม่มี แต่ทุกคนก็ได้ฝึก “ความคิด และ ทัศนคติ” ที่ ใครพลาดโอกาสในการ Present งานออกแบบ เตรยี มพรอ้ มใหเ้ ราออกไปสวู่ ิชาชีพจรงิ ๆ ของตัวเองอยา่ งแนน่ อน แม้จะไมส่ อนตรง ๆ แต่ทา ให้จบออกมาพร้อมความสามารถในการเล่าเร่ือง และนาเสนอความคิดและผลงานของเรา ทุก Project ต้องมี 1-2 รอบ ที่พูดรวมถึงข้ันตอนการ ตรวจแบบร่างต่าง ๆ อีก จากพูดไม่เป็นก็ต้องเป็น อย่างแน่นอน บางคนอาจจะมี skill การ “ขาย” ติดตัวออกไปเลยกม็ ี ซง่ึ จะต้องฝึกฝนเพ่ือเดินเข้าไป เจอลูกค้า ไดอ้ ย่างมัน่ ใจ วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 03
(2) จะไปตอ่ อะไรและทีไ่ หนไดบ้ า้ ง วทิ ยาลยั เทคนคิ สุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 04
สถาปัตยกรรม (Architecture) 1) สาขาสถาปัตยกรรม (Architectural Design) สาขาหลักของคณะสถาปัตยกรรม โดยหลักแล้วจะได้เรียนทางด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมโดย คานึงถึงสภาวะแวดล้อมการใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง และความรู้ทางสาขาวิชาวิศวกรรมที่เก่ียวข้องสาขานี้ ส่วนมากในแตล่ ะมหาวิทยาลยั จะใช้ระยะเวลาการเรียนการสอน 4 ปี จะได้วุฒิการศึกษา ว.ท.บ. หรือ 5 ปี ได้ วุฒิสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑติ (สถ.บ.) (ยกเว้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เรียน 6 ปีได้วุฒิป.โท) สาหรับบาง ท่ใี ชเ้ วลาเรยี น 4 ปี โดยโอกาสในการประกอบอาชีพของสาขาน้ีคอื เป็นสถาปนกิ ออกแบบอาคาร บ้านเรือน 2) สาขาสถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture) เป็นการเรียนในเร่ืองงานสถาปัตยกรรมและงานออกแบบภายใน เป็นวิชาชีพทางด้านการออกแบบที่ เน้นการจัดที่ว่างภายในอาคารเพ่ือประโยชน์ใช้สอย และความงามโดยคานึงถึงสภาพแวดล้อมวัสดุและ เทคโนโลยีในการก่อสร้าง ความรู้ทางวิศวกรรม การประหยัดพลังงานและทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจ สังคม และศิลปวฒั นธรรม เพือ่ ให้การใชส้ อยภายในอาคารเกิดสภาพแวดลอ้ มที่ดีมีคุณภาพเหมาะสมแก่ผู้ใช้อาคารท้ัง ด้านร่างกายระยะเวลาการเรยี นสาขานโ้ี ดยปกตจิ ะใชเ้ วลา 4-5 ปี (ยกเว้น มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์) โอกาสใน การประกอบวชิ าชีพของสาขาน้ี มีสิทธิ์ข้ึนทะเบียนเป็นสถาปนิกออกแบบตกแต่งภายใน หรือ มัณฑนากร เป็น นักออกแบบนทิ รรศการ หรือพพิ ธิ ภณั ฑ์ เป็นต้น วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 05
3) สาขาภมู ิสถาปตั ยกรรม (Landscape Architect) เป็นสาขาที่เน้นทางด้านการปรับแต่งส่ิงแวดล้อมของมนุษย์และธรรมชาติให้มีความสมดุลกัน ศึกษา ด้านสุนทรียภาพและการใช้สอยของเมืองและที่อยู่อาศัยของมนุษย์ รวมถึงออกแบบสวนสาธารณะ สวนสัตว์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ ปุา ต้นน้า ตลอดจนการอนุรักษ์โบราณสถานท่ีสาคัญทางประวัติศาสตร์ระยะเวลาการ เรียนสาขาน้ีโดยปกติใช้เวลา 5 ปี โอกาสในการประกอบวิชาชีพเป็นนักออกแบบภูมิทัศน์ เช่น สวนสาธารณะ สวนสัตว์ อควาเรียม หรือ Out Door Space ของอาคารต่างๆ จนถึงสวนตามบ้านขนาดเล็ก รวมทั้งเป็น ผเู้ ชย่ี วชาญทางด้านต้นไมป้ ระดับตกแต่ง 4) สาขาออกแบบอตุ สาหกรรม หรือ ศิลปอตุ สาหกรรม (Industrial Design) สาหรับสาขาน้ีมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Industrial Design หรือ ID โดยสาขาน้ีจะมีชื่อเรียกและ สังกัดคณะแตกต่างกันไปตามแต่ละมหาวิทยาลัย อย่างเช่นที่จุฬาฯ จะมีสาขาวิชาย่อย ประกอบไป ด้วย Product Design หรือ นักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ Mass Production เช่น การออกแบบ รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟูา ตลอดจนสิ่งของใกล้ตัวทุกชนิดจะต้องผ่านการออกแบบโดยนักออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสิ้น Textile Design หรือนักออกแบบลายผ้า ออกแบบแฟช่ัน อาชีพสไตล์ลิสต์ (Stylist)Interior Design หรืออาชีพมัณฑนากรออกแบบตกแต่งภายใน นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ นักออกแบบนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ เป็นต้นGraphic Design นักออกแบบกราฟฟิก นักออกแบบโฆษณาหรืออาร์ตไดเรกเตอร์ (Art Director) Ceramics Design นกั ออกแบบเซรามกิ ส์ เชน่ การออกแบบสขุ ภณั ฑ์ เปน็ ต้น วิทยาลัยเทคนิคสรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 06
5) สาขาสถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture) เป็นสาขาท่ีเรียนทางด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย ศึกษาแหล่งท่ีมาอิทธิพลขององค์ประกอบ สถาปัตยกรรมไทยศึกษา และฝึกเขียนลายไทยชนิดต่างๆ ตั้งแต่ง่ายไปจนถึงการบรรจุลายลงบนส่วนประกอบ สถาปตั ยกรรมให้ถกู ตอ้ งตามหน้าที่ และสามารถออกแบบสถาปัตยกรรมไทยให้เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ินและ สังคมปัจจุบันระยะเวลาการเรียนการสอน ใช้เวลา 5 ปี มีสิทธิ์ในการสอบใบประกอบวิชาชีพสถาปนิก อาชีพ สถาปนิกออกแบบอาคาร บ้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิง สถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ินของประเทศไทย เช่น ศาสนสถาน หรือเรือนไทยภาคต่างๆ ซ่ึงโอกาสในการประกอบวิชาชีพ ค่อนข้างจะดีเพราะผู้เชียวชาญทางด้านน้ีมีน้อย นอกจากจะสามารถออกแบบสถาปตั ยกรรมไทยไดแ้ ล้ว ยงั สามารถออกแบบเรือนไทยประยุกต์เช่นโรงแรง หรือ รีสอร์ตสไตล์ไทยๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 6) สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง (Urban Architecture) ระยะเวลาการเรียนใช้เวลา 5 ปี เป็นหลักสูตรท่ีสอนเกี่ยวกับการวางผังเมืองให้ดีและมีประโยชน์ สาขาสถาปัตยกรรมผังเมืองเหมาะสมกับน้องๆ ที่มีความคิดสร้างสรรค์และมีจินตนาการ เพราะการทางาน เกี่ยวกับผังเมืองนั้นจะต้องคานึงถึงการออกแบบเพ่ือจัดระเบียบภูมิทัศน์ของบ้านเมือง อนุรักษ์และฟ้ืนฟูเมือง เก่า นอกจากนแี้ ลว้ จะตอ้ งวางแผนผังเมอื งเพื่อไม่ให้เสีย่ งต่อภัยพบิ ตั ติ ่าง ๆ อกี ดว้ ย แนวทางการศกึ ษาต่อ วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 07
มหาวิทยาลัยรัฐบาล 1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมสาขาสถาปัตยกรรมไทยสาขาสถาปัตยกรรมภายใน> หลักสูตรการผังเมือง บณั ฑติ (ผ.บ.) เรยี น 5 ปีสาขาสถาปตั ยกรรมผงั เมือง> หลักสตู รภูมิสถาปัตยกรรมบณั ฑิต ( ภ.สถ.บ. ) เรียน 5 ปีสาขาภูมิสถาปัตยกรรม > หลักสูตรนานาชาติหลักสุตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) สาขาออกแบบ สถาปตั ยกรรม (INDA) เรียน 4 ปหี ลกั สตู รศลิ ปศาสตรบ์ ัณฑติ (ศศ.บ.) สาขาออกแบบนเิ ทศศิลป์ เรียน 4 ปี 2. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) สาขาสถาปตั ยกรรม เรียน 5 ปี> หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (ภ.สถ.บ.) สาขาภูมิสถาปัตยกรรม เรยี น 5 ปี 3. มหาวทิ ยาลัยศิลปากร คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมสาขาสถาปตั ยกรรมไทย 4. มหาวิทยาลยั เชยี งใหมค่ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปสี าขาสถาปตั ยกรรม 5. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง > หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) สาขาสถาปัตยกรรม เรียน 4 ปี*ศึกษาต่ออีก 2 ปีได้รับวุฒิสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (ป.โท ) และสามารถขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้> หลักสูตรสถาปัตยกรรมภายในบัณฑิต (สภ.บ.) สาขา สถาปัตยกรรมภายใน เรียน 4 ปี สาขาภูมสิ ถาปัตยกรรมสาขาผงั เมอื ง 6. มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลกคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรยี น 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรม 7. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผงั เมอื งและนฤมิตศิลป์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรม ศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมสาขาสถาปัตยกรรมภายในสาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง และชุมชน 8. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบส่ิงแวดล้อม เปิดสอน 2 ระดับคือ 1.ระดับปริญญาตรี > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรม สาขาภูมิสถาปัตยกรรม> หลักสูตรเทคโนโลยีภูมิทัศน์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ เรียน 4 ปี2.ระดับ ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนื่อง รับผ้จู บ ปวส.) > หลกั สตู รเทคโนโลยภี มู ิทัศนบ์ ณั ฑิต สาขาเทคโนโลยภี ูมทิ ัศน์ เรียน 2 ปี หรือเทียบเขา้ เรียน 9. มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ จ.นครศรีธรรมราชสานักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ เปิดสอน หลักสตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบ์ ณั ฑิต (สถ.บ.) มี 2 สาขาสาขาสถาปตั ยกรรมสาขาการออกแบบอุตสาหกรรม วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 08
10. มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรม สาขาออกแบบอุตสาหกรรม 11. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ> หลักสูตร สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมสาขาสถาปัตยกรรมภายในสาขาศิลป อุตสาหกรรม 12. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตร สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต ( สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมสาขาสถาปัตยกรรมภายในสาขาศิลป อตุ สาหกรรม 13. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะศิลป์ประยุกต์และการออกแบบ> หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปมี ี 4 สาขา สถาปัตยกรรม , ภูมิสถาปตั ยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน,สถาปตั ยกรรมผงั เมอื ง 14. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมสาขาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาออกแบบอุตสาหกรรม> หลกั สูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) ต่อเน่ือง รบั ปวส. เรยี น 2-3 ปสี าขาเทคโนโลยสี ถาปัตยกรรม 15. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์วิทยาเขตศาลายาคณะวิศวกรรมศาสตร์และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม> หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) ต่อเน่อื ง รบั ปวส. เรียน 2-3 ปสี าขาเทคโนโลยสี ถาปตั ยกรรม 16. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พ้ืนท่ีพายัพ จ.เชียงใหม่คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม ศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมสาขา สถาปตั ยกรรมภายในสาขาภูมสิ ถาปตั ยกรรม 17. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ.สงขลาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตร สถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมสาขาการจัดการผังเมืองสาขาภูมิ สถาปัตยกรรม 18. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชสุวรรรภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตร สถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมสาขาการจัดการผังเมืองสาขาภูมิ สถาปตั ยกรรม 19. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมาคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรม ศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมสาขา สถาปตั ยกรรมภายในสาขาการจดั การผงั เมอื งสาขาภูมิสถาปัตยกรรม วทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 09
20. มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม > หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปตั ยกรรมสาขาการออกแบบผงั ชุมชน มหาวิทยาลัยเอกชน 1. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปตั ยกรรม 2. มหาวิทยาลัยรังสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปัตยกรรมคณะศิลปะและการออกแบบ> หลักสูตรศิลปบัณฑิต (ศ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาออกแบบ ภายใน 3. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรยี น 5 ปสี าขาสถาปัตยกรรม 4. มหาวิทยาลัยศรีปทุมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปสี าขาสถาปัตยกรรม> หลักสตู รศิลปกรรมศาสตร์บณั ฑิต (ศป.บ.) เรยี น 4 ปีสาขาออกแบบภายใน 5. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (สถ.บ.) เรียน 5 ปีสาขาสถาปตั ยกรรมสาขาสถาปตั ยกรรมภายใน 6. สถาบันอาศรมศิลป์ (โดยมลู นิธโิ รงเรียนรุ่งอรุณ) เปิดสอนระดับมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชน และสิง่ แวดล้อม วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 10
(3) พื้นฐานการออกแบบ วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 11
สถาปัตยกรรม (Architecture) เปน็ ศลิ ปะที่เก่ียวกบั ส่ิงกอ่ สรา้ ง ซงึ่ ตอ้ งมีการออกแบบการเขียน แบบการวางแผน และการคานวณโครงสร้างการก่อสร้างท่ีสามารถสมั ผัสรับรไู้ ดท้ างสายตา และการจบั ต้องได้ รูปทรงส่วนใหญ่ในงานสถาปัตยกรรมจะประกอบไปดว้ ยรูปทรงเรขาคณติ (Geometrical Form) ได้แก่ รปู ทรงกลม รูปทรงสามเหล่ยี ม และรูปทรงสเ่ี หลี่ยมตา่ ง ๆ สถาปัตยกรรมต้องมีการกาหนดพ้ืนทว่ี า่ งในอากาศ เชน่ พ้นื ดนิ พ้นื น้า และสามารถสมั ผสั รับร้จู ับตอ้ งได้ถึงรูปทรง 3 มติ ิ ไดแ้ ก่ บ้านเรือน อาคารต่าง ๆ วดั โบสถ์ สะพาน อนสุ าวรีย์ เปน็ ต้น คณุ ค่าของสถาปตั ยกรรม ขึ้นอย่กู ับองค์ประกอบ ดังนี้ 1. การจัดสรรบริเวณทวี่ ่างให้สัมพันธก์ นั ของส่วนตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก 2. การจัดรปู ทรงทางสถาปัตยกรรมให้เหมาะสมกบั ประโยชนใ์ ช้สอย และส่ิงแวดลอ้ ม 3. การเลือกใชว้ ัสดุใหเ้ หมาะสมกลมกลนื จุดประสงค์ของการสร้างสถาปตั ยกรรม ได้แก่ 1. เปน็ ท่อี ยู่อาศยั 2. ใช้เป็นท่พี ักอาศยั ชั่วคราว โดยมงุ่ เนน้ ความสวยงามประกอบการใชส้ อยภายในอาคาร เช่น โรง ภาพยนตร์ สนามกีฬา 3. เป็นท่ยี ึดเหนี่ยวจติ ใจหรอื สิ่งทคี่ วรแก่การยกย่อง โดยเนน้ ความงามอย่างวิจติ รพสิ ดาร เพ่ือ ตอบสนองอารมณ์และจติ ใจ ในดา้ นความเช่ือความศรทั ธาต่อศาสนา 4. เป็นศนู ย์รวมจิตใจของประชาชนท่มี ีตอ่ พระมหากษตั ริย์ ทง้ั เปน็ ที่อยอู่ าศัยและท่พี ักในการทาพิธี ต่าง ๆ สถาปัตยกรรมแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ สถาปตั ยกรรมเปิด (Open Architecture) เป็นสง่ิ กอ่ สร้างท่ีประชาชนสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ ได้ เช่น อาคารบา้ นเรอื น โรงแรม โบสถ์ ฯลฯ จึงต้องจดั สภาพตา่ ง ๆ ใหเ้ อ้อื อานวยต่อการอย่อู าศัยของมนุษย์ เชน่ แสงสวา่ ง และการระบายอากาศ สถาปัตยกรรมปิด (Closing Architecture) เป็นสงิ่ กอ่ สร้างอนั เน่ืองมาจากความเชื่อถือตา่ ง ๆ จงึ ไม่ต้องการใหค้ นเข้าไปอาศยั อยู่ เช่น สุสาน อนุสาวรยี ์ เจดยี ต์ ่าง ๆ สิง่ กอ่ สร้างแบบนจ้ี ะประดับประดาให้มี ความงามมากน้อยตามความศรัทธาเชื่อถือ สถาปัตยกรรมเป็นงานทศั นศลิ ปท์ ่ีคงสภาพอยู่ไดน้ านทีส่ ดุ องคป์ ระกอบทเ่ี ปน็ พื้นฐานในการสรา้ งงานศลิ ปะ องคป์ ระกอบที่เป็นพ้ืนฐานในการสรา้ งงานศลิ ปะประกอบด้วย 1) จดุ (point) 2) เส้น (line) 3) รปู ร่าง รูปทรง มวล (shape, form, mass) 4) ลักษณะผวิ (texture) 5) สว่ นสัด (proportion) 6) สี (color) วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 12
7) น้าหนกั หรือค่าความอ่อนแก่ (tone) 8) แสงและเงา (light and shape) 9) ท่วี า่ ง (space) จุด (point) จดุ (point) เปน็ ส่ิงทปี่ รากฏบนพ้ืนระนาบทีม่ ีขนาดเล็กท่ีสุด ไมม่ คี วามกว้าง ความยาว ความสูง ความ หนา หรอื ความลึก (แต่บางครั้งการจุดด้วยอุปกรณ์ที่มีขนาดของหัวสมั ผสั ใหญ่ เช่น สีเมจกิ พู่กัน ฯลฯ ก็ทาให้ จุดมขี นาดใหญ่และเกดิ ความกว้างความยาวขึ้นได้) เราสามารถพบเหน็ จดุ ไดโ้ ดยท่วั ไปในธรรมชาติ เช่น ดวงดาวบนท้องฟาู บนส่วนตา่ ง ๆ ของผิวพืชและ สตั ว์ บนกอ้ นหิน พ้ืนดิน ฯลฯ จดุ จัดเป็นองค์ประกอบทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานขององค์ประกอบอน่ื ๆ เชน่ จดุ ทาให้เกดิ เส้น รูปร่าง รูปทรง คา่ ความอ่อนแก่ แสงเงา เปน็ ต้น ศลิ ปินจะใชจ้ ดุ ในการเริม่ ต้นสร้างสรรค์งาน หรอื อาจใชจ้ ุดอยา่ งเดียวในการสร้างสรรค์งาน หรืออาจใช้ รว่ มกบั องค์ประกอบอ่นื ๆ ในการสร้างสรรคง์ านกไ็ ด้ แล้วแตค่ วามคดิ และจินตนาการของศลิ ปิน จดุ สามารถ ทาใหเ้ กิดคา่ ความอ่อนแก่ได้ ถ้าจุดน้นั มจี านวนมากน้อยหรือความหนาแน่นแตกตา่ งกัน นอกจากนี้ การสรา้ ง จดุ ให้เกดิ ค่าน้าหนักท่ีไม่เท่ากันยังสามารถทาให้เกดิ ความรู้สกึ ตืน้ ลึกหรอื มีมติ ิได้ เส้น (line) เสน้ (line) หมายถึงรอยขดี เขียนด้วยวัสดุอปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่ีสร้างให้ปรากฏบนพื้นระนาบ หรือการนา จดุ มาเรยี งต่อกันเปน็ จานวนมากโดยมีความยาวและทศิ ทาง และยังหมายถึงส่วยขอบรอบนอกของวตั ถุอีกด้วย ความรสู้ กึ ที่มีต่อเส้น เส้นเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างสรรค์ เส้นสามารถแสดงให้เกิดความหมายของภาพ และให้ความรู้สึกได้ตามลักษณะของเส้นท่ีเป็นพ้ืนฐาน ได้แก่ เส้นตรงและเส้นโค้งจากเส้นตรงและเส้นโค้ง สามารถนามาสร้างใหเ้ กิดเปน็ เส้นใหม่ทใ่ี หค้ วามร้สู กึ แตกต่างกนั ออกไปได้ดงั น้ี วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 13
ลักษณะของเสน้ เส้นมจี ดุ เดน่ ทนี่ ามาใช้ไดห้ ลากหลายรปู แบบ ทาให้เกิดรูปร่างรูปทรงตา่ ง ๆ มากมายเพ่ือตอ้ งการสื่อ ให้เกดิ ความรู้สึกทางด้านอารมณ์ จากการสร้างสรรค์ของงาน 1) เส้นตัง้ หรือ เส้นดิง่ ให้ความรู้สึกทางความสงู สง่า ม่ันคง แขง็ แรง หนกั แนน่ เป็นสัญลักษณข์ อง ความซื่อตรง 2) เสน้ นอนใหค้ วามรู้สกึ ทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ น่งิ ผอ่ นคลาย 3) เส้นเฉียงหรือ เสน้ ทแยงมุม ใหค้ วามร้สู กึ เคลอื่ นไหว รวดเร็ว ไมม่ น่ั คง 4) เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซก แบบฟันปลาให้ความรู้สึก เคลื่อนไหว อย่างเป็นจังหวะ มีระเบียบ ไม่ ราบเรียบ นา่ กลวั อันตราย ขัดแยง้ ความรนุ แรง วิทยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 14
5) เสน้ โคง้ แบบคลนื่ ให้ความร้สู ึก เคลอ่ื นไหวอย่างช้า ๆ ลนื่ ไหล ต่อเนอ่ื ง สุภาพอ่อนโยน นมุ่ นวล 6) เสน้ โคง้ แบบก้นหอยใหค้ วามรู้สึกเคล่ือนไหว คล่ีคลาย หรือเติบโตในทิศทางท่ีหมุนวน ถ้ามองเข้า ไปจะเห็นพลงั ความเคล่ือนไหวทไี่ ม่สิ้นสดุ 7) เสน้ โค้งวงแคบให้ความรสู้ ึกถงึ พลงั ความเคลอื่ นไหวที่รนุ แรง การเปล่ียนทิศทางท่ีรวดเรว็ ไมห่ ยดุ นิ่ง 8) เส้นประใหค้ วามรสู้ กึ ท่ีไมต่ ่อเนือ่ ง ขาด หาย ไม่ชัดเจน ทาให้เกิดความเครยี ด วิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 15
รปู ร่าง รูปทรง มวล (shape) รปู รา่ ง (shape) หมายถึง 1. การนาเสน้ มาประกอบกนั ให้เกิดความกวา้ งและความยาว ไม่มีความหนาหรือความลึก มีลกั ษณะ 2 มิติ 2. รูปแบบทเี่ ป็น 2 มติ ิ แสดงพน้ื ทผ่ี ิวเปน็ ระนาบแบนไม่แสดงความเป็นปริมาตร รปู ทรง (form) หมายถงึ 1. การนาเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกวา้ ง ความยาว และความหนาหรือความลึก มีลกั ษณะ 3 มติ ิ 2. สง่ิ ท่ีมลี กั ษณะแน่นทึบแบบ 3 มิติ เชน่ งานประติมากรรม สถาปัตยกรรม หรือลกั ษณะทมี่ องเหน็ เป็น 3 มติ ิ ในงานจิตรกรรม มวล (mass) หมายถึง 1. การรวมกลุ่มของรปู รา่ ง รูปทรงที่มีความกลมกลนื กัน 2. วัตถทุ มี่ คี วามหนาแนน่ มีน้าหนกั วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 16
ลกั ษณะผิว (texture) ลกั ษณะผิว (texture) หมายถึงลักษณะภายนอกของวัตถุต่าง ๆ ทสี่ ามารถจับต้อง สัมผัส หรือ มองเหน็ แล้วเกิดความร้สู กึ ได้ ลกั ษณะที่สมั ผสั ได้ของพ้ืนผวิ มี 2 ประเภท คือ 1. พื้นผิวท่ีสัมผัสได้ด้วยมือ หรือกายสัมผัส เป็นลักษณะพ้ืนผิวที่เป็นอยู่จริง ๆ ของผิวหน้าของวัสดุ นัน้ ๆ ซงึ่ สามารถสมั ผสั ได้จากงานประตมิ ากรรม งานสถาปัตยกรรม และสิ่งประดษิ ฐ์อื่น ๆ 2. พ้ืนผวิ ทีส่ ัมผสั ได้ด้วยสายตา จากการมองเห็นแต่ไม่ใช่ลักษณะที่แท้จริงของผิว วัสดุน้ัน ๆ เช่น การ วาดภาพก้อนหนิ บนกระดาษ จะให้ความรู้สึกเป็นก้อนหิน แต่เม่ือสัมผัสเป็นกระดาษ หรือใช้กระดาษพิมพ์ลาย ไม้ หรอื ลายหนิ ออ่ น เพอื่ ประทับบนผิวหน้าของสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น ลักษณะเช่นน้ีถือว่า เป็นการสร้างพ้ืนผิวลวง ตาไดด้ ้วยการมองเหน็ เท่านน้ั สดั สว่ น (Proportion) สัดส่วน (Proportion) หมายถึง ความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสมระหว่างขนาดของ องค์ประกอบที่ แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ในรูปทรงเดียวกันหรือระหว่างรูปทรง และรวมถึง ความสัมพันธ์กลมกลืนระหว่าง องค์ประกอบท้ังหลายด้วย ซ่ึงเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่ มากไม่น้อย ขององค์ประกอบท้ังหลายท่ีนามาจัด รวมกัน ความเหมาะสมของสดั ส่วนอาจ พิจารณาจากคณุ ลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ 1) สัดส่วนท่ีเป็นมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาติ ของ คน สัตว์ พืช ซ่ึงโดยทั่วไป ถือว่า สัดส่วนตามธรรมชาติ จะมีความงามท่ีเหมาะสมที่สุด หรือจากรูปลักษณะที่เป็นการ สร้างสรรค์ของมนุษย์ เช่น Gold section เป็นกฎในการสร้างสรรค์รูปทรงของกรีก ซ่ึงถือว่า “ส่วนเล็กสัมพันธ์กับส่วนที่ใหญ่กว่า ส่วนท่ี ใหญก่ ว่าสมั พนั ธก์ ับส่วนรวม” ทาใหส้ ิง่ ตา่ ง ๆ ที่สรา้ งขึน้ มีสดั ส่วนท่สี ัมพันธ์กบั ทกุ สงิ่ อยา่ งลงตวั วิทยาลยั เทคนิคสุราษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 17
2) สดั ส่วนจากความรสู้ กึ โดยทศ่ี ลิ ปะนั้นไม่ไดส้ รา้ งขึ้นเพอ่ื ความงามของรปู ทรงเพยี ง อย่างเดียว แต่ยัง สร้างขึ้นเพื่อแสดงออกถึง เนื้อหา เรื่องราว ความรู้สึกด้วย สัดส่วนจะช่วย เน้นอารมณ์ ความรู้สึก ให้เป็นไป ตามเจตนารมณ์ และเร่ืองราวท่ีศิลปินต้องการ ลักษณะเช่นน้ี ทาให้งานศิลปะของชนชาติต่าง ๆ มีลักษณะ แตกต่างกัน เน่ืองจากมีเร่ืองราว อารมณ์ และ ความรู้สึกที่ต้องการแสดงออกต่าง ๆ กันไป เช่น กรีก นิยมใน ความงามตามธรรมชาติเป็น อุดมคติ เน้นความงามท่ีเกิดจากการประสานกลมกลืนของรูปทรง จึงแสดงถึง ความเหมือน จริงตามธรรมชาติ ส่วนศิลปะแอฟริกันดั้งเดิม เน้นที่ความรู้สึกทางวิญญาณที่น่ากลัว ดังน้ัน รปู ลักษณะจงึ มสี ัดส่วนที่ผดิ แผกแตกต่างไปจากธรรมชาตทิ วั่ ไป สี (color) สี (color) หมายถึง ปรากฏการณ์ท่ีแสงส่องกระทบวัตถุแล้วสะท้อนคลื่นแสงบางส่วนเข้าตา เม่ือ ระบบประสาทตาประมวลผลจงึ รับร้วู า่ วัตถุน้นั มีขนาด รปู ร่าง ลักษณะผิว และสีเป็นอย่างไร การที่เรามองเห็น วัตถุมีสีต่าง ๆ น้ันเกิดจากการที่ผิวของวัตถุมีคุณสมบัติในการดูดกลืนและสะท้อนคล่ืนแสงได้แตกต่างกัน เช่น กลีบดอกทานตะวันจะสะท้อนเฉพาะคล่ืนแสงท่ีประสาทตาประมวลผลเป็นสีเหลือเท่าน้ัน ส่วนผงถ่านไม่ สะทอ้ นคลน่ื แสงในชว่ งคลื่นทต่ี ามองเหน็ ออกมาเลยจึงเห็นเป็นสีดา เป็นต้น สีมีอิทธิพลต่อจิตใจของมนุษย์ คือ มีอานาจบันดาลให้เกิดอารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ ได้ตามอิทธิพลของสี เช่น สดช่ืน ร้อน ต่ืนเต้น เศร้า สีมี ความสาคัญต่องานศิลปะมาก เพราะศิลปินต้องใช้สีเป็นสื่อสร้างความประทับใจในผลงานศิลปะ และสะท้อน ความประทับใจนนั้ ใหแ้ ก่ผดู้ ู - คณุ ลกั ษณะของสี เปน็ การใช้สีในลกั ษณะต่าง ๆ เพื่อเกิดความสวยงามและความรู้สึกต่าง ๆ ตาม ความตอ้ งการของผ้สู ร้าง คุณลกั ษณะของสีท่ใี ชโ้ ดยทวั่ ไป มีดังนี้ คอื - สีเอกรงค์ (Monochrome) เป็นการใช้สีเพียงสีเดียว แต่มีหลาย ๆ น้าหนัก ซ่ึงไล่เรียงจากน้าหนัก อ่อนไปแก่ เป็นการใช้สีแบบด้ังเดิม ภาพจิตรกรรมไทย แบบด้ังเดิมจะเป็นลักษณะนี้ ต่อมาเมื่อมีการใช้สีอ่ืน ๆ เขา้ มาประกอบมากข้นึ ทาใหม้ หี ลายสี ซง่ึ เรียกวา่ “พหุรงค”์ ภาพแบบสเี อกรงค์ มกั ดเู รียบ ๆ ไม่ค่อยนา่ สนใจ วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 18
- วรรณะของสี (Tone) สีมีอยู่ 2 วรรณะ คือ วรรณะสีร้อน และ สีเย็นสีร้อนคือสีท่ีดูแล้วให้ ความรสู้ ึกร้อน สีเยน็ คอื สที ่ีดูแลว้ รสู้ กึ เย็น ซง่ึ อยใู่ นวงจรสี สีม่วงกับสเี หลอื งเป็นได้ท้ังสีร้อนและสีเย็น แล้วแต่ว่า จะอยู่กับกลุ่มสีใด การใช้สีในวรรณะเดียวกันจะทาให้เกิดรู้สึกกลมกลืนกัน การใช้สีต่างวรรณะจะทาให้เกิด ความแตกตา่ ง ขดั แยง้ การเลอื กใช้สใี นวรรณะใด ๆ ขน้ึ อยกู่ บั ความตอ้ งการ และจุดมุ่งหมายของงาน - ค่าน้าหนักของสี (Value of color) เป็นการใช้สีโดยให้มีค่าน้าหนักในระดับต่าง ๆ กัน และมีสี หลาย ๆ สี ซึ่งถ้าเป็นสีเดียว ก็จะมีลักษณะเป็นสีเอกรงค์ การใช้ค่าน้าหนักของสี จะทาให้เกิดความกลมกลืน เกิดระยะใกล้ไกล ต้ืนลึก ถ้ามีค่าน้าหนักหลาย ๆ ระดับ สีก็จะกลมกลืนกันมากข้ึนแต่ถ้ามีเพียง 1 – 2 ระดับที่ ห่างกนั จะทาใหเ้ กิดความแตกต่าง วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 19
- ความเข้มของสี (Intensity) เกิดจาก สีแท้ คือสีที่เกิดจากการผสมกันในวงจรสี เป็นสีหลักท่ีผสม ข้ึนตามกฎเกณฑ์และไม่ถูกผสมด้วยสีกลางหรือสีอ่ืน ๆ จะมีค่าความเข้มสูงสุด หรือแรงจัดท่ีสุด เป็นค่าความ แท้ของสีที่ไม่ถูกเจือปน เม่ือสีเหล่าน้ี อยู่ท่ามกลางสีอื่น ๆ ท่ีถูกผสมให้เข้มข้ึน หรืออ่อนลง ให้มืด หม่น หรือ เปลย่ี นคา่ ไปแลว้ สีแท้จะแสดงความแรงของสีปรากฏออกมาให้เหน็ อยา่ งชัดเจน ซ่ึงจะทาให้เกิดจุดสนใจข้ึนใน ผลงานลักษณะเชน่ นี้ เหมือนกับ ดอกเฟอื่ งฟาู สีชมพูสด ๆ หรือบานเย็น ท่ีอยู่ท่ามกลางใบเฟื่องฟูาที่เขียวจัด ๆ หรอื พลทุ ถี่ ูกจดุ สอ่ งสว่างในยามเทศกาล ตดั กบั สมี ืด ๆ ทบึ ๆ ทึมๆ ของทอ้ งผ้ายามค่าคนื เป็นต้น - สีส่วนรวม (Tonality) เป็นลักษณะท่ีมีสีใดสีหน่ึง หรือกลุ่มสีชุดหน่ึงท่ีใกล้เคียงกัน มีอิทธิพล ครอบคลุม สีอื่น ๆ ท่ีอยู่ในภาพ เช่น ในทุ่งดอกทานตะวันท่ีกาลังออกดอกชูช่อบานสะพรั่ง สีส่วนรวมก็คือ สี ของดอกทานตะวัน หรือบรรยากาศการแข่งขันฟุตบอลในสนาม ถึงแม้ผู้เล่นทั้งสองทีมจะแต่งกายด้วยเส้ือผ้า หลากสีต่างกันก็ตาม แต่ สีเขียวของสนามก็จะมีอิทธิพลครอบคลุม สีต่าง ๆ ทั้งหมด สีใดก็ตามท่ีมีลักษณะ เช่นน้ี เป็นสสี ่วนรวมของภาพ น้าหนกั (tone) น้าหนัก (tone) คือ ระดับความเข้มท่ีแตกต่างกันของค่าสี หรือความอ่อนแก่ของสีท่ีสายตาสามารถ รบั รู้ได้จากการมองภาพหรอื วตั ถตุ า่ ง ๆ เชน่ สขี องผนังทีอ่ ยใู่ กล้แสงเทียนมีน้าหนกั อ่อนกว่าบริเวณอ่ืน น้าทะเล วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 20
ท่อี ยใู่ กล้ฝ่ังมีสีอ่อนนกว่าบริเวณท่ีอยู่ห่างฝั่งออกไป เป็นต้น ระดับน้าหนักของสีมีค่าแตกต่างกันมากมายจนไม่ สามารถแบง่ ให้แน่นอนได้ เช่น เมอ่ื เราพิจารณาแบ่งน้าหนักของสีดาอย่างง่าย ๆ เป็น 3 ระดับ จะได้เป็นสีขาว (อ่อนสุด) สเี ทา และสดี า (เข้มสุด) แตถ่ า้ พิจารณาอย่างละเอยี ดจะไมส่ ามารถแบง่ ให้แน่นอนได้ ประโยชน์ของน้าหนัก นา้ หนักสามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการสร้างสรรคง์ านศลิ ปะดงั น้ี 1. ให้ความเป็น 2 มติ ิ แกร่ ูปรา่ ง 2. ใหค้ วามเป็น 3 มิติ แก่รปู ทรง ซึง่ เกิดจากแสงและเงา 3. ทาใหเ้ กดิ ความแตกต่างระหว่างรปู ร่างกบั พ้ืน หรือรปู ทรงกับทว่ี ่าง 4. ให้ความเปน็ มิติตื้นลกึ 5. นาสายตาของผดู้ ไู ปตามลาดบั อ่อนแก่ ทาใหเ้ กิดความรู้สกึ เคลอ่ื นไหว แสงและเงา (light and shade) แสงและเงา (light and shade) คอื ความแตกต่างของน้าหนักของสีท่ีปรากฏบนวัตถุ ซ่ึงเกิดจากการ ท่ีผิวของวัตถุแต่ละส่วนได้รับแสงไม่เท่ากัน เม่ือแสงส่องกระทบผิววัตถุแล้วสะท้อนคล่ืนแสงบางส่วนเข้าตาจึง ทาใหเ้ ราเห็นสีและรปู รา่ งของวัตถุได้ บริเวณที่แสงไมส่ ามารถสอ่ งผ่านได้จะเกิดเป็นเงาตกทอดไปบนผิวส่วนอ่ืน ของวัตถุหรือบนวัตถุอื่นทาให้เห็นน้าหนักของสีแตกต่างกัน อย่างไรก็ดี นอกจากวัตถุจะได้รับแสงจาก แหลง่ กาเนดิ แสงโดยตรงแล้ววตั ถุยังได้รบั แสงจากสภาพแวดลอ้ มรอบตัวดว้ ย วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 21
การนาแสงและเงามาใช้ในการจัดรายละเอียดของภาพให้มีความอ่อนแก่มักยึ ดหลักธรรมชาติเป็น เกณฑ์ในการกาหนดแสงและเงา ซึ่งจะทาให้ผลงานสวยงาม เกิดมิติต้ืนลึกหรือหนาบางเป็นกลุ่มมวล เกิด ระยะใกล้ไกล เกิดบรรยากาศภาพ ทาให้ภาพมีความสมบูรณ์มากขึ้น สาหรับภาพจิตรกรรมไทยจะไม่เน้นค่า ความออ่ นแกข่ องสบี นวตั ถหุ รือรูปทรง ทาให้ไมเ่ กดิ เงา แต่นิยมตัดเส้นใหอ้ ่อนช้อยสวยงามอย่างชดั เจน 1) แสงสว่างจัด (HIGH LIGHT) คือ บริเวณของวัตถุท่ีถูกแสงสว่างโดยตรงและมากที่สุด การวาดถ้า เปน็ วตั ถุแขง็ หรอื เปน็ เงามัน ควรทิ้งส่วนท่แี สงสวา่ งท่ีสดุ ใหเ้ ปน็ กระดาษขาวได้เลยแต่ถ้าเป็นวัตถุ แสงเงาในการ วาดเส้นช่วยให้งานวาดเส้นที่ได้ออกมาเหมือนจริงย่ิงค่าของน้าหนักสีมีค่าระดับมากเท่าไหร่ก็จะเพ่ิมค่าของ ความเหมอื นมากเทา่ น้ัน 2) แสงสว่าง (LIGHT) คือ บริเวณที่ไม่ถูกแสงกระทบโดยตรงจะเป็นแสงเร่ือ ๆ เทาการวาดให้แรเงา แบบเกล่ียเรียบจากนา้ หนกั เงามาจนถึงแสงสว่าง 3) เงา (SHADOW) คอื บรเิ วณที่ถูกแสงน้อยทส่ี ดุ การวาดควรเน้นส่วนที่เป็นเงาให้เข้ม และเน้นเส้น รอบนอก (OUT LINE) ดังน้ันการประกอบกันระหว่างแสงสว่างจัด แสงสว่าง และเงาจะเกิดเป็นภาพสามมิติ หรอื ภาพวาดท่ีมชี ีวติ 4) แสงสะท้อน (REFLECT LIGHT) คือ บรเิ วณที่มีแสงของวัตถุโดยรอบสะท้อนเข้ามาในวัตถุน้ัน ไม่ วา่ จะเปน็ ในดา้ นของแสงหรือเงาจะไดร้ ับอิทธิพลของแสงสะทอ้ นน้ีได้เหมือนกนั 5) เงาตกกระทบหรือเงาของวัตถุ (CASTSHADOW) จะอยู่ด้านเงามืดของวัตถุเสมอเป็นเงาของ วัตถุที่ตกกระทบพื้น เงาของวัตถุจะเป็นเช่นไรขึน้ อย่กู ับรูปทรงของวตั ถแุ ละมมุ ของแสงทีม่ ากระทบ เงา คอื ส่วนทแี่ สงส่งไปไมถ่ งึ โดยมีวัตถหุ รือสง่ิ ของบังเอาไว้ เงาตกทอดจะมีรูปร่างเหมือนวัตถุน้ัน ๆ เช่น วัตถุรูปสี่เหล่ียม เงาตกทอดก็เป็นสี่เหล่ียมเหมือน รูปร่างของวัตถุนนั้ ๆ เงาจะชัดหรอื ไม่ชัดอยู่ท่ีแสงถ้าแสงสว่างจัดเงาก็จะชัด ถ้าแสงสว่างน้อยเงาก็ไม่ชัดเงาของ วัตถุมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับแสงสว่างที่มากระทบวัตถุนั้นแสงสว่างน้อยเงาที่เกิดข้ึนกับวัตถุก็จะน้อยถ้าแสง วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 22
สว่างจัดมากเงาของวัตถุที่ปรากฏก็จะเข้มชัดมากขึ้นด้วย ลักษณะของเงาตกทอดน้ันสามารถแยกได้เป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1) เงาตกทอด หมายถงึ แสงสวา่ งที่มากระทบวตั ถุแลว้ เกิดเปน็ เงาตกทอดไปยังพ้นื ท่ีทวี่ ัตถนุ น้ั วางอยู่ เงาคาบเกี่ยว หมายถึง แสงสว่างที่มากระทบวัตถุแล้วเกิดเป็นเงาตกทอดไปยังพ้ืนและมีวัตถุใกล้เคียงวางอยู่ หรอื วางอยู่ใกล้ผนงั เงาที่ใกล้ผนังเงาท่ีเกิดข้นึ กจ็ ะเกิดจากพืน้ และทอดไปยงั วตั ถใุ กลเ้ คียง แสงและเงาช่วยให้การวาดเส้นแรเงาดูเป็นสามมิติหรือเหมือนจริงมากที่สุดดังนั้นผู้ท่ีฝึกวาดรูปจึงควร ต้องศกึ ษาเรอื่ งของแสงเงาก่อน น้าหนักแสงและเงา 2) แสงและเงา (LIGHT AND SHADOW) ในการวาดภาพลายเส้นนน้ั น้าหนักแสงเงาเป็นส่ิงท่ีสาคัญ อย่างยง่ิ ในการทางาน เพราะแสงเงาจะช่วยทาให้ผลงานทสี่ ร้างสรรค์ออกมาเหมอื นจริงมากย่ิงข้ึน การวาดภาพ ที่มีการแสดงน้าหนักแสงเงาท่ีชัดเจนนั้น จะถ่ายทอดตามสายตาท่ีมองเห็น เช่น ความลึก ตื้น หนา บาง นูน เรยี บ โค้ง เวา้ ไดช้ ัดเจนมากกว่าภาพที่แสดงด้วยเส้นเพียงเส้นเดียว จะใช้ค่าน้าหนักแสงเงาทั้งหมด 10 ระดับ ในการศึกษาเพื่อให้ผลงานทอ่ี อกมานั้นสมจรงิ มากยงิ่ ขึน้ ภาพแสงเงา 2 ระยะ หมายถึง ภาพท่ีแสดงเพียง 2 ระยะส่วนใหญ่จะเห็นเงาเป็นเพียงแผ่นบางๆเน้นส่วน รายละเอยี ด (DETAIL) น้อง ภาพแสงเงา 3 ระยะ หมายถึง ภาพที่แสดงน้าหนักแสงเงาค่อนข้างชัดเจนมากกว่าภาพ 2 ระยะ เห็น รายละเอยี ดไดม้ ากกว่า แสดงส่วนทีเ่ ป็นแสงสวา่ งและเงามดื ได้ชัดเจนกวา่ ภาพแสงเงากลมกลืน หมายถึง ภาพท่ีแสดงแสงเงาใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุดรายละเอียดชัดเจนจะเป็น ภาพวาดที่มลี กั ษณะเหมอื นจริงมาก ทศิ ทางแสง เรียนรู้ทิศทางของแสงกัน เพราะแม้ว่าแสงที่มีแหล่งกาเนิดมาจากที่เดียวกันแต่หากว่ามีทิศทางท่ี แตกต่างกันจะส่งต่อมิติของภาพ หรืออารมณ์ของภาพได้ ดังนั้นในการถ่ายภาพไม่ว่าจะมือใหม่หรือมืออาชีพ วิทยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 23
ส่งิ ท่ีควรพจิ ารณาอีกอย่างคือความเหมาะสมของทิศทางของแสง โดยเราสามารถแบ่งทิศทางของแสงออกเป็น 4 ทศิ ทางใหญ่ ๆ ดงั นี้ ทิศทางแสงบน คือแหล่งกาเนิดแสงจะอย่บู นหัวเราหรอื มมุ สงู นั่นเอง ยกตัวอย่าง การถ่ายภาพในตอน กลางวันดวงอาทิตย์จะอยู่ด้านบนหัวเราแสงที่ออกมาจะมีความเข้มสูงและกระจายเต็มพื้นท่ี และจะทาให้เกิด เงาตกกระทบทางด้านล่างของวตั ถุ แสงในทิศทางนีไ้ ม่เหมาะในการถา่ ยภาพคนเพราะว่าจะเกิดเงาบริเวณใต้ตา ปาก และจมกู การถ่ายภาพที่เหมาะสมกับแสงในทิศทางน้ี เช่น การถ่ายภาพกิจกรรมท่ัว ๆ ไป เช่น การแสดง ต่าง ๆ ภาพการแข่งขันกีฬา เน่ืองจากแสงจากทิศทางดังกล่าวจะมีความแรงและมักจะไม่ถูกบดบังจากวัตถุ อื่น ๆ ทศิ ทางแสงข้าง หมายถงึ ทกุ ทิศทางท่ีมาจากทางด้านข้าง ไม่ว่าจะมาตรง ๆ หรือเฉียงก็ตาม แสงท่ีมา จากด้านข้างน้ี จะทาให้ภาพมีมิติ แต่จะทาให้เกิดแสงเงาทางด้านตรงข้ามของแสง คือถ้าแสงมาด้านซ้ายก็จะ เกิดเงามืดทางด้านขวาน่ันเอง มือใหม่ควรระวังในจุดน้ีด้วย สาหรับแสงข้างเหมาะสาหรับการวาดภาพหลาย ประเภท อาทิ เช่น วาดภาพคน วาดภาพวิวทิวทัศน์ วัตถุ สิ่งของ เพราะแสงจะทาให้วัตถุดูมีมิติ ไม่เรียบแบน จนเกินไป ทิศทางแสงด้านหน้า แสงจะมาทางด้านหลังของวัตถุที่เป็นแม่แบบ หรือถ้าเรียกเป็นคาพูดที่เราค้น เคยกันดีก็คือ ทิศทางย้อนแสง น่ันเอง จะเป็นการถ่ายภาพย้อนแสง ซึ่งโดยปกติแล้วการถ่ายภาพย้อนแสงจะ ทาให้ภาพไม่สวย หน้าจะมืด หรือวัตถุหรือแม่แบบจะกลายเป็นเงาดา จะเห็นเป็นแค่รูปร่างของวัตถุที่ตัดกับ แสงจากท้องฟูา ทศิ ทางแสงด้านหลัง คือทิศทางของแสงจะเข้ามาทางด้านหน้าของตัวแบบหรือวัตถุ หรือทิศทางตาม แสง เหมาะสาหรบั การถ่ายภาพท่ัวไป เชน่ การถา่ ยภาพวิวทวิ ทศั น์ หรือภาพคน เม่ือถ่ายออกมาแล้วจะให้ภาพ ทเี่ ห็นรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ของวตั ถุครบทุกส่วนชัดเจน ไม่เกดิ เงาทางด้านหน้า เงาจะไปตกอยูท่ างดา้ นหลังแทน วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 24
มมุ แสง มุมของแสงจะถูกกาหนดโดยความสูงของแหล่งกาเนิดแสง เมื่อแหล่งกาเนิดแสงสูงมุมสูงชัน (ใกล้กับ แนวตั้ง) และเงาสั้น; เมือ่ แหล่งกาเนิดแสงอยู่ในระดบั ต่ามุมอย่ใู นแนวนอนมากขึน้ และเงายาว ทวี่ ่าง (space) ท่ีว่าง (space) เกิดจากการกาหนดขอบเขตขึ้นในธรรมชาติ เกิดการแยกตัวออกจากธรรมชาติด้วยริ้ว หรือกรอบ space ส่วนหน่ึงจะเดินเข้าสู่ภายใน เรียกว่า positive space และspace ที่อยู่นอกกรอบออกไป อย่างไม่มที สี่ ิ้นสุด เรยี กวา่ negative space ตัวอยา่ งงานจิตรกรรมใช้ทว่ี ่างท่ีเป็น 2 มติ ิ แต่อาจทาให้เกดิ การลวงตาเป็น 3 มิติ ตัวอย่างงานจติ รกรรมใชท้ วี่ า่ งทเ่ี ปน็ 2 มติ ิ แต่อาจทาให้เกดิ การลวงตาเป็น 3 มิติ วทิ ยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 25
- ภาพในใจจะแยกความว่างออกจากส่ิงท่ีมีตัวตนได้อย่างชัดเจน เราสามารถรับรู้ความเป็นท่ีว่างได้หลาย รูปแบบ ในงานสองมติ ทิ ี่วา่ งอาจวัดไดจ้ ากความกว้างและความยาว และสามารถวดั ความลึกได้ในงานสามมติ ิ ตวั อย่าง งานประติมากรรมใช้ที่ว่างจรงิ ๆ โอบลอ้ มและเจาะทะลรุ ูปทรงท่เี ปน็ 3 มติ ิ ตวั อยา่ ง งานประตมิ ากรรมใช้ท่ีว่างจริงๆ โอบล้อมและเจาะทะลุรปู ทรงทเี่ ปน็ 3 มิติ - พ้ืนที่ว่าง หมายถึง บริเวณว่างท่ีอยู่โดยรอบวัตถุต่างๆ ถ้าเปรียบเทียบตัวเราเป็นวัตถุซึ่งมีสภาพเป็นมวล (mass) ความว่างดังกล่าวเป็นบริเวณพ้ืนท่ีลบ (negative space) ส่วนพื้นที่ท่ีเป็นตัวของเราน้ันเป็นบริเวณ พ้ืนท่ีบวก (positive space) ในการออกแบบงานประเภท 2 มิติ จะต้องกาหนดกรอบพื้นที่ (space frame) เ ป็ น รู ป ส่ี เ ห ล่ี ย ม ส า ม เ ห ล่ี ย ม ว ง ก ล ม ห รื อ รู ป ร่ า ง อิ ส ร ะ เ สี ย ก่ อ น แ ล้ ว จึ ง ส ร้ า ง รู ป ร่ า ง หรือรปู ทรงตามทตี่ อ้ งการลงในกรอบพ้นื ที่อีกทีหน่งึ ตวั อย่าง สถาปตั ยกรรมใช้ท่วี า่ งจรงิ เช่นเดยี วกบั ปะตมิ ากรรมและยังเป็นทีว่ ่างที่เราสามารถเขา้ ไปอยู่ภายในได้ วิทยาลยั เทคนคิ สุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 26
(4) พื้นฐานการเขียนแบบ วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 27
1) เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์การเขียนภาพทศั นยี ภาพ การเขียนแบบที่จะได้แบบงานที่ถูกต้องและเป็นมาตรฐาน จะต้องอาศัยทักษะของผู้ปฏิบัติการเขียน แบบรวมทั้งเคร่ืองมือและอุปกรณ์ท่ีใช้ ในการเขียนแบบเป็นสาคัญ เพื่อให้ได้คุณภาพงานที่เป็นมาตรฐาน เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเขยี นแบบมดี ังน้ี 1) กระดาษเขียนแบบ (Paper) มีความหนา 80-100 ปอนด์ เป็นชนิดไม่มีเส้น มีด้านหยาบและ ด้านเรียบ มีขนาด A1, A2, A3, A0 การเลือกระดาษข้ึนอยู่ว่าจะเขียนแบบขาว/ดาหรือสี และยังมี กระดาษ ลอกลาย,กระดาษบรฟู และกระดาษสนี ้าตาลถอื เปน็ เทคนคิ อีก แบบหนึ่งเวลาใช้ทางาน กระดาษเขียนแบบ 2) ดนิ สอ (Drawing pencil) เปน็ เครื่องมือท่ีใช้ในการขีดเขียนเส้นลงบนผิวกระดาษเขียนแบบ ตัว ไสด้ ินสอทาจากกราไฟท์ มีอยู่ 2 แบบดงั น้ี 1) ดินสอเปลือกไม้ มีเปลือกไม้ที่หุ้มไส้ดินสอ เวลาใช้งานจะต้องเหลาให้ไส้ดินสอย่ืนออกมา จากเปลือกไมแ้ ละลับปลายให้แหลมคมเล็กน้อย ดนิ สอเปลอื กไม้ 2) ดินสอแบบเปล่ียนไส้ เป็นดินสอที่ไม่มีเปลือกไม้ มีแต่ไส้ดินสอ โดยใช้คู่กับตัวโครงปากกา ใช้งา่ ยและสะดวก มอี ยู่ 2 แบบคอื ดินสอกด วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 28
- ดินสอแบบไส้ใหญ่ ตัวโครงคล้ายดินสอเป็นที่ใส่ไส้ดินสออยู่ภายในมีระบบกลไกใน การจบั ยดึ ไส้ดินสอเมอ่ื กดไสด้ ินสอกเ็ ลื่อนออกมา - ดินสอแบบไส้มาตรฐาน ลักษณะการทางานคล้ายกับดินสอแบบไส้ใหญ่ แต่ไส้ ดินสอจะมีขนาดเล็กเหมือนเข็ม มีหลายขนาด เช่น 0.3, 0.5 และ 0.7 มิลลิเมตร ใช้งานสะดวกเพียงกดให้ไส้ ดนิ สอยืน่ ออกมาจากปลายดา้ มทลี ะน้อย ไมต่ อ้ งเหลาและลบั ปลายดินสอเลย ใช้สาหรับขีดเส้นตามขนาดความ หนาที่ตอ้ งการ 3) ปากกาเขียนแบบ (Drawing pen) เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับการขีดเขียนเส้นลงใน กระดาษลักษณะคล้ายปากกาหมึกซึม เส้นที่เขียนจะได้ความหนาของเส้นตามมาตรฐาน มีหลายขนาดต้ังแต่ 0.13, 0.18, 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4 และ 2.0 มลิ ลิเมตร สาหรับงานเขยี นแบบท่ัวไปจะนยิ มใชก้ ลุ่มเส้น 0.25, 0.35 และ 0.5 มิลลเิ มตร ปากกาเขียนแบบ 4) ยางลบ (ERASINC GLEANER) เป็นหนึ่งอุปกรณ์เคร่ืองเขียนท่ีสาคัญ ใช้ลบรอยดินสอ หรือรอยหมึก ท่ีเขียนบนกระดาษ การนายางลบไปถูบนรอยดินสอ เนื้อยางลบจะเสียดสีไปกับรอยดินสอท่ีติด บนกระดาษ ทาใหร้ อยดนิ สอถูกลบออกได้ แตก่ รณีของรอยปากานั้น หมึกปากาจะซึมเข้าสู่กระดาษจาเป็นต้อง ใช้ยางลบที่มีเนื้อหยาบช่วยขัดในการขูดผิวหน้าของกระดาษ เพื่อทาให้หมึกนั้นหลุดออกมา ประเภทของ ยางลบมี 3 ชนิด ไดแ้ ก่ 1) ยางลบดนิ สอ 2) ยางลบหมึก 3) ยางลบดนิ สอ-หมกึ วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 29
5) กระดานเขียนแบบ (DRAWING BOARD) ต้องมีพื้นผิวเรียบ ที่ขอบด้านซ้ายมือจะต้อง เรียบและตรง เน่ืองจากหัวของไม้ที่ (T-Square) จะต้องแนบและเล่ือนข้ึนลงที่ขอบด้านซ้ายมือกระดานเขียน แบบส่วนใหญ่นิยมนามาใช้ในการเขียนแบบสนามหรือเขียนแบบนอกสถานที่ บางครั้งก็นามาใช้เขียนแบบใน โรงเรียนบ้างเหมือนกันหรือกรณีท่ีโรงเรียนนั้นไม่มีโต๊ะเขียนแบบมาตรฐานเพราะถ้าหากว่านักศึกษาเขียนไม่ เสรจ็ สามารถนาไปเขียนต่อท่ีบ้านได้ โดยไมต่ ้องแกะแบบออกจากกระดาน 6) โต๊ะเขียนแบบ (DRAWING TABLE) โต๊ะเขียนแบบโดยทั่ว ๆ ไปจะมีหลายแบบหลาย ขนาด เช่น ขนาด 40 x 60 เซนติเมตร, 60 x 100 ซนติเมตร, 80 x 120 เซนติเมตร เป็นต้น คุณลักษณะท่ีดี ของโตะ๊ เขยี นแบบ คือ 1) สามารถปรบั เอยี งของโตะ๊ ได้ 1 ดา้ น 2) สามารถปรบั ความสงู ได้ 3) สามารถปรบั ตาแหนง่ กระดานใหอ้ ย่ใู นแนวตง้ั ได้ 7) วงเวียน (Compass) เป็นอุปกรณ์สาหรับเขียนวงกลมหรือส่วนโค้ง ด้วยไส้ดินสอหรือ ปากกา วงเวียนมีหลายแบบสามารถเลือกใช้แล้วแต่ความสาคัญของงาน วิธีเขียนวงกลมหรือส่วนโค้งให้ปรับ ขาวงเวียนที่เปน็ เหลก็ แหลม ให้ยาวกว่าข้างทเ่ี ป็นไส้ดนิ สอเล็กน้อย ใช้ปลายแหลมปกั ลงตรงจุดท่ีกาหนดให้เป็น ศูนย์กลางของวงกลม ปรับขาวงเวียนจนกางได้ระยะ เท่ากับรัศมีท่ีต้องการ จับก้านวงเวียนไว้ระหว่าง นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ หมุนวงเวียนเอนไปในทิศทางของการลากเส้นเล็กน้อย พยายามเขียน วงกลมให้สมบูรณ์ โดยการหมุนวงเวยี นไปเพียงคร้งั เดยี ว วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 30
8) ไม้บรรทัดสามเหล่ียม (TRIANGLES) ไม้บรรทัดสามเหล่ียมทาจากพลาสติกใสสามารถ มองเห็นเส้นท่ีเขยี นได้ชัดเจน ไมบ้ รรทดั สามเหล่ียมจะใช้คกู่ ับไม้ท่ีสาหรบั เขียนเส้นด่ิง เส้นเอียงเป็นมุมต่าง ๆ 1 ชดุ มี 2 อัน คอื 90° 45° -45° และ 90° -30° -60° 9) ไม้ที (T-SQUARE) ไม้ที่เป็นเครื่องมือท่ีสาคัญในงานเขียนแบบ ไม้ที่มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ หัว (HEAD) ทาจากไม้เน้ือแข็งหรือพลาสติกใบ (BLADE) ทาจากพลาสติกใสหรืออะลูมิเนียมทั้งสอง สว่ นจะยึดตง้ั ฉากกนั ไมท้ ใ่ี ช้สาหรบั เขียนเส้นในแนวนอนและใช้ประกอบกับฉากสามเหล่ียมสาหรับเขียนเส้นใน แนวดงิ่ และเสน้ เอียงเปน็ มมุ ต่าง ๆ 10) เทปนิตโต (NITTO TAPE) เป็นเทปกาวแบบพิเศษสาหรับติดกระดาษ ความพิเศษของ เทปกาวนิโต้น้ีคือเวลาเราจะดงึ ออกแล้วมันไม่กินเน้ือกระดาษและใช้ ประกอบการลงสีก็คือเอาเทปกาวนิโต้ติด ในงานสว่ นทไ่ี ม่อยากลงสี เพ่อื ไม่ใหส้ ีเกนิ ออกมาแล้วงานของคุณก็จะสวย วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 31
11) ไมบ้ รรทดั มาตราส่วน (SCALE) คุณสมบัติของไม้สเกล (SCALE) ในการนามาใช้งานก็คือ การย่อผลงานในของจริงท่ีเราให้เป็น 1 ส่วน ย่อลงมาเท่าไหร่ก็สุดแล้วแต่ความเหมาะสมในการใช้งานหรือ ความเหมาะสมในหน้ากระดาษ ซ่ึงไม่ว่าจะเขียนด้วยมือหรือเขียนด้วยคอมพิวเตอร์ก็ตามสุดท้ายก็ต้องเทียบ มาตราส่วนแลว้ ปรน้ิ ทล์ งบนกระดาษเหมอื นกนั โดยมีมาตรฐานใช้กนั อยู่หลกั ๆ คือ 1:75, 1:50, หรอื 1:25 2) เส้น (Lines) เสน้ ทใ่ี ชใ้ นงานเขียนแบบจะมรี ปู แบบและน้าหนักความหนาของเส้นต่างกัน เส้นแต่ละอย่างก็จะบ่งบอก ความหมายของตวั มนั เอง ซึง่ มีลกั ษณะของเสน้ และการนาไปใช้ในงานเขยี นแบบ ดังน้ี 2.1) เส้นเต็มหนา (Border Line) เป็นเส้นที่ลากติดกันยาวจนได้ขนาดที่ต้องการ ใช้สาหรับเป็นเส้น ขอบรปู เส้นขอบเกลียว เสน้ แสดงระนาบตดั ความหนาของเสน้ 0.5-0.7 มลิ ลเิ มตร 2.2) เสน้ เตม็ บาง (Object Line) เป็นเส้นท่ีลากตดิ กันยาวจนได้ขนาดเช่นเดียวกบั เส้นเตม็ หนา แต่มี ความหนาน้อยกว่า ใช้สาหรับเป็นเส้นกาหนดขนาด เส้นบอกขนาด เส้นแสดงลายตัด เส้นแสดงภาพย่อส่วน เส้นศูนยก์ ลาง ความหนาของเส้น 0.25-0.35 มิลลิเมตร 2.3) เสน้ ประ (Hidden Line) เป็นเส้นที่ลากยาวประมาณ 3 มิลลิเมตรและเว้นช่องว่างประมาณ 1 มลิ ลเิ มตร สลบั กันไป มีความหนาของเสน้ เท่ากับเสน้ เต็มบาง ใชส้ าหรบั เป็นเสน้ แสดง ขอบของช้ินงานที่มองไม่ เหน็ 2.4) เสน้ ศนู ยก์ ลาง (Center Line) เปน็ เสน้ ทลี่ ากยาว ประมาณ 3 มิลลิเมตร เว้นช่องว่างประมาณ 1 มิลลิเมตร ลากยาวประมาณ 18-36 มิลลเิ มตร และเว้นชอ่ งวา่ งประมาณ1 มลิ ลิเมตร สลับกันไป มีความหนา ของเสน้ เทา่ กบั เส้นเตม็ บางใช้สาหรับเปน็ เสน้ ศนู ยก์ ลางของส่วนโคง้ หรือวงกลม วิทยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 32
2.5) เส้นมือเปลา่ (Free Hand Line) เปน็ เส้นทีล่ ากเปน็ อิสระไปในทิศท่ีต้องการโดยไม่ใช้เครื่องมือ ชว่ ยในการลากเส้น มีความหนาของเส้นตามที่ต้องการ ใช้สาหรับเป็นเส้น แสดงรอยตัดย่อส่วน เส้นแสดงรอย ตัดเฉพาะสว่ น เสน้ ย่อระยะ 3) การเขียนภาพออบลคิ (OBLIQUE), ภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) 3.1) ภาพออบลิค (OBLIQUE) เป็นภาพสามมิติท่ีนิยมเขียนกันมาก เพราะสามารถเขียนได้ง่ายและ รวดเร็วเน่ืองจากภาพ OBLIQUE จะวาง ภาพดา้ นหน่ึงอยู่ในแนวระดับเอยี งทามุมเพียงด้านเดยี ว โดยเขียนเป็น มมุ 45 องศา สามารถเขียนเอียงได้ทั้งด้านซา้ ย และขวา ความหนาของงานด้านท่เี อยี งขนาดลดลงครง่ึ หน่งึ - โครงรา่ งของภาพประกอบด้วยสามเส้นคอื เส้นแนวนอน เสน้ แนวดง่ิ และเส้นเอียง 45 องศา - ความกว้างและสูงมีขนาดเท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วน ส่วนความลึกจะมีขนาดเพียงคร่ึงหนึ่งของ ขนาดจรงิ - ขอบของชิน้ งานทถ่ี ูกบังหรือมองไม่เหน็ จะเขยี นแทนดว้ ยเสน้ ประ - มรี ปู ร่างไมค่ อ่ ยเหมอื นจริง เพราะมขี นาดความลึกเพยี งครึ่งหนง่ึ ของขนาดจริง วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 33
3.2) การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ (ISOMETRIC) ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) เป็นภาพที่มองเห็นสัดส่วนใกล้และไกลออกไปมีขนาดเท่ากัน ลักษณะ ภาพเหมือนภาพจริง สามารถวัดขนาดต่าง ๆ ของด้านความยาว ความกว้างและความสูงได้ ISOMETRIC ประกอบดว้ ย เส้นตา่ ง ๆ ดงั นี้ - เส้นแกนนอน - เส้นแกนต้ังฉาก - เส้นแกนเอียงซ้ายและแกนเอียงขวายกข้ึน ทามุม 30 องศา ทั้งสอง ขา้ งกบั เส้นแกนนอน - โครงสรา้ งประกอบดว้ ยสามเสน้ คอื เสน้ เอยี ง 30 องศา สองเส้นและเสน้ แนวด่ิง - ขนาดความกว้าง สูง และลึกเท่าของจรงิ โดยวดั เปน็ อตั ราส่วน - ขอบของช้ินงานท่ถี กู บังหรือมองไมเ่ ห็น จะเขียนแทนดว้ ยเสน้ ประ - โครงสรา้ งมีการใช้เส้นทามุม 30 องศา และทาใหก้ นิ พื้นท่ใี นการเขียนมาก แต่สามารถเขยี นไดง้ ่าย วิทยาลยั เทคนิคสุราษฎรธ์ านี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 34
4) หลักการเขยี นภาพทัศนียภาพ (Perspective) หลักการพ้ืนฐานของการเขียนทัศนียภาพ จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนที่กาหนดในการ ลากเส้น คือ 4.1 เส้นระดับสายตา หรือท่ีเรียกว่า Horizon Line ใช้ตัวย่อ HL เป็นเส้นระดับแนวนอน หรือแนว ระดับน้า จะข้ึน-ลง สูง-ต่า อยู่ในระดับสายตา ซ่ึงจะเป็นเส้นท่ีสาคัญในการกาหนดของการมองวัตถุหรือ สิง่ กอ่ สรา้ งทั้งหมด 4.2 จุดรวมสายตา หรือเรียกว่า Vanishing point ใช้ตัวย่อ VP จะเป็นจุดรวมสายตาท่ีอยู่ใน เสน้ ระดับสายตาเปน็ ตาแหน่งที่ลากเส้นสิ่งของต่างๆไปรวมกันมีตั้งแต่หนึ่งจุดข้ึนไป แล้วแต่ตาแหน่งของวัตถุที่ จดั วาง หรือ ต้องการวาดให้มคี วามหลากหลายซับซอ้ น การเขียนแบบทัศนียภาพด้วยดินสอ สามารถกาหนดน้าหนักให้แตกต่างกันได้ ซ้ึงต่างจากการเขียน แบบด้วยปากกาหมึก ดินสอสามารถควบคมุ น้าหนกั เสน้ ดว้ ยแรงกดในการเขียน กาหนดได้ทั้งเส้นหนักและเส้น เบาในจดุ เริม่ ต้นถึงสุดสิ้นสดุ แบง่ ออกเป็น 5 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1) นา้ หนกั เสน้ เทา่ กนั ตลอด 2) จุดเร่ิมต้นและสิน้ สดุ หนกั ตรงกลางเบา 3) จดุ เรม่ิ ต้นหนกั จุดส้ินสุดเบา 4) จุดเร่ิมต้นเบา จดุ สิ้นสุดหนัก 5) จุดเรมิ่ ตน้ และส้นิ สุดเบา ตรงกลางหนา วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 35
ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 นา้ หนักเส้นเท่ากนั ตลอด จดุ เร่ิมต้นและสิน้ สุดหนกั ตรงกลางเบา ภาพท่ี 3 ภาพที่ 4 จดุ เรม่ิ ต้นหนัก จุดสน้ิ สุดเบา จุดเร่ิมตน้ เบา จุดสน้ิ สดุ หนัก ภาพที่ 5 จดุ เร่ิมตน้ และส้นิ สุดเบา ตรงกลางหนัก การเขียนแบบทัศนียภาพ (Perspective Drawing) คือ การเขียนแบบในลักษณะ 3 มิติ เป็นการแสดง การเขียนทีใ่ กล้เคยี งความเป็นจรงิ มากที่สุด ดงั น้นั ผเู้ ขยี นจงึ ต้องเรียนรู้หลักวิธีการเขียนแบบตามลาดับจึงจะทา ให้ผลงานท่อี อกมาดูสวยงาม วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 36
วิธีการเขียนแบบทัศนียภาพควรมีระยะต่างๆในภาพ เป็นการกาหนดระยะของรูปทรงในภาพซ่ึงแสดงถึง ความสัมพันธ์ ความสมบูรณข์ องภาพให้มีความลึก จึงมีการจัดแบ่งระยะการเขียนทัศนียภาพออกเป็น 3 ระยะ ดงั น้ี 1) ระยะหน้า (Fore Ground) คือ การจัดวางตาแหน่งรูปทรงให้อยู่ใกล้สุดของภาพ ซ่ึงต้องมีการเน้น สว่ นละเอยี ด และความชดั เจนของรูปทรงใหม้ าก 2) ระยะทาง (Middle Ground) คือ การจัดวางตาแหน่งรูปทรงให้ถัดออกไปจากระยะหน้าหรือการ จัดแบ่งระยะในภาพให้มีความยาวต่อเน่ืองกัน เม่ือมองดูแล้วเกิดความรู้สึกไกลกว่าระยะหน้า และรูปทรงใน ระยะกลางน้ี จะตอ้ งทาใหม้ ขี นาดเล็กกว่าระยะหนา้ 3) ระยะหลัง (Back Ground) คือ การจัดวางตาแหน่งหรือรูปทรงทีอยู่ไกลที่สุดของภาพหรือการ จัดแบ่งระยะในภาพให้มีความยาวต่อเน่ืองกัน ให้มองดูแล้วอยู่ในระยะไกลถัดออกไปจากระยะกลางและ รูปทรงในระยะไกลนี้ จะต้องกาหนดให้มีขนาดเล็กกว่าระยะหน้าและระยะกลาง ส่วนรายละเอียด และความ ชัดเจนของรูปทรงจะเนน้ ใหน้ อ้ ยกวา่ ระยะหนา้ และระยะกลาง 5) ประเภทของภาพทศั นียภาพ 5.1) ทัศนียภาพแบบจุดเดียว (ONE POINT PERSPECTIVE) จะเป็นลักษณะการเขียนจะเห็นด้าน ระนาบของวตั ถเุ ชน่ ด้านหนา้ หรอื ด้านขา้ งเป็น 2 มติ ิ จากนน้ั ลากเส้นความลึกเขา้ ไปในจดุ V.P. 5.2) ทัศนียภาพแบบสองจุด (TWO POINT PERSPECTIVE) จะเริ่มจากการเขียนเส้นระดับสายตา จากน้นั กาหนดจุด V.P. ซา้ ยขวาทั้งสองจุด เร่ิมเขียนเส้นสันของกล่องก่อน จากนั้นให้ลากไปที่จุด V.P. ทั้งสอง จุด เพ่ือกาหนดระยะความลึก วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 37
5.3) ทัศนียภาพแบบสามจุด (THREE POINT PERSPECTIVE) จะคล้ายการเขียน 2 POINT จะ ตา่ งกนั ตรงทเ่ี สน้ ตั้งจะลากไปยงั จดุ V.P.3 6) ระดบั มุมมองของภาพทัศนยี ภาพ 6.1) ระดับสายตาต่า (Bird’s-Eye View) คือ การมองแบบมุมสูงลงมาต่าหรือเป็นระดับการมองวัตถุ ท่อี ยู่ตา่ กวา่ ระดับการมองปกติ ในลักษณะกม้ หนา้ ทาใหว้ ัตถุท่มี องเหน็ อยู่ต่ากว่าระดบั สายตา จะเห็นวัตถุเพียง ดา้ นบนเทา่ นั้น วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 38
6.2) ระดบั สายตาปกติ (Man’s-Eye View) คือ การมองแบบระดบั สายตาปกติ เส้นขอบฟูาจะอยู่ตรง กลางระดบั สายตาพอดี การมองระดบั นี้จะเหน็ วัตถุอยู่กึ่งกลาง เหมือนรูปทรงที่ไม่มีความลึกหรือหนา ลักษณะ คลา้ ยรูปรา่ ง 6.3) ระดับสายตาสงู (Ant’s-Eye View) คือ การมองจากระดับต่าข้ึนมาหรือเป็นระดับการมองวัตถุท่ี อยู่สูงกว่าระดับการมองปกติ ในลักษณะเงยหน้า ทาให้ภาพวัตถุท่ีเห็นอยู่สูงกว่าระดับสายตา จะเห็นส่วนใต้ ของวัตถทุ เ่ี หน็ เพียงดา้ นเดียว วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวิชาช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 39
(5) สถาปนิกของโลก วทิ ยาลยั เทคนคิ สุราษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 40
1) Norman Foster นอรแ์ มน ฟอสเตอร์ สถาปนิกชาวอังกฤษ เกิดในเมืองแมนเชสเตอร์ หลังเขาเรียนจบในมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ในสาขา สถาปัตยกรรม ฟอสเตอร์ได้ทุนไปเรียนต่อปริญญาโทด้านสถาปัตยกรรมท่ีมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา ฟอ สเตอร์ก่อตั้งบริษัท Foster+Partners ข้ึนเม่ือปี ค.ศ.1967 ที่ลอนดอนและนับเป็นบริษัทท้ังมีผลงานโดดเด่น ทางด้านนวตั กรรม การทางานของฟอสเตอร์เป็นแนวคิดในการออกแบบอาคารเชิงบูรณาการ โดยผสมผสานความงามเชิง ศิลป์กับเทคโนโลยี ฟอสเตอร์นาวิทยาการหลายแขนงมาช่วยทาให้งานออกแบบสามารถตอบโจทย์ สถาปัตยกรรมเพื่อสิงแวดล้อม และสร้างความโดดเด่นให้กับรูปลักษณ์ของตัวอาคาร ภายใต้ความทันสมัย นอกจากน้เี ขายงั คานงึ ถงึ สภาพภมู ิอากาศ และวัฒนธรรมเขา้ กันด้วย ผลงานโดดเด่น Commerzbank Commerzbank เป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศเยอรมนี Commerzbank สูง 56 ชั้น ในเมืองแฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี ท่ีวางแผนก่อสร้างต้ังแต่ต้นทศวรรษ 1970 แล้วเสร็จใน ค.ศ. 1997 ซ่ึง บริษัท Foster + Partners เป็นอาคารสูงท่ีได้ช่ือว่าเป็น Ecological Skyscraper แห่งแรกของโลก ออกแบบ อาคารให้มีสวนลอยฟูาขนาดใหญ่แทรกระหว่างชั้น และนอกเหนือจากสวนลอยฟูายังนาเทคโนโลยีท่ีเป็นมิตร ตอ่ สง่ิ แวดล้อมมาประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื ลดการใช้พลงั งานในอาคาร วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวชิ าชา่ งเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 41
30 St Mary Axe อ า ค า ร จ ะ มี ป ล่ อ ง ข น า ด ใ ห ญ่ เ พ่ื อ ช่ ว ย ใ น ก า ร หมุนเวียนของอากาศ และขณะเดียวกันก็ช่วยเพ่ิม ให้แสงสว่างและความร้อนจากภายนอกเข้าสู่ตัว อาคารได้ ฟอสเตอร์เติมชีวิตให้พื้นที่สาธารณะที่เคย เป็นเพียงท่ีโล่งว่าง ด้วยการเพ่ิมพ้ืนท่ีอานวยความ สะดวกให้กับประชาชน การต่อเติมพ้ืนท่ี Great Court หรือคอร์ตตรงกลางของพิพิธภัณฑ์ British Museum (ค.ศ. 2000) จากพื้นท่ีภายนอกอาคาร ที่ไม่มีการใช้งาน ให้กลับมาเป็นพ้ืนที่ใช้งานอย่าง น่าทึ่ง ด้วยการสร้างหลังคาขนาดใหญ่คลุมพื้นที่ คอรต์ การนาเอาโครงสร้างที่แข็งแรงและเบามาใช้ ทาใหห้ ลงั คานี้สามารถรับน้าหนักได้ด้วยตัวเองโดย ไม่ตอ้ งพ่ึงเสา หลงั คาเปน็ วสั ดุโปร่งใสแต่กรองรังสียู วีและความร้อน ทาให้อุณหภูมิภายในอาคารไม่ ร้อนน้ันเอง ตึกระฟูาในนครลอนดอน สหราชอาณาจักร สูง 180 เมตร (590 ฟุต) 30 St Mary Axe รู้จัก กันในช่ือของ Swiss Re Tower ตามชื่อของบริษัท Swiss Re บริษัทประกันภัยช้ันนาของโลกที่เป็น เจ้าของพื้นท่ีส่วนใหญ่ในตึก และรู้จักในชื่อไม่เป็น ทางการว่า เกอร์คิน (Gherkin) ซ่ึงเป็นแตงกวา ประเภทหนง่ึ ตามรูปทรงของตวั ตึก ตัวอาคารออกแบบโดยบริษัทสถาปนิก ฟอ สเตอรแ์ อนด์พาร์ตเนอร์ส โดยออกแบบในลักษณะ รูปทรงโคนเพ่ือให้ลู่ลม ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2547(ค.ศ. 2004) โดยเปิดใช้งานเม่ือวันท่ี 28 เมษายน ในปีเดียวกัน ลักษณะภายในของตึก ออกแบบในลักษณะประหยัดพลังงาน โดยกระจก ของอาคารประกอบด้วยกระจกสองช้ัน ซ่ึงมีอากาศ อยู่ภายในเพ่ือสร้างเป็นฉนวนกันความร้อนในหน้า ร้อน และฉนวนกันความเย็นในหน้าหนาว ในตัว วทิ ยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 42
2) Frank Owen Gehry (แฟรงก์ โอเวน เกหร์ ี) Frank Owen Gehry เป็นสถาปนิกสัญชาติแคนาดา-อเมริกัน จากผลงานออกแบบมากมายและแตกต่าง จากยุคก่อนหน้าน้ี ทาให้ในเวลาต่อมาช่ือของของเขาก็ได้กลายเป็นที่สนใจในหมู่สถาปนิกระดับโลก เขาได้รับ การสรรเสริญว่า \"งานของเกห์รี เป็นงานที่มีสาคัญที่สุดในวงการสถาปัตยกรรมร่วมสมัย\" โดย World Architecture Survey ในปี 2010 รวมไปถึง \"สถาปนิกท่ีมีความสาคัญที่สุดในยุคสมัยของพวกเรา\" จาก Vanity Fair และเขาก็ยังได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ซึ่งเป็นรางวัลสูงสุดในสายวิชาชีพสถาปนิกในปี 1989 และรางวัลอ่นื ๆอีกมาก รวมถงึ ได้ปรญิ ญาเอกดษุ ฎีบณั ฑติ จากมหาวิทยาลยั ระดับโลกอีกหลายท่ี ผลงานของ แฟรงก์ เกหร์ ี น้นั มหี ลากหลายรวมถงึ อาคารพักอาศัย พิพิธภัณฑ์ สถานท่ีท่องเท่ียวหลายแห่ง ผลงานที่มีชื่อของเขาได้แก่พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ บิลบาโอ ในเมืองบิลเบา ประเทศสเปน ซึ่งเป็นอาคารท่ีมี ไทเทเนียมเปน็ วสั ดหุ ลกั วอลต์ดิสนีย์คอนเสริ ์ตฮอลลท์ ี่ ลอสแอนเจลสิ และแดนซิงเฮาส์ท่ีกรุงปราก สาธารณรัฐ เช็ก อาคารเรย์แอนด์มาเรียสตาตาเซนเตอร์ ในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ในเมืองแคมบริดจ์ รัฐ แมสซาชเู ซตส์ เปน็ ต้น ผลงานโดดเด่น 1) Museo Guggenheim Bibao พิพิธภัณฑ์กุก เกนไฮม์ บิลบาโอ ในเมืองบิลเบา ประเทศสเปน เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์งานศิลปะสมัยใหม่และร่วม สมัย ต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น้าเนร์บีออน ณ เมืองบิลบาโอ ประเทศสเปน อาคารได้รับการออกแบบโดย แฟรงก์ เกหรี สถาปนิกรางวัลพริตซ์เกอร์สัญชาติ แคนาดา-อเมริกา พิพิธภัณฑ์แห่งน้ีได้เริ่มขึ้นเมื่อรัฐบาลแคว้นบาสก์เสนอมูลนิธิโซโลมอน อาร์. กุกเกนไฮม์ ให้มาสร้างพิพิธภัณฑ์ บริเวณท่าเรือเก่าริมฝ่ังแม่น้าในเมืองบิลบาโอ ซ่ึงคร้ังหนึ่งเคยเป็นแหล่งสร้างรายที่สาคัญได้ให้กับเมือง สังเกต ได้ว่าตัวอาคารจะมีลักษณะเป็นรูปเรือครับ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ได้รับคายกย่องอย่างกว้างขวางในฐานะหน่ึงใน งานออกแบบทางสถาปัตยกรรมท่ีมีความสาคัญมากที่สุดนับต้ังแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา จากการ ลงคะแนนโดยสถาปนิกทเ่ี ชยี วชาญใน World Architecture Survey ค.ศ. 2010 วทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 43
3) Le Corbusier (เลอ คอร์บูซเิ ยร์) ผลงานโดดเด่น Notre Dame du Haut สถาปนิก นักผงั เมอื ง มัณฑนากร จติ รกร และ โบสถ์แห่งนี้ตั้งอยู่บนเนินเขาใกล้กับเมืองแบล นักเขียน เกิดเป็นชาวสวิตในภูมิภาคท่ีภาษา ฟอร์ ในฝร่ังเศสตะวันออก ท่ีซ่ึงเคยมีโบสถ์แสวง ฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ แต่แปลงสัญชาติเป็น บุญอุทิศให้แก่พระแม่มารี แต่ได้ถูกทาลายลง ชาวฝรั่งเศสเม่ืออายุ 43 ปี ท้ังนี้ เลอกอร์บูซีเย ยัง ในชว่ งสงครามโลกครั้งท่ีสอง หลังจากที่สงครามได้ ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านการผังเมือง และการ ส้นิ สุดลงมันกถ็ ูกวางแผนวา่ จะสรา้ งอยู่บนทาเลเดมิ ออกแบบไว้อีกด้วย เขามีชื่อเสียงในการสร้าง แนวคิดหน่วยที่อยู่อาศัย โดยแนวคิดน้ีเขาเร่ิม โครงสร้างส่วนใหญ่น้ันทามาจากคอนกรีต ซ่ึง คิดค้นในช่วงปี ค.ศ. 1920 เพื่อนาไปสู่การสร้าง ส่วนน้อยนั้นถูกล้อมรอบไปด้วยกาแพงท่ีหนา ทฤษฎขี องการอยู่อาศยั แบบร่วมกัน ประกอบกับหลังคาท่ีหงายข้ึนรองรับโดยเสาที่ฝัง อยู่ในกาแพง ดูคล้ายกับเรือใบท่ีโต้คล่ืนอยู่ในสาย กอร์บูซีเย ได้เปล่ียนกระบวนแบบของเขา ลมบนยอดเขา โบสถ์คริสเตียนแห่งน้ีได้เปรียบตัว หลังสงครามเขาก็ทิ้งความตั้งใจท่ีชอบผลิตผลของ มั น เ อ ง เ ป็ น เ รื อ ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ท่ี น า พ า เ อ า ค ว า ม เคร่ืองจักรท่ีมีผิวพื้นท่ีเรียบลื่นและหันไปชอบ ปลอดภัยและความช่วยเหลือให้พ้นภัยมาสู่เหล่า กระบวนแบบใหมซ่ ่ึงเขาเรยี กว่า brutism คอื ความ ผู้ติดตาม ด้านในน้ัน พื้นท่ีท่ีถูกเว้นว่างไว้ระหว่าง หยาบของผิววัสดุ เมื่อเป็นเช่นน้ีจะเห็นว่า กอร์บูซี กาแพงและหลงั คา ถูกเติมเต็มดว้ ยหนา้ ต่าง และยัง เย มักทาโครงสร้างแบบ “คอนกรีตเปลือย“ และ มีแสงที่ไม่สมมาตรเข้ามาจากช่องเปิดของกาแพง เขาเห็นว่าอาคารน้ันไม่เหมาะกับคนแต่ควรทาให้ เพอื่ ทจ่ี ะสง่ เสริมธรรมชาติท่ีศักด์ิสิทธ์ิของพ้ืนที่และ คนเหมาะกับอาคารจึงกาหนดสัดส่วนของอาคาร ยังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างตัวอาคารและ ใหเ้ หมาะสมแทน พื้นท่ีรอบด้าน การใช้แสงภายในตัวอาคารน้ันเป็น แบบละมุนละไมและไม่เป็นแสงที่อาทิตย์ท่ีเข้ามา ด้วยแรงบันดาลใจและความคิดสร้างสรรค์ใน โดยตรง ซ่ึงเข้ามาทางหน้าต่างและสะท้อนออก ยุค modern movement เขาได้ออกแบบโบสถ์ที่ จากกาแพงปูนสีขาวโบสถ์และหอคอยท่ีต่อออกมา รงชอง ถือเป็นงานชิ้นโบว์แดงของเขา มีลักษณะ ครบั เล่น ลูกเล่นแบบ plastic quality ของดินเหนียว ใช้รูปทรงที่แรงแทนสัญลักษณ์ทางศาสนา งานน้ีมี ลกั ษณะเหน็ ถึงพลังและมีความเป็นตัวเองได้อย่างมี เอกลักษณ์ วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านี - แผนกวชิ าช่างเทคนคิ สถาปตั ยกรรม P - 44
4) Zaha Hadid (ซาฮา ฮาดิด) เป็นสถาปนิกหญิงชาวอิรัก-อังกฤษ แนวดีคอนสตรักติวิ สซึมชื่อดังของอังกฤษ ได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ในปี ค.ศ. 2004 และได้รับเลือกเป็นหน่ึงใน 100 บุคคลท่ีมีอิทธิพลใน หมวดหม่นู กั คิดจากนติ ยสารไทม์ในปี ค.ศ. 2010 ซาฮา ฮาดิด ได้รับปริญญาทางคณิตศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยอเมริกันแห่งกรุงเบรุต ก่อนท่ีจะเข้ารับ การศึกษาต่อทางด้านสถาปัตยกรรมที่สถาบันเอไอเอ ในกรุง ลอนดอน หลังจบการศึกษา เธอได้กลายมาเป็นหุ้นส่วนของ สานักงานสถาปัตยกรรมเมโทรโปลิตัน ทางานร่วมกับ เร็ม คูลฮาส สถาปนิกช่ือดังชาวดัชท์ ท่ีเคยเป็นอาจารย์ของเธอ ในปีค.ศ. 1979 เธอยังได้ก่อตั้งสานักงานสถาปนิกของตนเอง ขึ้นในกรงุ ลอนดอน และในชว่ งคริสต์ศตวรรษที่ 1980 เธอยัง ได้เปน็ อาจารย์ในสถาบนั เอไอเออีกด้วย ผลงานโดดเด่น พพิ ธิ ภัณฑแ์ ห่งชาติ MAXXI ในกรงุ โรม อติ าลี พน้ื ทดี่ า้ นในถูกสร้างให้รสู้ ึกถึงความเคล่ือนไหว มีไดนา มิคของเส้นสาย เส้นโค้ง เพ่ือแสดงถึงความเคลื่อนไหวของ นิทรรศการอยู่เร่ือยมา ตกแต่งด้วยผนังคอนกรีต และบันไดท่ี ดาภายใน เพดานโปร่งให้ได้รับแสงจากธรรมชาติ ปัจจุบันก็ยัง เป็นที่ ๆคนใหค้ วามสนใจอยเู่ รือ่ ยๆ London aquatic centre ในปี 2012 ทผี่ า่ นมาหลายคนคงคุ้น ตากับอาคารรูปทรงคล้ายหมวกจักรยาน ที่ถูกใช้เป็นสนามกีฬาทางน้า (aquatic center) สาหรับการแข่งขันกีฬา โอลิมปิก ณ กรุงลอนดอน ท่ีเธอได้รับ ความไว้วางใจให้ออกแบบผลงานชิ้นน้ี ขน้ึ มา วิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี - แผนกวชิ าช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม P - 45
This is just a small starting point. There are many things that are waiting for you to study. (นี่เป็นเพยี งจุดเริ่มตน้ เลก็ ๆ เท่านัน้ ยงั มีอีกหลายสิ่งที่กาลงั รอใหพ้ วกคุณศึกษาคน้ ควา้ กันตอ่ ไป) วิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี - แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: