พรา้ วนกคมุ่ พืชเมอื งใตท้ ีถ่ กู ลมื หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอถลาง จงั หวดั ภูเก็ต
พรา้ วนกคุ่มพืชเมืองใต้ท่ีถูกลืม ชื่อท้องถ่นิ อื่น ๆ : วา่ นพร้าว จ๊าลาน (เชียงราย), มะพร้าวนกคุ่ม(ตรัง) มะพร้าว นกคุ้ม (ยะลา), พญารากเดย่ี ว (นราธิวาส), กดู พร้าว (ภาคเหนือ), ละโมยอ (มลายู-นรา), ซีหนานเหวินสูหลาน (จีนกลาง) เปน็ ต้น
ลกั ษณะของต้นพร้าวนกคุม่ พรา้ วนกคุม่ หรอื ต้นว่านสากเหล็ก มีถิ่นกาเนิดอยู่ทางจงั หวัดสระบุรี จดั เปน็ พรรณไม้เต้ยี หรือไม้ลม้ ลกุ มอี ายหุ ลายปี ลักษณะคล้ายกับพืชจาพวกปาล์ม มีความ สูงประมาณ 30-40 เซนตเิ มตร ลาต้นเหนือดินมลี ักษณะกลมชุ่มน้า มีหัวคล้ายราก แทงลึกลงไปในดินประมาณ 10-30 เซนตเิ มตร ตรงหัวจะมีรากเลก็ ๆ ลึกลงไปในดิน อีกรากหน่งึ ซ่งึ จะมีลกั ษณะคล้ายกบั สากตาข้าว หรือเปน็ รปู ไข่กลมรี มีผลกลมรกี นิ มีรสหวานขยายพนั ธุ์ดว้ ยวธิ ีการแยกหน่อ และใช้เมล็ด พบแพร่กระตายในพม่า และ ทางตอนใตข้ องไทย รวมถงึ หมู่เกาะมาเลเซียและบอร์เนยี
ใบ ใบออกเรียงสลบั ติดกันทีโ่ คนตน้ ลักษณะของใบเป็นรูปยาวรีหรือรปู ขอบ ขนานแกมรูปหอก แผ่นใบพบั เป็นร่อง ๆ ตามยาวคล้ายกบั ใบปาล์ม ปลายใบ เรียวแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบเป็นคลืน่ เลก็ นอ้ ย แผ่นใบเปน็ สีเขยี ว เขม้ ใบมีขนาดกวา้ งประมาณ 3.5-6 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 20-70 เซนตเิ มตร มีก้านใบยาวประมาณ 25-30 เซนตเิ มตร โคนแผ่กว้างหุ้มกับลาต้น
ดอก ดอกออกเปน็ ช่อแทงขนึ้ มาจากหัวใตด้ ิน ดอกมกี ลบี 6 กลบี สีเหลือง โคน ดอกเชือ่ มติดกนั ดอกมขี นาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 2-2.5 เซนตเิ มตร ดอกออกรวมกันแน่น ลกั ษณะเป็นช่อรูปทรงกระบอกปลายแหลม มีขนาดกว้าง ประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร และยาวได้ประมาณ 5-7 เซนติเมตร
ผล ผลมีลกั ษณะกลมมสี ีเหลืองอมเขยี วออ่ น ส่วนผลแก่เปน็ สีขาวถึงแดง มีขนาด ยาวประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร ส่วนทด่ี ้านข้ัวป่องออก มขี นาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง ประมาณ 1 เซนตเิ มตร และค่อย ๆ เรยี วไปทางปลายผล ผลมีรสหวานถ้ากินน้า หลงั จากกินผลไมน้ แี้ ล้ว จะทาให้สึกว่าน้ามีรสหวานชุ่มคอดี
สรรพคุณของพร้าวนกคุ่ม • ใบและรากมีรสเผด็ ขม เป็นยาเย็นมีพิษเลก็ นอ้ ย ใชเ้ ป็นยาดบั พษิ รอ้ น ถอนพิษ ไข้ (ใบและราก) • ช่วยกระจายโลหติ ฟอกโลหิต และทาใหโ้ ลหิตไหลเวียนไดส้ ะดวก (ใบและราก) ชว่ ยบารุงกาลงั (ราก) • ชว่ ยแกอ้ าการไอ เจ็บคอ ดว้ ยการใชย้ าแหง้ ประมาณ 3-10 กรมั นามาตม้ กบั นา้ รบั ประทาน (ใบและราก) • หวั และรากของวา่ นสากเหลก็ นามาห่นั บาง ๆ แลว้ ตากใหแ้ หง้ ใชด้ องกบั เหลา้ กินเป็นยาชกั มดลกู สาหรบั ผหู้ ญิงท่ีเพ่งิ คลอดบตุ รใหม่ ๆ จะช่วยทาใหม้ ดลกู เขา้ อเู่ รว็ ขนึ้ และยงั ชว่ ยรกั ษามดลกู อกั เสบเน่ืองจากความเคล่อื นไหวของมดลกู จาก ท่ีเดิมใหเ้ ป็นปกติ (หวั และราก) • หวั ใชด้ องกบั เหลา้ รบั ประทานแกม้ ดลกู พิการ หรอื เนือ้ งอกในมดลกู ทาใหฝ้ ่อ ช่วยแกก้ ระบงั ลมพลดั (เรยี กวา่ \"ดากโยนี\" เวลาน่งั โผล่ เวลานอนหดขนึ้ ) ทาให้ ยบุ เล็กและแหง้ เห่ียวไป (หวั ) • ชว่ ยแกพ้ ิษงู แมลงกดั ตอ่ ย (ใบและราก) • ช่วยรกั ษาฝีภายนอก (ใบและราก) • ชว่ ยแกอ้ าหารฟกชา้ โดยใชร้ ากแหง้ นามาบดใหเ้ ป็นผง ใชค้ รงั้ ละ 10 กรมั นามาชงกบั นา้ หรอื เหลา้ รบั ประทาน (ราก) • ช่วยแกอ้ าการปวดขอ้ เคลด็ ขดั ยอก แกบ้ วม (ใบและราก) • วา่ นสากเหล็กจดั อยใู่ นตารบั ยา \"พกิ ดั เหลก็ ทงั้ หา้ \" ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยวา่ นสาก เหลก็ แก่นขีเ้ หลก็ แก่นพญามือเหล็ก เถาวลั ยเ์ หลก็ และสนมิ เหล็ก มีสรรรพคณุ เป็นยาแกพ้ ษิ โลหติ ทงั้ บรุ ุษและสตรี เป็นยาบารุงกาลงั และแกก้ ษัย
หมายเหตุ : การใช้ใบและราก ให้ใชย้ าแห้งครั้งละ 3-10 กรมั ถ้า เปน็ ยาสดให้ใชค้ รั้งละ 15-35 กรมั นามาต้มกับน้ารบั ประทาน หรือจะใช้เข้ากับ ตารายาอืน่ ดว้ ยกไ็ ด้ แตถ่ า้ นามาใช้ภายนอกให้ใชต้ ้นสดตาพอกบริเวณที่ ต้องการ ใบและรากพร้าวนกคมุ่ (ว่านสากเหล็ก)และพลับพลึง ต่างก็มีสรรพคุณ ทีค่ ล้ายคลึงกัน สามารถนามาใช้แทนกนั ได้ แต่ในตารายาไทยส่วนใหญ่แล้วจะ ใช้วา่ นสากเหลก็ เป็นยารักษาโรคเกีย่ วกบั มดลูกเปน็ ส่วนใหญ่ และก่อนจะ นามาใช้เปน็ ยาจะต้องนาไปกาจดั พิษออกก่อน และเวลาใช้ไม่ควรใช้ในปริมาณ ทีเ่ กินกวา่ กาหนด
ขอ้ มลู ทางเภสชั วิทยาของพร้าวนกคุ่ม (วา่ นสากเหล็ก) สารท่ีพบไดแ้ ก่ สาร Alkaloids หลายชนิด เชน่ Lycorine, Narcissine, Crinamrine, Tazettine, Amino acid เป็นตน้ สาร Tazettine ท่ีสกดั ได้ จากวา่ นสากเหล็กในปรมิ าณ 5 มลิ ลกิ รมั ตอ่ กิโลกรมั มีฤทธิ์ในการกระตนุ้ หวั ใจท่ีอยนู่ อก ตวั ของกล ทาใหม้ ีการบบี ตวั แรงขนึ้ • วา่ นสากเหลก็ มีฤทธิ์ทางเภสชั ท่ีสาคญั คือฤทธิ์การตา้ นการอกั เสบ รกั ษาแผลพพุ อง หนอง ลดอาการเจ็บปวด อาการบวม • สารสกดั หยาบดว้ ยนา้ อณุ หภมู ิหอ้ งจากสว่ นของรากและเหงา้ จะใหผ้ ลผลติ สงู สดุ รองลงมาคอื เอทานอลและสารสกดั หยาบจากสว่ นใบและลาตน้ จากการศกึ ษาฤทธิ์ การตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ พบวา่ สารสกดั หยาบทงั้ สว่ นเหนือดนิ (รากและเหงา้ ) และสว่ นใต้ ดนิ (ใบและลาตน้ ) มีฤทธิ์การตา้ นอนมุ ลู อสิ ระสงู โดยสารสกดั หยาบดว้ ยนา้ รอ้ นจาก สว่ นของใบและลาตน้ จะมีฤทธิ์การตา้ นอนมุ ลู อสิ ระสงู ท่ีสดุ นอกจากนีว้ า่ นสากเหลก็ ยงั มีฤทธิ์ยบั ยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของเชือ้ แบคทีเรยี ในกลมุ่ กอ่ โรคผวิ หนงั Candida albicans, Pseudomonas aeruginosa, Stapphylococcus aureus ซง่ึ มีความเป็นไปไดท้ ่ีจะสามารถนาไปตอ่ ยอดเพ่ือ พฒั นาผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ ได้
ประโยชนข์ องพรา้ วนกคุ่ม (วา่ นสากเหลก็ ) • ผลใช้รบั ประทานได้ มีรสหวานถา้ กินนา้ หลังจากกนิ ผลไม้น้ีแล้ว จะทาให้สึกว่า น้ามีรสหวานชุ่มคอ รับประทานอะไรก็หวานไปหมด • บางข้อมูลระบวุ ่ารากสามารถนามาใช้ปรงุ ทาเป็นยาขดั ผิว แกส้ ิวฝา้ จดุ ด่างดาได้
เอกสารอา้ งอิง • หนงั สือพจนานกุ รมสมนุ ไพรไทย, ฉบบั พิมพ์ครั้งท่ี 5. (ดร.วิทย์ เทีย่ งบรู ณ ธรรม). “ว่านสากเหลก็ ”. หน้า 730-731. • หนังสือสารานุกรมสมนุ ไพรไทย-จีน ที่ใช้บอ่ ยในประเทศไทย. (วิทยา บุญวรพัฒนน์). “วา่ นสากเหล็ก”. หน้า 516. • สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนิด, สานักงานโครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี. “ว่านสากเหล็ก”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: www.rspg.or.th/plants_data/herbs/. [04 ม.ิ ย. 2014]. • ระบบฐานข้อมูลทรพั ยากรชีวภาพและภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ของชมุ ชน, สานกั งานพฒั นนาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). “วา่ นสาก เหลก็ ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: www.bedo.or.th. [04 มิ.ย. 2014]. • กรุงเทพธุรกจิ . “วา่ นสากเหล็กตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้ จาก: www.bangkokbiznews.com. [04 ม.ิ ย. 2014]. • ฐานข้อมูลสมนุ ไพร, ภาควิชาเภสชั พฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล. “วา่ นสากเหล็ก”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: www.pharmacy.mahidol.ac.th/medplantdatabase/. [04 มิ.ย. 2014]. • ภาพประกอบ : www.flickr.com (by osmoxylon, tamara photos, Ahmad Fuad Morad), samunpri.webiz.co.th, www.bloggang.com (by ป้าคาล่า)
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: