บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสูงเมน่ ท่ี ศธ 0210.5507(02)/ วนั ท่ี 5 เดือน เมษายน พ.ศ.2564 เรือ่ ง รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ตาบลพระหลวง ไตรมาส 1 - 2 ............................................................................................................................. ..................................... เรียน ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสงู เมน่ 1.เรื่องเดิม ตามแผนการปฏิบัติงาน ประจาปีงบประมาณ 2564 กศน.ตาบลพระหลวง ดาเนินการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาต่อเนื่อง ในพื้นที่ เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เผยแพร่แลกเปลย่ี นขอ้ มูลความรู้ และประสบการณ์เป็นทเ่ี รียบร้อยแล้ว น้นั 2.ขอ้ เท็จจริง บัดนี้ นางสาวเมทนิ ี ฉมิ ภารส ครูกศน.ตาบลพระหลวง ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการศึกษาต่อเนื่อง เปน็ ทเ่ี รียบรอ้ ยแล้ว จงึ ขอส่ง รายงานการปฏิบัตงิ านท่เี ป็น เลศิ (Best Practice) ตาบลพระหลวง ตามรายละเอียดดังแนบ 3.ขอ้ เสนอเพอ่ื พิจารณา จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรด 3.1 ทราบ 3.2 พิจารณาดาเนินการต่อไป ตรวจเสนอ (นางสาวเมทินี ฉิมภารส) ..../...../...... ครู กศน.ตาบล
ก คำนำ รายงาน Best Practice เล่มนี้เสนอความสาเร็จในการพัฒนา กศน.ตาบล กิจกรรม Best Practice ของ กศน.ตาบลพระหลวง ความเป็นมาและความสาคัญ เน่ืองจาก สมุนไพรถือวาเปนพืชที่อยูกับคนไทยและใชอยูใน ชีวิตประจาวันวันแทบจะทุกวัน เพราะอาหารไทย น้ันตองประกอบดวยสมุนไพร นอกจากจะนาสมุนไพรไป ประกอบอาหารแลว มีผูที่ตองการแปรรูป สมุนไพรใหเปนของทานเลน “สมุนไพรทอดกรอบ” ซึ่งสมุนไพรทอด กรอบของทางกลุมเปนที่นิยมบริโภคกันแพรหลาย เพราะนอกจากจะไดรับความอรอยแลวยังไดรับประโยชนจาก สมุนไพรอีกดวย ในปจจุบันสมุนไพรไทยของเรามีอยูท่ัวไปตามทองถิ่น เชน กะเพรา ใบมะกรูด ขิง ขา คะไคร กระชาย กระเทียม เปนตน จึงเหมาะแกการนามา แปรรูปใหมีมูลคา เปนชองทางการผลิตและจัดจาหนายให กับผูบริโภคที่รักษาสุขภาพดวยคุณคาทางโภชนาการของพืชผักสวนครัวไทย จากโอกาสที่ไดมีการผลิตขึ้นมาแล วจัดจาหนายตามทองถิ่นท่ัวไปเปนไปไดดวยดีและจะเจริญเติบตัวไปเร่ือยๆ กับความนิยม และความสนใจของ ประชาชนรวมถึงรายไดที่เกิดขึ้นกับรอบครัวของแตละคนในทองถิ่นและอาชีพที่ม่ันคงตอไปในอนาคต เหมาะสม กับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงในปจจบุ นั กับการ ใชชีวติ ทีพ่ อเพียงในชนุ ชน และสภาพสังคมยุคปจั จบุ ันที่มีความ เปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยี และการสื่อสารต่างๆสูงขึ้น จึงได้มีการนาเอาความรู้ ดังกล่าวมาปรับและ ประยุกต์ใช้ในการผลิตวัสดุทดแทนขึ้นมา กลุ่มภูมิปัญญาคนรุ่นเก่าที่มีองค์ความรู้ด้านการปักเย็บเสื้อผ้าชน พื้นเมืองได้ผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่จึงหันมาฝึกการปักผ้าด้วยมือการดาเนินชีวิตประจาวัน การปัก และการเย็บผ้าพื้นเมือง จึงมีความสะดวกสบายขึ้น มีเส้นด้ายให้เลือกหลายสี มีลวดหลายสีสันสวยงาม มีความ คงทนและเลือกแบบได้ จงึ เกิดแนวคิดในการพัฒนาและการผลิตของใชใ้ นชีวิตประจาวัน ที่เปน็ ประเภทการปักเย็บ ผ้าและการตกแต่งผ้า เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเกิดความสวยงาม อนุรักษ์ไว้ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ดีต่อคณุ ภาพชีวิต อีก ทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับเสื้อผ้าเป็นเชิงสร้างสรรค์ ทันสมัยมีรูปแบบและลักษณะที่สวยงามจาหน่ายได้ นับเปน็ ช่องหนง่ึ ในการประกอบอาชีพนั้น ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสูงเม่น กศน.ตาบลพระหลวง ขอ ขอบพระคุณผูมีสวนเกี่ยวของ รวมทั้งภาคีเครือขายและประชาชนกลุมเปาหมายผูรับบริการการเรียนรูที่ไดมีสวน รวมใหการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประสบผลสาเร็จดังปรากฏรายละเอียดใน รายงานฉบับนี้ ซึ่งเปนขอมูลและสารสนเทศที่สาคัญ ในการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึน้ ตอไป หน่วยงานภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้ความร่วมมอื และการ สนบั สนุนและช่วยเหลือด้านต่างๆในกิจกรรมจนทาใหโ้ ครงการฯ นสี้ าเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ผจู้ ัดทา นางสาวเมทินี ฉิมภารส
เน้ือหา ข คานา หนา้ สารบญั กิจกรรมท่ีเป็น Best Practice ก ความสาเร็จของงาน/นวตั กรรมทนี่ าเสนอ ข จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนินงาน 1 ปัจจยั ความสาเร็จ/ขอ้ เสนอแนะและวธิ ีการปฏิบัตงิ าน 1 บทเรียนที่ได้รบั 1 การนาไปต่อยอดของกลุ่มอาชพี 2 3 4-5
ประชาคม / ประชุมชีแ้ จง / วางแผนการดาเนนิ งานตามหลักสูตร ขออนมุ ัติหลักสตู ร /กรอกใบสมัครผู้เรยี นกลมุ่ สนใจ /แจง้ เปดิ การจดั การศึกษาวชิ าชพี ดาเนินการเรียน วิชาการทาสมุนไพรทอดกรอบ และ การออกแบบลวดลายการปกั ผ้า ติดตามผลและรายงานผลการดาเนนิ จัดกิจกรรมวิชาชพี ปัจจยั ป้อน ๑. ผเู้ รยี น สว่ นใหญ่มที ักษะพ้นื ฐานการเย็บ/การปกั และสามารถนาสมุนไพรพืน้ บา้ นมาแปรรูป ๒. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา กศน.อาเภอสูงเมน่ ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการจดั กิจกรรม ๓. ครู มีความตั้งใจในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ตรงความต้องการของผู้เรียน มีความมุ่งมั่นและ พรอ้ มทจี่ ะแกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ข้ึน ๔. สถานท่ีจัดการเรยี นรู้ อยใู่ นชุมชนเอ้อื ตอ่ การเดินทางของผเู้ รียน ปจั จัยทีส่ ่งต่อผลสาเรจ็ ของการจดั การศึกษาวชิ าชีพหลักสตู รระยะส้ันและ กลุ่มสนใจในครงั้ นี้ คือการทางาน วิเคราะห์ปัญหาตามสภาพบริบทของชุมชนและดาเนินการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ร่วมกับ ผู้เรียนเพื่อร่วมกัน ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้ความรู้แก่ผู้เรียนอยู่เสมอและนาเทคโนโลยีใหม่ๆมาปรับใช้ในการพัฒนาการ ออกแบบลวดลายการปักผ้า และการแปรรูปสมนุ ไพรพ้ืนบา้ นใหม้ คี ุณคา่ และประโยชนด์ ีย่ิงขึน้ 1. ข้ันตอนการออกแบบการบรรจุผลิตภัณฑ์และพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้ได้มาตรฐานสินค้าจาก หน่วยงานอน่ื ตอ่ ไป 2. นาไปขยายผลใหก้ บั เยาวชนเรยี นรู้เรื่องแรออกแบบลวดลายการปกั ผา้ และการเยบ็ ปักเบือ้ งตน้
กำรนำไปตอ่ ยอดของผู้เรยี นกลุ่มอำชีพท้งั สองกลุ่ม การนาไปต่อยอดในการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้เรยี น วางขายทร่ี ้านส้มตา หน้าโรงเรียนหัวดงและ ขายผา่ นช่องทางออนไลน์โดยใช้ Facebook ใน การขายสนิ คา้ และมกี ารรีววิ ขายผู้ซื้อ
กำรนำไปตอ่ ยอดของผู้เรียนกลุ่มอำชีพทง้ั สองกลุ่ม การนาไปต่อยอดในการปักผ้าถุงและนาไปประกอบอาชีพในกลมุ่ ผู้เรยี น ขายผ่านชอ่ งทางออนไลนโ์ ดยใช้ Facebook ในการขายสนิ คา้ และมกี าร ผลิตสินคา้ ต่อเน่อื ง
ทางชอ่ งทาง เฟสบุ๊ค กศน.ตาบลพระหลวง
ลงชอื่ .......... ........................................ผู้รายงาน (นางสาวเมทนิ ี ฉิมภารส) ครู กศน.ตาบลพระหลวง ลงชอ่ื ...................................................ผตู้ รวจเสนอ (นางวรรณี กันฉิ่ง) ครู อาสาสมคั ร ฯ ขอ้ เสนอแนะ/ความคดิ เห็น (ผู้บริหารสถานศกึ ษา) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................... ผู้ตรวจ (นางสาวอรุณี พนั ธ์ุพาณชิ ย์) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสูงเม่น
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: