แบบฝึกหัด 7 เรื่อง ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นาย พิศิษฐ์ เอี่ยมตระบุตร รหัสนักศึกษา 4631071141109 นาย สิทธิพล อำภาพันธุ์ รหัสนักศึกษา 4631071143125 1. จงบอกประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใช้ขนาดกายภาพทางภูมิศาสตร์ของเครือข่ายเป็น เกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ ตอบ 1. เครือข่ายท้องถิ่น (LAN: Local Area Network) 2. เครือข่ายในเขตเมือง (MAN: Metropolitan Area Network) 3. เครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN: Wide Area Network)ใช้ลักษณะ หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ - 1. เครือข่ายแบบเท่าเทียม (Pccr-to-Peer Network) -2. เครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ (Client-Server Network) ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์สามารถแบ่งไห้คังนี้ คือ 1. เครือข่ายสาธารณะ (Intemet) 2. เครือข่ายส่วนบุคคล (Intranet) 3.เครือข่ายร่วม (Extranct) 2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจำแนกได้กี่ประเภทอะไรบ้าง ตอบ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถจำแนกได้ 3 ประเภท คือ -1.ประเภทของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์แบ่งตามขนาดกายภาพทางภูมิศาสตร์ -2.ประเภทของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์แบ่งตามหน้าที่ของคอมพิ วเตอร์ -3.ประเภทของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์แบ่งตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล 3.ประเภทเครื่อข่ายที่ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นกณฑ์แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้างจงอธิบาย ตอบ ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1.LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ ในบริเวณที่ไม่ว้างนัก จใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสำนักงานคลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทำได้ด้วยความเร็วสูงและมี ข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือชำยระดับท้องถิ่นจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำงาน และใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน
2.MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การ เชื่อมโยงจะล้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายที่ ใช้กับองค์การที่มีสาขห่างไกลและ ต้องการเชื่อมสาขาหสำนั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่าย แวนเชื่อมไขงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทค โน โลยีที่ใช้ กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียมเส้นใยนำแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุสายเคเบิล 3.WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้างเป็นระบบเครือข่ายที่ ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้างเช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการ ติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลกก็ใด้ ในการเชื่อมการติคต่อนั้น จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบ สื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกัน โดย ปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่ำและ มีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โบเต็ม (Modem) มาช่วย4.ประเภทครือ ข่ายที่ใช้ลักษณะหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือายเป็นเกณฑ์สามารถแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้างจง อธิบายใช้ลักษณะหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ ตอบ 1. Pecer-to-Peer Network หรือเครือข่ายแบบเท่าเทียม เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่อง จะสามารถแบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเครื่องพิมพั ซึ่งกันและกันภายในเครือข่ายได้ เครื่องแต่ละเครื่องจะทำงานในลักษณะที่ ทัดเทียมกัน ไม่มีเครื่องใดเครื่องเครื่องหนึ่งเป็นเครื่องหลักเหมือนแบบ Client / Server แต่ก็ขังคงคุณสมบัติพื้นฐานของระบบเครือข่ายไว้เหมือนเดิม การเชื่อมต่อแบบนี้มักทำในระบบ ที่มีขนาคเล็กๆ เช่น หน่วยงานขนากเล็กที่มีเครื่องใช้ไม่เกิน 10 เครื่อง การเชื่อมต่อแบบนี้มีจุดอ่อนในเรื่องของระบบรักษาความ ปลอดภัยแต่ถ้าเป็นเครือข่ายขนาดเล็กและเป็นงานที่ ไม่มีข้อมูลที่เป็นความลับมากนัก เครือข่ายแบบนี้ ก็เป็นรูป แบบที่น่าเลือกนำมาใช้ได้เป็นอย่างดี
2. Cient-Server Netwonk หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการเป็น ระบบที่มีเครื่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมีฐานะการทำงานที่เหมือน ๆ กัน เท่าเทียม กันภายในระบบเครือข่าย แต่จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่อง ScrVer ที่ทำหนัที่ให้บริการทรัพยากรต่างๆ ให้กับ เครื่อง Clien หรือเครื่องที่ขอใช้บริการ ซึ่งอาาจจะต้องเป็น เครื่องที่มีประสิทธิภาพที่ก่อนข้างสูง ถึงจะทำให้การให้บริการมี ประสิทธิภาพ ตามไปด้วย ข้อดีของระบบเครือข่ายClient - Server เป็นระบบที่มีการรักษา ความปลอดภัยสูงกว่า ระบบแบบ Per To Poer เพราะว่าการจัดการในค้นรักษาความปลอดภัยนั้น จะทำกันบนเครื่อง Server เพียงเครื่องเดียว ทำให้ดูแลรักมาง่ายและสะควก มีการกำหนดสิทธิการเข้าใช้ ทรัพยากรต่าง ๆให้กับเครื่องผู้ขอใช้บริการ หรือ เครื่องClient . ประเภทครือข่ายที่ช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์มีอะไรบ้างจง อธิบายใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์สามารถแบ่งออก ได้เป็น 3 ประเภท ตอบ 1. อินเทอร์เน็ต (Intemet) เครือข่ายสาธารณะ เป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆเครื่องเชื่อมต่อ เข้ากับระบบและยังขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปื อินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้ทั่วโลกหลายร้อย ล้านคน และผู้ใช้เหล่านี้สามารถแล ลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร กันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็นอุปสรรค นอกจากนี้ผู้ใช้ ยังสามารถข้าดูข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกดีพิมพ์ในอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อม แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจ มหาวิทยาลัย หน่วยงานของรัฐบาล หรือแม้กระทั่งแหล่งข้อมูลบุคคล องค์กรธุรกิจหลาย องค์กรได้ใช้อินเทอร์เน็ตช่วยในการ ทำการค้า เช่น การติดต่อซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมิรัช (E-Com erce) ซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งสำหรับการทำธุรกิจที่กำลังเป็นที่นิยม
เนื่องจากมีต้นทุนที่ถูกกว่าและมีฐานลูกค้ที่ใหญ่มาก ส่วนข้อเสียของอินเทอร์เน็ตคือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากทุกคนสามารถข้าถึงข้อมูลทุกอย่างที่แลกเปลี่ยนผ่านอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรียกว่า\"TCPIP Transport Connection Protoco/Internet Protocoly\" ในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้ เป็นผลจากโดรงการหนึ่งของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ โครงการนี้มีชื่อว่า ARPANET (Advanced Research Projccts Agemcy Network) ในปี ค.ศ.1975 จุดประสงค์ของโครงการนี้เพื่อเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกัน และภายหลังจึงได้กำหนดให้เป็นโปรโตคอมาตรฐานใน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นเครือข่ายสาธารณะ ซึ่งไม่มีผู้ ใคหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต ต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรียกว่า \"ISP (Intemet Service Provider)\" ซึ่ง จะทำหน้าที่ให้บริการในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต นั่นคือ ข้อมูลทุก อย่างที่ส่งผ่านเครือข่าย ทุกคนสามารถดูได้ นอกเสียจากจะมีการเข้ารหัสลับ ซึ่งผู้ใช้ต้องทำเอง 2. อินทราเน็ต (Intranct) หรือเครือข่ายส่วนบุคคลเป็นเครือข่ายส่วน บุคคลที่ใช้เทคในโลยีอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บ, อืเมล, FIP เป็นต้น อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล T CPIP สำหรับการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับ อินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรโตคอลนี้สามารถใช้ได้กับฮาร์ดแวร์หลายประเภท และ สายสัญญาณหลายประเภท ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สร้างเครือข่ายไม่ใช่ปัจจัยหลัก ของอินทราเน็ต แต่เป็นซชอฟต์แวร์ที่ทำให้อินทราเน็ตทำงานไว้ อินทราเน็ต เป็นเครือข่ายที่องค์กรสร้างขึ้นสำหรับให้พนักงานขององค์กรใช้เท่านั้น
การแชร์ข้อมูลจะอยู่เฉพาะในอินเตอร์เน็ตเท่านั้น หรือถ้ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูล กับโลกภายนอกหรืออินเทอร์เน็ตองค์กรนั้นสามารถที่จะกำหน นคน โยบายได้ ในขณะที่การแชร์ข้อมูลอินเทอร์เน็ตนั้นยังไม่มีองค์กรใดที่สามารถ ควบคุมการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ เมื่อเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต พนักงานบริษัทของบริษัทสามารถติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอกเพื่ อการค้นหา ข้อมูลหรือทำธุรกิจต่าง ๆ การใช้โปรโตคอล TCPIPทำให้ผู้ใช้ สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากที่ห่างไกลได้ (Remote Access) เช่น จากที่บ้าน หรือในเวลาที่ต้องเดินทางเพื่อติดต่อธุรกิจ การเชื่อมต่อเข้ากับ อินทราเน็ต โดยการใช้โมเค็มและสายโทรศัพท์ ก็เหมือนกับการเชื่อมต่อเข้า กับอินเทอร์เน็ต แต่แตกต่างกันที่เป็นการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายส่วนบุคคล แทนที่จะเป็นเครือข่ายสาธารณะอย่างเช่นอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อกันได้ ระหว่างอินทราเน็ตกับอินเทอร์เน็ตถือเป็นประ โยชน์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง ระบบ การรักษาความปลอดภัยเป็นสิ่งที่แยกอินทราเน็ตออกจากอินเทอร์เน็ตเครือ ข่ายอินทราเน็ตขององค์กรจะถูกปกป้องโดยไฟรัวอลล์ (Ficwall) ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟค์แวร์ที่ทำหนัที่กรองข้อมูลที่ แลกเปลี่ยนกันระหว่างอินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมีการ เชื่อมต่อกัน ดังนั้นองค์กรสามารถกำหนดน โขบายเพื่อควบคุมการเข้าใช้ งานอินทราเน็ตได้อินทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ใน องค์กร ได้หลายอย่าง ความง่ายในการตีพิมพ์บนเว็บทำให้เป็นที่นิยมในการ ประกาศข่าวสารขององค์กร เช่น ข่าวภายในองค์กรกฎ ระเบียบ และ มาตรฐาน การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นต้น หรือแม้กระทั่งการเข้าถึงฐาน ข้อมูล ขององค์กรก็ง่ายเช่นกัน ผู้ใช้สามารถทำงานร่วมกันได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น
3. เอ็กสัทราเน็ต (Extranet) หรือเครือข่ายร่วม ตอบ เป็นเครือข่ายกึ่งอินเทอร์เน็ตกึ่งอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ทราเน็ตคือ เครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่วนของ เครือข่ายที่เป็นเข้าของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัทรงนโยบาย ได้ที่เกี่ยว กับการรักษาความปลอดภัยของ การสร้างอินทราเน็ตจะ ไม่จำกัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงข้อมูลที่ทั้งสององค์กร จะต้องตกลงกัน เช่น องค์กรหนึ่งอาจจะ อนุญาตให้ผู้ใช้ของอีกองค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรือไม่ เป็นต้น การสร้างเอ็กสัทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูลรวมถึง การติดตั้งไฟร์วอลล์หรือระหว่าง อินทราเน็ตและการเข้ารหัสข้อมูลและสิ่งที่สำคัญ ที่สุดก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภัยข้อมูลและการบังคับใช้
แบบฝึกหัด6 นาย พิศิษฐ์ เอี่ยมตระบุตร รหัสนักศึกษา 4631071141109 นาย สิทธิพล อำภาพันธุ์ รหัสนักศึกษา 4631071143125 1. จงบอกความหมายของระบบการสื่อสารข้อมูล การโอนถ่ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล (Transmission) กันระหว่างตันทางกับ ปลายทางโดยผ่านอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต้อง อาศัยอุปกรณ์หรือเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์ช่วยในการถ่ายโฉนหรือเคลื่อนย้ายข้อมูล รวมทั้งยังต้องอาศัย สื่อกลางในการนำข้อมูลจากต้น ทางไปยังปลายทาง (ฝ่ายตำราวิซาการคอมพิวเตอร์, 2558) คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และโปรแกรมที่ใช้ควบคุมการไหลของข้อมูลและบุคลากรผู้ดำเนิน งานจะช่วยส่งสริมในการปฏิบัติการและจัดการในส่วนต่างๆทั้งหมดเพื่ อให้การ สื่อสารข้อมูลเป็นไปตามต้องการ 2. อธิบายองค์ประกอบพื้นฐานระบบการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบพื้นฐานหลัก 4 อย่างในระบบสื่อสารข้อมูล ได้แก่ 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ข้อมูล (Sender) และ ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ทั้งอุปกรณ์รับและส่งข้อมูลอาจจะเป็นอุปกรณ์นิดเดียวกันก็ได้ อุปกรณ์รับ/ ส่งข้อมูลมี 2 ชนิดคือ 1.1 Data Terminal Equipment (DTE) เป็นแหล่งกำเนิดและรับข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัล คอมพิวเตอร์ เมนเฟรม เครื่องพิมพ์ เป็นต้น 1.2 Data Communication Equipment (DCE) เป็นอุปกรณ์ในการรับ/ ส่งข้อมูล เช่น โมเต็ม จาน ไมโครเวฟ หรือจานดาวเทียม Fibrotic Infrared Wireless เป็น ต้น 2. โปรโตคอล (Protocol) หรือซอฟต์แวร์ (Software) 2.1 โปรโตคอล คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่ อให้ผู้รับและผู้ส่งข้อมูลเข้าใจ กันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ตัวอย่างคือ x.25 SDLC TCP/IP 3. ซอฟต์แวร์ คือ ส่วนที่ทำหน้าที่ในการดำเนินงานในการสื่อสารข้อมูลเป็นไป ตามที่โปรแกรมกำหนด ตัวอย่าง ได้คือ Windows หรือ Novel's Netware เป็นต้น
4. ข่าวสาร (Message) ข่าวสาร คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร บางครั้งเรียกว่า สารสนเทศ (Information) รูปแบบของข่าวสารมี 4 รูปแบบ คือ 4.1 เสียง (Voice) 4.2 ข้อมูล (Data) 4.3 ข้อความ (TexI) 4.4 ภาพ (Picture) 5. สื่อกลาง (Medium) เป็นสื่อกลางที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล จากต้นกำเนิดไปยังปลายทางสื่อกลางนี้อาจจะเป็น เส้นลวด สายไฟ สายเคเบิล หรือสายไฟเบอร์ออปติก เป็นต้น หรืออาจจะเป็นคลื่นที่ส่งผ่านในอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือ คลื่นวิทยุ เป็นต้น 3. จงบอกการส่งสัญญาณบนสื่อกลางข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ สื่อกลางส่งข้อมูล ประกอบด้วยวัสดุและรวมถึงการนำเทคนิคต่างๆ มาใช้เพื่อนำส่ง สัญญาณ โดยสื่อกลางส่งข้อมูลอาจเป็นได้ทั้งแบบมีสายสัญญาณหรือเคเบิลต่างๆ รวม ถึง สื่อกลางแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ อินฟราเรด หรือดาวเทียม เป็นต้น เมื่อมีการส่ง ข้อมูล จากคอมพิวเตอร์สัญญาณเหล่านี้ จะเดินไปตามสื่อกลางและพื้นฐานความเป็นจริง สื่อกลาง ที่นำมาใช้เพื่อเชื่อมโยงบนเครือข่ายที่มีระยะทางไกลๆ อาจประกอบด้วยสื่อกลาง หลากหลายชนิดที่นำมาใช้งานร่วมกัน และอาจมีความแตกต่างกันตามความเหมาะสมบน พื้นที่นั้นๆ สำหรับเทคนิคการส่งสัญญาณบนสื่อกลาง อาจส่งเพียงสัญญาณเดียว หรือ มากกว่าหนึ่งสัญญาณก็เป็นได้ 3.1 การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบเบสแบนด์ (Baseband) เป็นการใช้ช่องทาง การ สื่อสารเพี ยงช่องทางเดียวสำหรับการส่งสัญญาณดิจิทัลในแต่ละครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง โดยเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์สวนใหญ่ มักใช้การส่งสัญญาณชนิดนี้ เนื่องจากเป็นวิธีการที่ ไม่ ขับซ้อนและสามารถจัดการควบคุมง่าย 3.2 การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband) เป็นการใช้ ช่อง ทางการสื่อสารหลายช่องทางเพื่อส่งสัญญาณอนาล็อก (Analog) โดยแต่ละครั้งข้อมูล สามารถจัดส่งหรือลำเลียงบนช่วงความถี่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการส่งสัญญาณชนิดนี้จะมี ระบบการจัดการที่ยุ่งยากกว่าการส่งสัญญาณแบบเบสแบนด์มาก เพราะจะต้องจัดการกับ จำนวนข้อมูลต่างๆ ที่ลำเลียงอยู่บนหลายช่องความถี่บนสายส่งสำหรับสื่อกลางข้อมูลที่นำ มาใช้เพื่อส่งสัญญาณแบบบรอดแบนด์นั้น จะรับรองความเร็ว ที่สูงกว่าแบบเบสแบนด์ และมีต้นทุนสูงกว่า โดยปัจจุบันมักมีการนำเทคโนโลยีบรอดแบนด์มาใช้งานตามบ้านเรือน ที่พัก หรือองค์กรธุรกิจมากขึ้น เช่น เทคโนโลยีบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
4. ให้นักศึกษายกตัวอย่างชนิดสื่อกลางส่งข้อมูลที่นำมาใช้งานบน เครือข่าย นั้น ทั้งแบบสื่อกลางส่งข้อมูลแบบใช้สายและแบบไร้สาย ร้อมทั้งอธิบายการ การทำงานสื่อกลางแบบใช้สาย สายคู่บิดเกลียว (wisted pair cable ลักษณะของสายคู่บิด เกลียวแต่ละคู่จะทำ ด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นจะมีฉนวนหุ้มพันกันเป็นเกลียว เพื่อ ป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นอกจากนี้สายคู่บิดเกลียวยัง สามารถแบ่งออกเป็นประเภทที่ไม่มีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน หรือ เรียกว่าสายยูที่พี่ (UTP: Unshielded Twisted- Pair Cable) สายบิด เกลียวแบบไม่มีโลหะห่อหุ้มนิยมใช้กับEthernet network ซึ่งมีความเร็วใน การส่งข้อมูลประมาณ 10 Mbps กับแบบที่มีฉนวน ป้องกันสัญญาณ รบกวน หรือเรียกว่าสายเอสที่พี (STP: Shielded Twisted-Pair cable) สายบิดเกลียวแบบมีโลหะห่อหุ้มมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูง มีชั้นโลหะที่ทำ หน้าที่ป้องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอก จึงทำให้มีราคาแพงกว่าสาย UTP สื่อกลางแบบไร้สาย สัญญาณทูธ (Bluetooth) การทำงานของ Bluetooth จะใช้สัญญาณวิทยุความถี่สูง 2.4 GH2. (กิ๊ก กะเฮิร์ซ) แต่จะ แยกย่อยออกไป ตามแต่ละประเทศ อย่างในแถบยุโรปและอเมริกา จะใช้ ช่วง2.400 ถึง 2.4835 GH2. แบ่งออกเป็น 79 ช่องสัญญาณ และจะใช้ ช่องสัญญาณที่แบ่งนี้ เพื่อส่งข้อมูลสลับช่องไปมา1,600 ครั้งต่อ 1 วินาที ส่วนที่ญี่ปุ่นจะใช้ความถี่ 2.402 ถึง 2.480 GHz. แบ่งออกเป็น 23 ช่อง ระยะทำการของ Bluetooth จะอยู่ที่ 5-10 เมตร โดยมีระบบป้องกันโดยใช้ การป้อนรหัสก่อนการเชื่อมต่อและป้องกันการดักสัญญาณระหว่างสื่อสาร โดยระบบจะสลับช่องสัญญาณไปมา จะมีความสามารถในการเลือกเปลี่ยน ความถี่ที่ใช้ในการติดต่อเองอัตนมัติ ดยที่ไม่จำเป็นต้องเรียงตามหมายเลข ช่องทำให้การดักฟังหรือลักลอบขโมยข้อมูลทำได้ยากขึ้น โดยหลักของบลูทูธ จะถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากใช้การขนส่งข้อมูล ในจำนวนที่ไม่มากอย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสียง, แอพพลิเคชั่นต่างๆและสามารถ เคลื่อนย้ายได้ง่าย ขอให้อยู่ในระยะที่กำหนดไว้เท่านั้น(ประมาณ 5-10 เมต9) นอกจากนี้ยังใช้พลังงานต่ำ กินไฟน้อย และสามารถใช้งานได้นาน โดยไม่ต้อง นำไปชาร์จไฟบ่อยๆด้วย
ส่วนความสามารถการส่งถ่ายข้อมูลของ Bluetooth จะอยู่ที่ 1 Mbps (1 เมกกะบิตต่อวินาที) และจะไม่มีปัญหาะไรกับขนาดของไฟล์ที่ใช้กันบน โทรศัพท์มือถือ หรือ การใช้งานแบบทั่วไปซึ่งถือว่าเหลือเฟือมาก แต่ถ้า เป็นข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ก็คงจะช้าเกินไป และถ้าถูกนำไปเปรียบกับ Wireless LAN (WLAN) แล้ว ความสามารถของ Bluetooth คงแตก ต่างกัน ซึ่งในสวนของWLANก็ยังมีระยะการรับ-ส่งที่ไกลกว่า แต่ข้อได้ เปรียบของ Bluetooth จะอยู่ที่ขนาดที่เล็กกว่า การติดตั้งทำได้ง่ายกว่าและที่สำคัญการใช้พลังงานก็น้อยกว่ามาก อยู่ที่ 0.1 วัตต์ หากเทียบกับคลื่นมือถือแล้วยังห่างกันอยู่หลายเท่า 5.จงอธิบายการหน้าที่ของอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งรับข้อมูลการสื่อสาร มา อย่างน้อย 3 ชนิด 1.โมเต็ม (MODEM) MODEM มาจากคำเต็มว่า Modulator - DEModulator ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอล ที่ได้รับจากเครื่องส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำการส่งไปยังปลายทางต่อไป โดยผ่าน เครือข่ายโทศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมีโมเต็มทำหน้าที่แปลง สัญญาณจากอนาลอกให้เป็นดิจิตอลเพื่ อใช้กับคอมพิ วเตอร์ปลายทาง 2.มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) วิธีการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางที่ง่ายที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point แต่ต้องเสียคำใช้จ่ยสูงและใช้งานไม่เต็มที่ จึงมีวิธีการ เชื่อมต่อที่ยุ่งยากขึ้น คือการเชื่อมต่อ แบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเส้น 802.3 3.คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) คอนเซนเตรเตอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถเพิ่ม สายหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากขึ้น การส่งข้อมูลจะเป็นแบบ อชิงโครนัส
4.คอนโทรลเลอร์(Controller) คอนโทรลเลอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่ส่งข้อมูลแบบอชิงโครนัส ที่สามารถส่ง ข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้ดี การทำงานจะต้องมีโปรโตคอลพิศษสำหรับกำหนด วิธีการรับส่งข้อมูล มีบอร์ด วงจรไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิ วเตอร์ 5.ฮับ (HUB) ฮับเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่เช่นเดียวกับมัลติเพล็กซ์เซอร์ ซึ่งนิยมใช้ กับระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มีราคาต่ำ ติดต่อสื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3 6.ฟรอนต์ - เอ็นโปรเซสเซอร์ FEP (Front-End Processor) FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือมินิ คอมพิ วเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่าย สำหรับสื่อสารข้อมูล เช่น โมเต็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น FEP เป็นอุปกรณ์ที่มี หน่วยความจำ (RAM) และชอฟต์แวร์สำหรับควบคุมการทำงานเป็นของตัวเอง โดยมีหน้าที่หลักคือ ทำหน้าที่แก้ไขข่าวสาร เก็บข่าวสารเปลี่ยนรหัสรวบรวมหรือ กระจายอักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล จัดคิวเข้าออกของ ข้อมูล ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูล 6. อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิมูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจาก โปรโตคอลแบบหนึ่งไป เป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้โปรโตคอลอีกแบบหนึ่ง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวหรือ เป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ก็ได้ บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง 2อย่างโดยทำให้ คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามานั้นดูเหมือนเป็นเครื่องเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือมิ นิคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนิยมนำเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ติดต่อกับมินิ หรือเมนแฟรมก็สามารถใช้เป็น PC ทั่วไปได้ 7.เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีหน้าที่หลักคือ ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือ มากกว่าซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือข่าย เดียวกัน โดยทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกันในหลาย กรณี เช่น ลักษณะการเชื่อมต่อ (Connectivity) ที่ไม่เหมือนกัน โปรโตคอลที่ใช้ สำหรับรับส่งข้อมูลต่างกัน เป็นต้น
8.บริตจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ IWU (Inter Working Unit) ที่ใช้สำหรับเชื่อมเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) 2 เครื่อข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะใช้โปรโตคอลที่เหมือน กันหรือต่างกันก็ได้ 9.เราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะเป็นเครือข่ายเดียวกันหรือข้าม เครือข่ายกันโดยการเชื่อมกันระหว่างหลายเครือข่ายแบบนี้เรียกว่า เครือข่าย อินเตอร์เน็ต (Internet โดยเครือข่ายแต่ละเครือข่ายจะเรียกว่า เครือข่ายย่อย (SubnetworK) ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้เชื่ออมต่อระหว่างเครือข่าย เรียกว่า WU (Inter Working Unit) ได้แก่ เราเตอร์และบริตจ์ 10.รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับสงสัญญาณซ้ำ เพื่อส่งสัญญาณต่อไปนี้ในระยะไกลป้องกัน การขาดหายของ สัญญาณ ซึ่งรูปแบบของเครือข่ายแต่ละแบบรวมทั้งสายสัญญาณที่ ใช้เป็นตัวกลางหรือสื่อกลาง แต่ละชนิดจะมีข้อจำกัดของระยะทางในการส่ง ดังนั้นมื่อ ต้องการส่งสัญญาณให้ไกลกว่าปกติต้องเชื่อมต่อกับรีพีตเตอร์ดังกล่าว เพื่อทำให้ สามารถส่งสัญญาณ ได้ไกลยิ่งขึ้น
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: