Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Published by Thalanglibrary, 2020-04-12 08:57:40

Description: คู่มือ_พัฒนาทักษะสมอง_EF_ในเด็กวัย_13-18_ปี_สำหรับพ่อแม่และครู

Search

Read the Text Version

ทำ� ไมต้องสอนให้ลงมอื ทำ� เอง >> จุดมุ่งหมายของการสอนซึ่งในท่ีน้ีหมายถึงการสอนแบบ active learning หรือ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทกุ อยา่ ง ดว้ ยความหวงั วา่ วันหน่ึงเมือ่ เดก็ อยคู่ นเดียว หรอื ตอ้ งทำ� สงิ่ นนั้ โดยลำ� พงั กส็ ามารถทจ่ี ะทำ� ได้ ดงั นนั้ ทงั้ พอ่ แมแ่ ละครจู ะตอ้ งใชท้ กั ษะ การวางแผนของตนว่าเม่ือไหร่จะต้องถอยตัวออกมา เมื่อสอนลูกวางแผนในคร้ังแรก แลว้ ครง้ั ที่สองท่สี ามตอ้ งคอ่ ยๆ ถอยตวั ออกมาเป็นทป่ี รึกษายามท่เี ขาต้องการ อีกประการที่ส�ำคัญคือ การสอนให้ลูกๆ ยอมรับส่ิงที่ตนเองเป็น งานวิจัยพบว่า วัยรุ่นที่ยอมรับส่ิงที่ตนเองเป็น ได้ฝึกความจ�ำเพ่ือใช้งาน (working memory) การยับย้ังช่ังใจ การวางแผนที่จะน�ำมาแก้ปัญหาของตนเองได้ เวลาวัยรุ่นแก้ปัญหา ตนเองได้ สิ่งท่ีตามมาคือความภาคภูมิใจในแนวทางหรือวิธีการท่ีน�ำมาแก้ไขปัญหา ของตนเอง ส่ิงที่พ่อแม่ตอ้ งทำ� คอื ยับย้ังชง่ั ใจตนเอง เปน็ โคช้ ที่ดี ต้งั เป้า ติดตาม ชื่นชม ให้ค�ำแนะน�ำเม่ือลูกต้องการ หรือเมื่อส่ิงที่ลูกท�ำอาจท�ำให้ตนเองหรือผู้อ่ืนเดือดร้อน การท่ีพ่อแม่ไม่รีบเข้าไปจัดการแทนหรือรีบเข้าไปให้ค�ำแนะน�ำสั่งสอน จะท�ำให้ลูกได้ เรยี นรู้เต็มที่ ครจู ะชว่ ยให้นกั เรียนพัฒนาทกั ษะสมอง EF เพ่ือเรียนให้เก่งข้ึนไดอ้ ย่างไร >> “ความจำ� เพ่อื ใชง้ าน คือกระดาษ post-it-note ในสมองของเรา ความจ�ำเพ่ือใช้งานในสมองส่วนหน้าท�ำหน้าที่หยิบข้อมูลจากประสบการณ์ในอดีต ท่เี ราเกบ็ ไวใ้ นสมอง ขึ้นมาใช้ในสถานการณใ์ หมๆ่ เชน่ ในขณะทเี่ รียนวิชาคณิตศาสตร์ เด็กต้องหยิบเอาความรู้เร่ืองตัวเลขหรือการคิดค�ำนวณท่ีเคยท�ำมาก่อนออกมาใช้ หากเด็กไม่มีความรู้หรือข้อมูลเก่าในสมองเลย จะไม่สามารถเรียนคณิตศาสตร์ ในขนั้ ตอ่ ไปได้ หรอื ในกรณฟี งั ครบู รรยาย นกั เรยี นตอั งจดจำ� ลำ� ดบั เรอื่ งราวทค่ี รบู รรยาย 200

ไดแ้ ลว้ นำ� เอาขอ้ มลู จากประสบการณเ์ ดมิ มาประมวลเขา้ กบั ขอ้ มลู ใหม่ หากไมม่ ขี อ้ มลู เกา่ อยเู่ ลย ความจำ� เพอ่ื ใชง้ านจะท�ำหนา้ ท่เี กบ็ ขอ้ มูลไว้เพือ่ ใชใ้ นคราวต่อไป ความจ�ำเพื่อใช้งานจึงมีบทบาทส�ำคัญมากในการเรียนรู้ทุกอย่างท่ีเกิดขึ้น ในชวี ติ ประจำ� วนั หากออ่ นแออาจจะทำ� ใหก้ ารเรียนรู้เป็นไปไดช้ า้ ความจำ� เพ่ือใชง้ าน มี 2 แบบ ได้แก่ 1. ความจ�ำเพ่ือใช้งานในรูปแบบภาษาพูดหรือเสียง (verbal working memory) เด็กท่ีความจ�ำเพ่ือใช้งานในด้านนี้อ่อนแอ อาจจะไม่สามารถจดจ�ำค�ำส่ังหรือค�ำพูด ในสมองได้ ท้งั ทเี่ ขา้ ใจค�ำสง่ั หรอื คำ� พูด 2. ความจ�ำเพ่ือใช้งานในรูปแบบภาษาภาพ (visual-spatial working memory) เหมอื นการวาดภาพในสมอง เดก็ ๆ ใชท้ กั ษะนใ้ี นการทำ� คณติ ศาสตร์ การจำ� รปู ลำ� ดบั และ สัญลกั ษณต์ า่ งๆ ครสู ามารถช่วยนักเรียนท่ที กั ษะสมอง EF ด้านการจำ� เพ่อื ใชง้ านออ่ นแอไดอ้ ยา่ งไร >> ครสู ามารถชว่ ยไดด้ ว้ ยการใชส้ อื่ หลากหลายในการเรยี นการสอน แทนทจี่ ะสอนดว้ ย ปากเปล่าหรือการเขียนโจทย์แบบฝึกหัดเท่าน้ัน การใช้แผนภาพและอุปกรณ์เพ่ือท�ำให้ โจทย์ทางคณิตศาสตร์กลายเป็นสิ่งที่มองเห็นด้วยตาจะช่วยให้เด็กท่ีมีจุดแข็งด้านทักษะ การจำ� ด้วยภาพ สามารถจดจำ� และเขา้ ใจเนอื้ หาได้ดขี ้นึ เช่นเดียวกัน การใช้เสียงและจังหวะจะโคนที่หลากหลายมาใช้ในการอธิบาย กจ็ ะทำ� ใหน้ กั เรยี นทที่ กั ษะการจำ� ในรปู แบบภาษาพดู หรอื เสยี งดี สามารถจดจำ� และเขา้ ใจ เนอ้ื หาได้ดีข้นึ 201

แยกและจัดระเบียบข้อมูลออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อให้สมองจดจ�ำได้ง่ายขึ้น เช่น แทนที่จะใช้ค�ำสั่งยาวทเี ดยี ว ใหแ้ ยกเป็นค�ำสง่ั ยอ่ ยๆ หนึ่งหรือสองค�ำสัง่ กอ่ น ใหน้ กั เรยี นทมี่ ปี ญั หาดา้ นนจี้ ดจอ่ คดิ ทลี ะเรอื่ ง ทำ� ทลี ะอยา่ ง ทำ� กจิ กรรมหนง่ึ เสรจ็ แลว้ หยุด จากน้ันจึงเปล่ียนไปท�ำอีกอย่าง แล้วกลับมาทวนท�ำซ�้ำได้ หลีกเล่ียงการท�ำงาน หลายอยา่ ง (multitasking) ไปพร้อมกัน ทำ� ไมทกั ษะสมอง EF เรอื่ งการวางแผน จดั ระบบ (Planning/Organizing) จงึ สำ� คญั ต่อผลสำ� เรจ็ ทางการเรียน >> การวางแผน จัดระบบ คือการจัดวางข้อมูล กระบวนการของเน้ืองานออกมาเป็น โครงสรา้ งภาพรวมเพอ่ื ใหส้ ว่ นตา่ งๆ ทำ� งานสอดประสานกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จดั ลำ� ดบั ความส�ำคัญก่อนหลังเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายทต่ี ั้งไว้ ในระดับนักเรียนมัธยมศึกษาต้องมีความสามารถในการจัดเตรียมอุปกรณ์การเรียน จดบนั ทึก ทำ� ความเขา้ ใจเน้ือหา การเขียนรายงาน : นักเรียนต้องสามารถเชื่อมโยง วิเคราะห์ บูรณาการ จัดล�ำดับ เรอ่ื งราวของรายงานให้เหน็ ทั้งภาพใหญแ่ ละรายละเอยี ดในแตล่ ะดา้ น ในการทำ� การบา้ น : ในระดบั นน้ี กั เรยี นตอ้ งมคี วามสามารถวางแผนการทำ� งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายหรือการบ้านได้ครบถ้วนถูกต้อง เสร็จตามก�ำหนดเวลาและไม่ลืมน�ำการบ้าน ไปสง่ ครู การท�ำโครงการระยะยาว : นกั เรียนมคี วามสามารถในการเกาะตดิ กับงาน จดั การกับ รายละเอยี ดตา่ งๆ ท่ตี ้องทำ� ในโครงการ 202

จะสอนใหเ้ ด็กร้จู ักการจดั ระบบเรื่องเวลาไดอ้ ย่างไร >> ใช้ปฏิทินเป็นเคร่ืองมือในการนัดหมายหรือก�ำหนดวันท่ีจะต้องท�ำให้ส�ำเร็จ เขียนงานท่สี �ำคญั ลงในปฏทิ นิ เพอ่ื ให้เหน็ การเคลอื่ นตวั ของงานในภาพรวมว่าจะทำ� ให้ เสร็จสิน้ ไปทีละสว่ นไดอ้ ย่างไร • สอนให้นักเรียนซอยงานโครงการยาวๆ ออกมาเป็นส่วนๆ ท่ีสามารถจัดการ ไดเ้ ปน็ ตอนๆ เชน่ บนั ทกึ งานทซ่ี อยออกเปน็ สว่ นๆ เหลา่ นใ้ี นรปู ของแผนที่ แผนผงั ฯลฯ • สอนให้เด็กประมาณการเวลาที่ต้องใช้ในการท�ำงานแต่ละชิ้น และติดตามการ ท�ำงานให้เสร็จสนิ้ ไปตามน้ัน • เม่อื ทำ� ส�ำเรจ็ ไปทลี ะสว่ นแล้ว ให้ท�ำเครื่องหมายให้รูว้ ่าทำ� เสร็จหรอื สำ� เรจ็ ไปแล้ว แค่ไหนอยา่ งไร จะสอนให้เดก็ จดั ระบบวสั ดอุ ุปกรณ์ (Organizing Materials) ไดอ้ ย่างไร >> • สถานท่ี : จัดให้เป็นระบบระเบียบ ช่วยให้เด็กหาข้าวของอุปกรณ์ต่างๆ เพ่ือ ใช ้ ในการทำ� การบ้านไดง้ า่ ย • อุปกรณ์ : จดั ใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ เช่น มกี ล่องเก็บเครอื่ งใชส้ �ำนกั งาน กล่องใส่เศษ กระดาษ ควรมีอุปกรณ์ท่ีเป็น “ตัวช่วย” เช่น เครื่องคิดเลข พจนานุกรม หรือแผนที่ ไว้ในท่ีซ่ึงหยิบใช้ได้ง่าย ส่งเสริมให้นักเรียนใช้กล่องหรือแฟ้มเก็บเอกสารตามที่เด็ก ชอบ เพื่อเป็นเครื่องมือน�ำงานกลับมาท�ำที่บ้าน หรือเอาไปส่งครู เพ่ือเตือนใจ และไมใ่ ห้หายไปจากความสนใจระหว่างทาง • เวลา : กำ� หนดเวลาทีแ่ น่นอนเป็นประจำ� สม�่ำเสมอ เพอื่ เคลียร์และจัดกระเป๋า จนเกดิ เปน็ นสิ ยั ที่ท�ำด้วยความเพลิดเพลิน 203

จะฝึกใหน้ ักเรยี นจดั ล�ำดับความส�ำคญั ได้อยา่ งไร >> • ใหน้ กั เรียนจัดลำ� ดบั ความสำ� คัญของการบา้ นตามเวลาทต่ี อ้ งส่ง ตามลำ� ดบั ความยากงา่ ยหรือตามระดบั ความกงั วลกไ็ ด้ • สง่ เสริมใหน้ ักเรยี น list ขั้นตอน/รายการแล้วใหล้ ำ� ดับความส�ำคัญ • ฝึกให้เด็กรู้จักจัดล�ำดับขั้นตอนการท�ำงานอย่างเป็นเหตุเป็นผล เช่น ก่อนท�ำงานเตรียมอปุ กรณท์ กุ อย่างใหพ้ ร้อมครบถ้วน ไมท่ �ำไปหาไป • จดั เก็บอปุ กรณ์ให้เป็นระเบยี บ ของที่ใชป้ ระจำ� ใหอ้ ยู่ใกล้มอื • ให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดระบบความส�ำคัญของสิ่งท่ีต้องท�ำ เมื่อท�ำได้ดี ข้นึ แม้เพียงเล็กนอ้ ยควรรว่ มกันสรุปบทเรยี นเพือ่ เรยี นรทู้ จ่ี ะพัฒนาต่อ และ ตระหนักวา่ การจดั ระบบและลำ� ดับความสำ� คญั ช่วยให้ชีวิตงา่ ยข้นึ อยา่ งไร • พ่อแม่และครูเป็นแบบอย่าง เช่น ท�ำ shopping list ก่อนไปตลาด จดบนั ทกึ สง่ิ ตา่ งๆ ไวใ้ นสมดุ บันทกึ หรอื ใน application เปน็ ตน้ การคิดยืดหยุ่น (Flexible Thinking) “ย่ิงสถานการณ์ภายนอกซับซ้อนคนยิ่งต้องการความสามารถในการพลิกแพลงหาทางออก ท่ีหลากหลายเพื่อเลือกตัดสินใจในส่ิงที่สอดคล้องกับสภาพการณ์มากท่ีสุด” ท�ำไมการคิดยืดหยนุ่ จึงส�ำคัญตอ่ ความส�ำเร็จในการเรียน เมอ่ื ตอ้ งเรยี นในชน้ั ทส่ี งู ขนึ้ หลกั สตู รทซี่ บั ซอ้ นขน้ึ นกั เรยี นตอ้ งการความสามารถ ในการตีความหมายของข้อมูลมากกว่าหนึ่งวิธีและสามารถปรับเปลี่ยนแนวทาง หรือวธิ ีการท�ำงานหรือการแกป้ ญั หาได้ตามจ�ำเป็น เชน่ การอา่ นใหเ้ ข้าใจ : นกั เรยี นสามารถคดิ เชื่อมโยงแนวคิดหลักของเนอ้ื เรื่อง เข้าใจ รายละเอยี ด และแยกแยะข้อมูลในเน้อื หาได้ การเขยี น : นกั เรยี นตอ้ งสามารถจดั วางความสมดลุ ระหวา่ งหลกั การหรอื ใจความ ส�ำคัญ และมีรายละเอยี ดประกอบทีน่ ่าสนใจ 204

การเรยี นคณติ ศาสตร์ : สามารถปรบั เปลยี่ นความเขา้ ใจกบั ความหมายของคำ� โจทย์ กระบวนการและการคิดคำ� นวณ การเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละประวตั ศิ าสตร์ : สามารถใชบ้ รบิ ทของเนอื้ หาไปจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั และมงุ่ เนน้ ไปยังข้อมูลท่เี กย่ี วขอ้ งได้ การเรียนภาษาต่างประเทศ : มีความสามารถปรับความคิดระหว่างภาษาแม่กับ ภาษาท่กี ำ� ลังเรียน ท�ำไมการประเมินตนเองจงึ สำ� คญั ต่อความสำ� เร็จในการเรยี น >> • การอ่านให้เข้าใจ : นักเรียนต้องประเมินได้ว่าสามารถถอดรหัส ตีความหมาย ของศัพทต์ ่างๆ ไดห้ รือไม่ เพียงใด สามารถเกาะติดความคิดหลักและรายละเอียด ของเรื่องนน้ั ๆ จนเขา้ ใจได้เพียงใด • การเขียน : นักเรียนต้องประเมินว่าตนเองเข้าใจโจทย์งานท่ีได้รับมอบหมาย อย่างไร แผนและกลวิธีการเขียนใช้ได้หรือไม่ ความคิดหลักเชื่อมกับรายละเอียด เปน็ อย่างไร ตรงตามเปา้ หมาย ตอบวตั ถปุ ระสงค์หรอื ไม่ โครงสรา้ งภาษาดีหรอื ไม่ สะกดถูกตอ้ งหรอื ไม่ คนอา่ นแล้วเข้าใจหรือไม่ เป็นตน้ • การเรียนคณิตศาสตร์ : นักเรียนต้องประเมินว่าการแก้ปัญหาหรือโจทย์น้ัน เปน็ อยา่ งไร วิธีท�ำที่ใช้ได้หรอื ไม่ อยา่ งไร คำ� ตอบทีอ่ อกมาถูกต้องหรือไม่ • การเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละประวตั ศิ าสตร์ : นกั เรยี นตอ้ งประเมนิ ตนเองวา่ เขา้ ใจ concept เน้ือหาและรายละเอยี ดแคไ่ หน อย่างไร • การทำ� การบา้ น : การประเมนิ ตนเองเปน็ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจการบา้ นทค่ี รมู อบหมาย รกู้ ำ� หนดสง่ จดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละตรวจสอบความถกู ตอ้ งของงานทจี่ ะสง่ ครไู ด้ • การทดสอบ : การประเมนิ ตนเองเปน็ จะทำ� ใหร้ ู้วา่ ตนไดเ้ รียนร้อู ะไรมาแลว้ บ้าง ตอ้ งเรียนรู้อะไรเพม่ิ เตมิ แคไ่ หน อย่างไร วัยรุ่นที่มีทักษะในการประเมินตนเองจะพัฒนาเป็นนักเรียนที่พึ่งตนเอง มปี ระสทิ ธภิ าพและประสบความสำ� เรจ็ ได้ 205

จะชว่ ยให้นักเรียนเป็นคนทม่ี ีความคิดยืดหยุ่นไดอ้ ย่างไร >> • ใหน้ กั เรยี นไดท้ ำ� กจิ กรรมทเ่ี ลน่ กบั คำ� ทมี่ คี วามหมายหลายๆ อยา่ งตงั้ แตป่ ฐมวยั ใหโ้ อกาสเด็กไดเ้ ล่นแยกคำ� เปน็ กลุม่ เล่นเกมตัวเลขต่างๆ • เม่อื นกั เรยี นอ่านค�ำ ประโยคไมเ่ ข้าใจ ให้หยดุ ก่อน แล้วตงั้ ค�ำถาม เชน่ มคี �ำ หรอื ประโยคไหนทม่ี คี วามหมายมากกวา่ หนง่ึ อยา่ ง หรอื ถา้ ไมใ่ ชค้ ำ� นี้ ในประโยค นจ้ี ะใช้คำ� อะไรไดอ้ ีกบ้าง • เมอื่ เขยี นไมอ่ อกหรอื ไมร่ จู้ ะเขยี นอะไร ใหล้ องเขยี นเปน็ ภาพ เชน่ mind map เพอื่ ให้เด็กเห็นความสำ� คัญ ความเช่ือมโยง • ให้หาค�ำตอบด้วยวิธีการหลายๆ วธิ กี าร โดยเฉพาะการทำ� โจทยค์ ณิตศาสตร์ • มีค�ำถามทค่ี วรถามเดก็ เสมอๆ เชน่ “ยังวิธอี นื่ ทีส่ ามารถท�ำไดอ้ ีกไหม” “วธิ นี เี้ หมอื นหรือคลา้ ยกบั ทีเ่ คยท�ำหรือเหน็ มาอย่างไร” “ปัญหานเี้ หมือนหรือแตกตา่ งจากปญั หาครง้ั ก่อนอยา่ งไร” • ฝึกใหเ้ ด็กค้นคว้าข้อมลู จากหลายๆ แหล่ง การประเมินตนเอง (Self- Monitoring) “การรู้จักประเมินตนเองว่ารู้สึกอย่างไร คิดอย่างไรหรือท�ำอะไรไปแล้วได้ผลหรือ ไม่อย่างไร เพื่อให้นักเรียนได้รู้จุดแข็งจุดอ่อนของตนและน�ำไปพัฒนาต่อไป” การประเมินตนเองเป็นทักษะสมองที่ช่วยให้เราตระหนักได้ว่าสิ่งท่ีเรียนไปน้ัน ตนเองเข้าใจอย่างไร งานทที่ �ำไปนัน้ มีประสทิ ธิภาพหรอื ไม่เพียงไร และจะพฒั นาให้ ดขี น้ึ ไดอ้ ย่างไร จะประเมนิ ตนเองไดจ้ ะตอ้ งมี “สต”ิ รวู้ า่ กำ� ลงั ทำ� อะไร กำ� ลงั ทำ� ดว้ ย วธิ ีการใด และผลลัพธ์ทีเ่ กดิ ขึ้นน้ันเปน็ อยา่ งไร 206

ครูจะสามารถสร้างประเด็น “ปัญหา” เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างไร (problem-based learning) >> ปญั หาทสี่ ามารถยกขน้ึ มาเปน็ ประเดน็ ใหเ้ ดก็ คน้ ควา้ ลงมอื ทำ� ในการเรยี นแบบ problem - based learning น้ัน เน้ือหา 4 เร่ืองที่เด็กจ�ำเป็นต้องรู้คือ สุขภาพ การเงนิ /เศรษฐศาสตร์ สง่ิ แวดลอ้ มและวชิ าสงั คมพลเมอื ง หลกั การคอื 1. เรื่องที่จะเรียนตอ้ งสัมพนั ธ์และตอบโจทยช์ ีวิตของนกั เรยี นเปน็ เรอ่ื งทเ่ี ขาสนใจ มากพอที่จะลงมือท�ำ 2. ตอบสนองตอ่ ชุมชนทเี่ ขาอาศัยอยู่ ครูท�ำหน้าท่ีเป็นคนชวนให้เด็กเรียนรู้ในประเด็นท่ีน่าสนใจ ครูที่จะให้เด็กเสนอ หัวขอ้ problem-based learning เองตอ้ งเปน็ ครทู ี่มีความรูแ้ ละมคี วามเปน็ โคช้ มากพอ สามารถเชอ่ื มโยงสงิ่ ทเี่ ดก็ เรยี นเขา้ กบั อนาคตของชมุ ชน ทำ� เรอ่ื งใดกแ็ ลว้ แต่ สามารถบูรณาการไปกบั ทุกวิชาได้ 207

จะช่วยให้นักเรียนรจู้ ักประเมนิ ตนเองได้อย่างไร >> • ส่งเสริมให้นักเรียนพูดกับตนเอง (self - talk) พูดออกมาดังๆ หรือเขียนเพื่อ สร้างการสะทอ้ นกลับ(reflection) เก่ยี วกับการเรียนรขู้ องตนเอง เชน่ “จากการเรียนรูเ้ รือ่ ง… ในครัง้ น้ีแลว้ ผมเรยี นรู้วา่ …” หรือ “ผมร้สู ึกว่าผลงานของ ผม/วิธีการทำ� งานของผม… ” • ทุกครั้งที่ท�ำงานเสร็จ จัดให้นักเรียนได้ต้ังวง AAR (After Action Review) เพอ่ื แลกเปลย่ี นความรสู้ กึ และความคดิ ทม่ี ตี อ่ กระบวนการทำ� งานและผลงานของตน การทบทวนเพื่อประเมินความเข้าใจและผลงานของตน นักเรียนสามารถท�ำได้ ในโอกาสต่างๆ กนั ดังน้ี การอ่านให้เข้าใจ : ให้นักเรียนอ่านข้อความสั้นๆ แล้วสรุปความเข้าใจด้วยถ้อยค�ำ หรอื วลีสั้นๆ เพือ่ สอบทานความเขา้ ใจ การอา่ นหนงั สือ : ให้นักเรียนหยบิ เอาตวั ละคร วธิ กี ารใช้คำ� ศัพท์ หรอื ความสัมพนั ธ์ ของสถานการณม์ าวิเคราะห์วจิ ารณ์เพื่อเขา้ ใจได้ลกึ ซง้ึ ยงิ่ ข้นึ การเขียน : ให้นักเรียนทบทวนงานท่ีเขียนเสร็จว่าโครงสร้างประโยคเป็นอย่างไร เน้ือหาครบถว้ นไหม หรือลำ� ดับเร่อื งราวไดน้ ่าสนใจเพยี งใด การบ้านหรืองานท่ีได้รับมอบหมาย : ฝึกให้นักเรียน “ตรวจสอบงานด้วยตนเอง” กอ่ นสง่ ใหค้ รจู นกลายเป็นนสิ ัย สถานการณท์ เ่ี กดิ ความผดิ พลาดหรอื ความบกพรอ่ ง : ใหโ้ อกาสนกั เรยี นไดห้ ยบิ เอา ประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นมา AAR วิเคราะห์ประเมินว่าความผิดพลาดนั้นเกิดจาก สาเหตุปัจจัยใด จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีข้ึนต่อไป อย่างไร (มุ่งเน้นการเรียนรู้ ไม่หา “คนผดิ ”หรือ“ความผดิ ”) วัยรุ่นที่พัฒนาทักษะในการประเมินและตรวจสอบตนเองจะพัฒนาความสามารถ ในการพึง่ ตนเองใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและประสบความส�ำเรจ็ ได้ 208

จะมีแนวทางการขับเคลื่อน เพื่อสร้างการพัฒนาทักษะสมอง EF แท้จริง ให้เกดิ กบั เด็กไทยไดอ้ ย่างไร >> • สร้างการเรียนรู้ ท�ำความเข้าใจร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่ การก�ำหนดยุทธศาสตร์/นโยบาย/แผนงานท่ีชัดเจนของหน่วยงานที่ให้ความ ส�ำคญั ต่อการพฒั นาทักษะสมอง EF ของเด็กอยา่ งเขม้ แขง็ ควบคไู่ ปกบั การดแู ล พฒั นาการ 4 ดา้ นท่ถี ูกปพู ้ืนฐานไว้แล้วในสังคมไทย • ส่งเสริมการเรียนรู้แบบ active learning ในระบบการศึกษาอย่างต่อ เน่อื ง ลดกระบวนการเรยี นการสอนหรือการสอบทน่ี ำ� ไปสูก่ ารสร้างความเครยี ด เกินจ�ำเป็นกับเด็กในทุกระดับช้ัน โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยต้องเน้นการเรียน ผ่านการเล่นเป็นแกนกลางของการจัดการเรียนรู้ ยกเลิกการสอบแข่งขันใดๆ ในระดับอนุบาลและในวัยประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้เน้นการเรียนรู้แบบ problemt- based learning หรือ project- based learning • จดั การความรแู้ ละทำ� งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ทกั ษะสมอง EF ในมติ ติ ่างๆ อย่างกว้างขวาง เพื่อน�ำไปสู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของประเทศ ให้บุคลากร และพอ่ แม่ผู้ปกครองมแี หลง่ ขอ้ มูลเพียงพอในการน�ำความรไู้ ปใชใ้ นแตล่ ะบรบิ ท อย่างเหมาะสม • ขยายภาคีให้กว้างขวางทุกภาคส่วน สร้างการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะกับ หน่วยงานภาครฐั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับเดก็ และเด็กปฐมวยั • ส่งเสริมให้หน่วยงานจัดท�ำแผนงานพัฒนาบุคลากรท่ีท�ำงานเกี่ยวข้อง กับเด็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองทักษะสมอง EF อย่างชัดเจน สามารถน�ำ ความรู้ไปใชก้ บั เด็กอยา่ งไดผ้ ล • สนบั สนนุ ใหส้ ถาบนั ผลติ บคุ ลากร กำ� หนดใหม้ หี ลกั สตู รการเรยี นการสอน เรือ่ ง EF ทีจ่ ะน�ำไปส่คู วามรู้ความเข้าใจและคุณภาพของครแู ละบุคลากรรนุ่ ใหม่ อยา่ งแท้จรงิ • ส่งเสริมให้หน่วยงานจัดท�ำแผนงานให้ความรู้กับพ่อแม่ผู้ปกครองและ บุคลากรในครอบครัวให้มีความรู้เรื่องการพัฒนาทักษะสมอง EF สามารถ 209

ประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างบ้านกับโรงเรียนอย่างสอดคล้อง เหมาะสม • ส่งเสริมให้เกิดการสื่อสารในสังคมวงกว้างถึงการใส่ใจในการพัฒนาสมองเด็ก เช่น สร้างค่านิยมใหม่ท่ีไม่เร่งรัดยัดเยียด ไม่ใช้ความรุนแรงทั้งกายหรือวาจากับเด็ก การให้โอกาสเด็กได้พัฒนาทักษะสมอง EF ในวิถีการเล้ียงดูแบบไทย การส่งเสริม การเลน่ การอ่าน การเล่นกีฬาในวยั ต่างๆ เด็กไทยรอไม่ได้แล้ว และประเทศไทยก็รอไม่ได้เช่นกัน เพื่อลดปัญหาเด็กที่มีอยู่ และเตรยี มเดก็ รนุ่ ใหมเ่ ขา้ สโู่ ลกศตวรรษท่ี 21 สรา้ งประเทศไทยทมี่ น่ั คง มง่ั คง่ั ยงั่ ยนื จงึ จำ� เปน็ ทที่ กุ ฝา่ ยตอ้ งรว่ มมอื กนั บม่ เพาะทกั ษะสมอง EF แกเ่ ดก็ ของเราอยา่ งจรงิ จงั ให้เด็กรุ่นใหม่เป็นพลเมืองคุณภาพท่ี “คิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอ่นื เปน็ และสรา้ งความสุขด้วยตนเองเปน็ ” เดิมเชื่อกันว่าความส�ำเร็จของชีวิตข้ึนอยู่กับสติปัญญาเป็นส�ำคัญ สติปัญญาที่ว่า น้ีคือความสามารถในการจดจ�ำค�ำศัพท์ การค�ำนวณ การสังเกตรูปทรงต่างๆ ท่ีวัด ออกมาเป็นระดับ IQ ท่ีสามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึกฝนบ่อยๆ ต้ังแต่อายุน้อยท่ีสุด เท่าที่จะเป็นได้ การวัดไอคิวที่เร่ิมมาต้ังแต่สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ส่งผลมาถึงปัจจุบัน ตัวอย่างที่สะท้อนออกมา เช่น สังคมไทยเอาเป็นเอาตายกับการที่เด็กประถม 1 ตอ้ งอ่านออกเขยี นได้ เปน็ ต้น การใส่ข้อมูลความรู้เข้าไปในสมองเด็กตั้งแต่ยังเล็กไม่ใช่สิ่งท่ีส�ำคัญท่ีสุดในการ พัฒนาเด็ก สิง่ ท่ีสำ� คัญคือการช่วยใหเ้ ดก็ พัฒนาคุณลักษณะ เช่น ความมมุ านะ การ ควบคมุ ตนเอง ความใฝร่ ู้ สำ� นึกผดิ ชอบชัว่ ดี ความเข้มแขง็ และความม่ันใจในตนเอง นักเศรษฐศาสตร์เรียกคุณลักษณะเช่นน้ีว่า ทักษะทางพฤติกรรม (non -cognitive skills) นกั จติ วิทยาเรยี กวา่ ลกั ษณะเชงิ บุคลิก (personality traits) หรอื ที่คนทัว่ ไป เรยี กวา่ ลกั ษณะนสิ ยั (character) ซง่ึ เกดิ มาจากการทำ� งานในสมองบรเิ วณกลบี หนา้ ผากส่วนหน้าท่ีเราเรียกกนั ว่า Executive Functions (EF) 210

211

212