๒๖ มถิ นุ ายน หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอถลาง จังหวัดภเู กต็
ความเป็นมาวนั สุนทรภู่ องค์การศกึ ษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(UNESCO) ซึ่งเป็นผู้ทีม่ ีหนา้ ทีส่ ่งเสริมและเผยแพร่ผลงาน ด้านวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก ต่าง ๆ ท่วั โลก ด้วยการประกาศ ยกย่องเชิดชเู กียรติบคุ คลผู้มีผลงานดีเด่นทาง วัฒนธรรมระดับโลก ในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีขนึ้ ไป ประจาทุกปี โดยมี วัตถุประสงค์ โดยสรปุ คือ • เพือ่ เผยแพร่เกยี รติคุณและผลงานของผู้มผี ลงานดีเดน่ ทาง ด้านวัฒนธรรม ระดบั โลกให้ปรากฎแกม่ วลสมาชิกทว่ั โลก • เพื่อเชิญชวนใหป้ ระเทศสมาชิกมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรม เฉลิมฉลอง ร่วมกับประเทศทม่ี ีผไู้ ด้รับการยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ ในการนี้ รัฐบาลไทย โดยคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศกึ ษา วิทยาศาสตร์และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร จะเปน็ ผู้ สืบค้นบรรพบุรุษไทยผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม เพื่อให้ยูเนสโกประกาศยก ย่องเชิดชูเกียรติและได้ประกาศยกย่องสนุ ทรภู่ให้ เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทาง วัฒนธรรมระดับโลกในวาระครบรอบ ๒๐๐ ปีเกดิ เมือ่ วันที่ ๒๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๙ และในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ อดีตรอง นายกรัฐมนตรี ได้ดาเนนิ การจดั ตั้งสถาบนั สนุ ทรภู่ข้นึ เพื่อสนับสนุนการจดั กิจกรรมเกี่ยวกบั ชีวิตและงานของสนุ ทรภู่ให้แพร่หลายในหมู่เยาวชนและ ประชาชนชาวไทยมากยิง่ ขนึ้ จึงได้กาหนดให้วันที่ ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี เป็น “วนั สุนทรภ”ู่
ชวี ประวัตสิ นุ ทรภู่ ประวตั ิสนุ ทรภ่วู ัยเด็ก (พ.ศ.๒๓๒๙ - ๒๓๔๙) แรกเกิด - อายุ ๒๐ ปี พระสุนทรโวหาร (ภ)ู่ มีนามเดิมว่า ภู่ เปน็ บตุ รขุนศรีสงั หาญ (พลับ) และแม่ ช้อย เกิดในรัชกาลที่ ๑ กรุงรตั นโกสินทร์ เมือ่ วันจนั ทร์ เดือนแปด ขนึ้ หนึ่งค่า ปี มะเมีย จุลศกั ราช ๑๑๔๘ เวลาสองโมงเช้า ตรงกับวนั ที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ที่บ้านใกล้กาแพงวังหลัง คลองบางกอกน้อย สนุ ทรภู่เกดิ ได้ไม่นาน บิดา มารดากห็ ย่าจากกัน ฝ่ายบิดากลับไปบวชทีบ่ า้ นกร่า เมืองแกลง ส่วนมารดา คง เปน็ นางนมพระธิดา ในกรมพระราชวังหลัง (กล่าวกนั วา่ พระองค์เจ้าจงกล หรือ เจ้าครอกทองอยู่) ได้แต่งงานมีสามีใหม่ และมีบุตรกับสามีใหม่ ๒ คน เปน็ หญิง ชื่อฉมิ และนิม่ ตวั สุนทรภู่เองได้ถวายตัวเปน็ ข้าในกรมพระราชวังหลังตั้งแต่ยงั เด็ก สนุ ทรภเู่ ป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน สนั ทัดท้ังสกั วาและเพลงยาว เมื่อรุ่นหนมุ่ เกดิ รักใคร่ชอบพอกับนางขา้ หลวงในวังหลัง ชื่อแมจ่ ัน ครั้นความทราบถึงกรม พระราชวงั หลงั พระองค์ก็กร้ิว รับสัง่ ให้นาสนุ ทรภู่และจนั ไปจองจาทันที แตท่ ้ัง สองถกู จองจาได้ไม่นาน เมือ่ กรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. ๒๓๔๙ ท้ังสองก็พ้นโทษออกมา เพราะเป็นประเพณแี ตโ่ บราณ ทีจ่ ะมีการปล่อยนกั โทษ เพื่ออทุ ิศสว่ นพระราชกศุ ลแด่ พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ ช้ันสูงเมื่อเสด็จ สวรรคต หรือทิวงคตแล้ว แม้จะพ้นโทษ สุนทรภู่และจนั ก็ยงั มิอาจสมหวังในรัก สนุ ทรภู่ถกู ใช้ไปชลบุรี ดงั ความตอนหนึง่ ในนริ าศเมืองแกลงว่า \"จะกรวดนำ้ ควำ้ ขันจนวนั ตำย แมเ้ จ้ำนำยทำ่ นไมใ่ ช้แล้วไม่มำ\" แตเ่ จ้านายท่านใดใช้ไป และไปธรุ ะเรือ่ งใดไม่ปรากฎ อย่างไรก็ดี สุนทรภู่ได้ เดินทางเลยไปถึงบ้านกรา่ เมืองแกลง จงั หวดั ระยอง เพื่อไปพบบิดาที่จากกันกวา่ ๒๐ ปี สนุ ทรภู่เกิดล้มเจบ็ หนักเกือบถึงชีวติ กวา่ จะกลบั มากรงุ เทพฯ ก็ล่วงถึง เดือน ๙ ปี พ.ศ.๒๓๔๙
ชวี ประวัตสิ นุ ทรภู่ สุนทรภูว่ ยั ฉกรรจ์ (พ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙) อายุ ๒๑ - ๓๐ ปี หลังจากกลับจากเมืองแกลง สนุ ทรภไู่ ด้เปน็ มหาดเล็กของพระองคเ์ จ้าปฐม วงศ์ พระโอรสองค์เลก็ ของกรมพระราชวังหลัง ซึง่ ทรงผนวชอยทู่ ี่วดั ระฆงั ในช่วงน้ีสุนทรภกู่ ส็ มหวงั ในรักได้แม่จนั เป็นภรรยา สนุ ทรภคู่ งเป็นคนเจ้าชู้ แตง่ งานได้ไม่นานก็เกดิ ระหองระแหงกับแมจ่ นั ยัง ไม่ทนั คืนดี สุนทรภกู่ ็ตอ้ งตามเสด็จพระองค์เจา้ ปฐมวงศ์ไปนมสั การพระพทุ ธ บาท จ.สระบรุ ี ในวนั มาฆบูชา สนุ ทรภู่ได้แต่งนริ าศ เรื่องทีส่ องขนึ้ คือ นริ าศ พระบาท สนุ ทรภู่ตามเสด็จกลับถึงกรงุ เทพฯ ในเดือน ๓ ปี พ.ศ.๒๓๕๐ สุนทรภมู่ ีบตุ รกับแมจ่ ัน ๑ คน ชือ่ หนูพดั แตช่ ีวติ ครอบครวั ก็ยังไม่ราบรนื่ นัก ในที่สดุ แมจ่ นั ก็ร้างลาไป พระองค์เจ้าจงกล (เจ้าครอก ทองอยู่) ได้รบั อุปการะ หนพู ดั ไว้ ชีวติ ของท่านสนุ ทรภู่ช่วงน้ีคงโศกเศร้ามิใช่นอ้ ย ประวตั ชิ ีวติ ของสุนทรภใู่ นช่วงปี พ.ศ.๒๓๕๐ - ๒๓๕๙ กอ่ นเข้ารับราชการ ไม่ชดั แจง้ แตเ่ ชื่อว่าท่านหนีความเศร้าออกไปเพชรบรุ ี ทาไร่ทานาอยู่กับหม่อม บุญนาคในพระราชวังหลัง ดงั ความตอนหนง่ึ ในนิราศ เมืองเพชร ท่ที ่านย้อน ราลึกความหลัง สมัยหนมุ่ ว่า \"ถึงตน้ ตำลบำ้ นคุณหม่อมบุญนำค เมือยำมยำกจนมำไดอ้ ำศยั มำรดำเจ้ำครำวพระวังหลงั ครรไล มำท้ำไร่ท้ำนำ ท่ำนกำรญุ \"
ประวตั สิ ุนทรภรู่ บั ราชการครงั้ ที่ ๑ (พ.ศ.๒๓๕๙ - ๒๓๖๗) อายุ ๓๐ - ๓๘ ปี พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ทรงเปน็ มหากวีและทรงสน พระทัยเรื่องการละครเป็นอยา่ งยิ่ง ในรชั สมยั ของ พระองค์ ได้กวดขันการ ฝึกหดั วิธีราจนได้ท่ี เปน็ แบบอยา่ งของละครรามาตราบทกุ วนั น้ี พระองค์ยังทรง พระราชนิพนธ์บทละคร ขึน้ ใหม่อีกถงึ ๗ เรื่อง มเี รือ่ งอิเหนาและเรือ่ ง รามเกยี รติ์ เป็นต้น มลู เหตทุ ีส่ ุนทรภู่ไดเ้ ขา้ รบั ราชการ นา่ จะเนื่องมาจากเรือ่ งละครนีเ้ อง ไม่นา่ จะเก่ยี วขอ้ งกับกรณีทอดบัตรสนเท่ห์ เพราะจากกรณี บตั รสนเท่ห์นน้ั คน ที่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งถกู ประหารชีวติ ถงึ ๑๐ คน แม้แต่ นายแหโขลน คนซื้อ กระดาษดินสอ กย็ ังถูกประหารชีวติ ด้วย มีหรือสนุ ทรภู่จะรอดชีวติ มาได้ นอกจากน้ี สนุ ทรภเู่ ป็นแต่เพียงไพร่ มีชวี ติ อยนู่ อกวงั หลวง ช่วงอายุกอ่ นหนา้ นีก้ ็ วนเวยี น และเวียนใจอยู่กบั เรื่องความรัก ท่ไี หนจะมีเวลามายุ่งเกีย่ วกบั เรื่อง การเมือง (กรณีวิเคราะห์น้ี มิได้รบั รองโดยนกั ประวตั ิศาสตร์ เป็นความเห็นของ คุณปราโมทย์ ทัศนาสวุ รรณ เขยี นไวใ้ นหนังสือ \"เทีย่ วไปกบั สุนทรภู่\" ซึ่งเห็นว่า มูลเหตทุ ีส่ ุนทรภไู่ ด้เขา้ รับราชการ น่าจะมาจากเรือ่ งละครมากกวา่ เรอื่ งอืน่ ซึ่ง ข้าพเจา้ พิเคราะห์ดูก็เหน็ น่าจะจริง ผิดถูกเชน่ ไรโปรดใช้วจิ ารณญาณ)
อีกคราวหนึง่ เมื่อทรงพระราชนิพนธ์เรอื่ งรามเกียรติต์ อนศึกสิบขุนสิบรถทรง พระราชนิพนธ์บทชมรถทศกณั ฐ์ว่า \"รถทนี ัง บุษบกบลั ลังกต์ ังตระหง่ำน กวำ้ งยำวใหญ่เทำ่ เขำจักรวำล ยอดเยยี มเทยี มวิมำนเมืองแมน ดุมวงกงหนั เปน็ ควันควำ้ ง เทยี มสงิ หว์ ิงวำงขำ้ งละแสน สำรถขี ีขบั เข้ำดงแดน พืนแผ่นดินกระเดน็ ไปเปน็ จุณ“ ทรงพระราชนิพนธม์ าไดเ้ พียงนี้ ทรงนึกความทีจ่ ะต่อไปอย่างไรให้สมกบั ที่รถ ใหญ่โตปานนั้นกน็ ึกไม่ออก จึงมีรบั ส่งั ให้สนุ ทรภู่แตง่ ต่อ สุนทรภู่แตง่ ต่อว่า \"นทตี ฟี องนองระลอก กระฉอกกระฉ่อนชลข้นขนุ่ เขำพระเมรุเอนเอียงออ่ นละมนุ อนนต์หนนุ ดินดำนสะท้ำนสะเทือน ทวยหำญโหร่ อ้ งก้องกัมปนำท สุธำวำสไหวหวนั ลันเลือน บดบังสรุ ิยันตะวนั เดอื น คลำดเคลอื นจตั ุรงค์ตรงมำ“ กลอนบทนี้เปน็ ทีโ่ ปรดปรานของพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ยิง่ นัก นับแตน่ ้ันก็นับสนุ ทรภู่เป็นกวีทป่ี รึกษาด้วยอกี คนหนึง่ ทรงตั้งเป็นที่ขนุ สุนทรโวหาร พระราชทานทีใ่ หป้ ลกู เรือนทที่ ่าช้าง และให้มตี าแหนง่ เฝ้าฯ เป็นนจิ แมเ้ วลาเสด็จประพาสกโ็ ปรดฯ ใหส้ นุ ทรภู่ลงเรือพระที่นงั่ ไปด้วย เปน็ พนกั งานอ่าน เขยี นในเวลาทรงพระราชนิพนธบ์ ทกลอน
สุนทรภ่อู อกบวช (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๘๕) อายุ ๓๘ - ๕๖ ปี วนั ที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั เสด็จสวรรคต นอกจากแผ่นดนิ และผืนฟ้าจะรา่ ไห้ ไพร่ธรรมดาคนหนึ่งที่มีโอกาสสงู สดุ ในชีวิต ไดเ้ ป็นถึงกวที ีป่ รึกษา ในราชสานกั ก็หมดวาสนาไปดว้ ย \"ทรงขัดเคืองสุนทรภวู่ ำ่ แกลง้ ประมำทอีกครังหนึง แต่นันกว็ ่ำพระบำทสมเด็จ พระนงั เกลำ้ เจ้ำอยูห่ วั ทรงมึนตึงต่อสุนทรภู่มำ จนตลอดรัชกำลที ๒“ จะโดยตั้งใจหรือไม่ต้ังใจ เพียงคิดไดด้ ว้ ยเฉพาะหน้าตรงนน้ั ก็ตาม สนุ ทรภู่ก็ ไดท้ าการไมเ่ ปน็ ที่พอพระราชหฤทยั ประกอบกบั ความอาลยั เสยี ใจหนักหนาใน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั สุนทรภู่ จงึ ลาออกจากราชการ และตั้งใจ บวชเพื่อสนอง พระมหากรณุ าธคิ ุณ สุนทรภู่ได้เผยความในใจนี้ ในตอนหนึง่ ของนิราศ ภเู ขาทอง ว่า \"จะสร้ำงพรตอตสำ่ หส์ ่งบุญถวำย ประพฤติฝ่ำยสมถะทังวสำ เป็นสิงของฉลอง คุณมลุ กิ ำ ขอเปน็ ขำ้ เคียงพระบำททกุ ชำติไป“ เมื่อบวชแล้ว ท่านไดอ้ อกจารกิ แสวงบญุ ไปยังที่ต่างๆ เลา่ กันว่า ท่านได้ เดนิ ทางไปยังหัวเมืองต่างๆ หลายแห่ง เชน่ เมืองพิษณโุ ลก เมืองประจวบคีรีขันธ์ จนถึง เมืองถลางหรือภูเกต็ และเชือ่ กันว่า ท่านคงจะเขียนนิราศเมืองต่างๆ นี้ไวอ้ ย่างแน่นอน เพียงแต่ยงั ค้นหาต้นฉบบั ไม่พบ ชีพจรลงเท้าสนุ ทรภู่อีกครงั้ เมื่อท่านเกิดไปสนใจเรือ่ งเลน่ แรแ่ ปรธาตุและยา อายุวัฒนะ ถึงแก่อตุ สาหะ ไปค้นหา ทาให้เกิด นิราศวดั เจ้าฟ้า และนิราศสุพรรณ ปี พ.ศ.๒๓๘๓ สุนทรภู่มาจาพรรษาอยทู่ ีว่ ัดเทพธดิ าราม ท่านอยู่ทีน่ ี่ได้ ๓ พรรษา คืน หนึง่ เกิดฝันร้าย ว่าชะตาขาด จะถึงแก่ชีวติ จึงได้แต่งเรือ่ งราพันพิลาป ซึ่งทาให้ทราบ เรื่องราว ในชีวิตของท่านอีก เปน็ อันมาก จากน้ันจึงลาสิกขาบทเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ เพื่อ เตรียมตัวจะตาย
รบั ราชการครงั้ ที่ ๒ (พ.ศ.๒๓๘๕ - ๒๓๙๘) อายุ ๕๖ - ๖๙ ปี เมื่อสึกออกมา สุนทรภู่ได้รับพระมหากรุณาธิคณุ จากพระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หวั คร้ังทรง พระยศเปน็ สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรม ขนุ อศิ เรศรังสรรค์ โปรดอปุ ถมั ภใ์ ห้สุนทรภู่ ไปอยพู่ ระราชวงั เดิมด้วย ต่อมา กรม หมืน่ อัปสรสุดาเทพ ทรงพระเมตตา อปุ การะสนุ ทรภู่ด้วย กล่าวกันวา่ ชอบพระ ราชหฤทยั ในเรื่องพระอภยั มณี จึงมีรับส่งั ให้สุนทรภู่แต่งต่อ นอกจากน้ี สนุ ทรภู่ยงั แตง่ เรื่อง สิงหไตรภพถวายกรมหมืน่ อปั สรฯ อกี เรื่องหนึง่ แมส้ ุนทรภู่จะอายุมากแลว้ แตท่ ่านก็ยังรักการเดินทางและรักกลอนเป็น ทีส่ ุด ท่านได้แตง่ นิราศไว้อกี ๒ เรื่องคือนิราศพระประธม และนิราศเมืองเพชร สนุ ทรภู่ได้รบั พระราชทานบรรดาศกั ดิเ์ ปน็ \"พระสุนทรโวหาร\" ในปี พ.ศ.๒๓๙๔ ขณะที่ท่านมอี ายุ ได้ ๖๕ ปีแลว้ ท่านถงึ แกอ่ นจิ กรรมเมือ่ ปี พ.ศ.๒๓๙๘ รวมอายุ ได้ ๖๙ ปี
เกร็ดความรู้ประวัตขิ องสนุ ทรภู่ ในเรือ่ งประวตั ิและผลงานของท่านสุนทรภู่นี้ นำยเทพ สนุ ทรศำรทูล ผู้มผี ลงาน ดีเด่นทางวฒั นธรรมท่านหนึง่ กล่าวไว้ว่าท่านได้ศึกษาและค้นคว้าชีวิตและงานของสุนทรภู่มา เป็นเวลานานถึง ๓๘ ป(ี พ.ศ.๒๔๙๕-๒๕๓๓) และได้พิมพห์ นงั สือเรื่อง \"ชีวประวัตขิ องพระ สนุ ทรโวหำร(ภู่ ภเู่ รือหงส์)\" เมื่อปีพ.ศ.๒๕๓๓ เป็นวิทยานิพนธ์โดยพิสดารเผยแพร่ประวตั ิ ของท่านสนุ ทรภู่ทเ่ี พิง่ พบใหม่หลายประการ ซึ่งหากใครสนใจในรายละเอียดกไ็ ปค้นอ่านได้ แต่ในที่นีจ้ ะขอนามาบอกกล่าวเป็นบางเรือ่ งคือ • ตาแหน่งของสุนทรภู่ เป็น หลวงสนุ ทรโวหาร มิใช่ ขนุ สุนทรโวหารตามที่เคยวา่ กนั เพราะ ในทาเนยี บนามบรรดาศักดิไ์ ม่มตี าแหน่ง ขุน มีแต่ หลวง • บิดาสุนทรภู่ชื่อ ขุนศรีสังหาญ(พลบั ) ตาแหน่งปลดั กรมขวาศกั ดินา ๓๐๐ไร่ • จากการคน้ คว้าได้พบว่า บทกวีเดิมท่มี ิใช่สุนทรภู่แตง่ มี ๕ เรื่อง แตเ่ ปน็ ผลงานของศษิ ยข์ อง ทา่ น คือ สุภาษิตสอนหญิง เปน็ ของนายภู่ จลุ ละภมร นริ าศพระแทน่ ดงรัง เปน็ ของเสมยี น มี มีระเสน นริ าศวดั เจ้าฟ้า ของนายพัด ภู่เรือหงส์ (ลกู ชายสุนทรภ)ู่ นริ าศอิเหนา ของกรม หลวงภูวเนตรนรินทร์ฤทธิ์ และบทละครเรื่องพระอภยั นุราช เป็นของพระยาเสนาภเู บศร์ (ใส สโรบล) นอกจากนีน้ ายเทพ ยังพบผลงานใหม่ของท่านสนุ ทรภู่อีก ๕ เรือ่ งคือ เพลง ยาวราพรรณพิลาป(แตง่ ถวายกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ซง่ึ กล่าวว่าเปน็ เพลงยาวสังวาสที่ ยาวทีส่ ดุ ในโลก-เพลงยาวสังวาสคือเพลงยาวทีแ่ ต่งเกีย้ วกนั ) เพลงยาวสุภาษิตโลกนติ ิ ตารายาอฐั กาล(ตาราบอกฤกษ์ยามเดินทาง) สบุ นิ นมิ ิตคากลอน และตาราเศษนารี(เป็น ตาราบอกลกั ษณะนารีถึงคณุ ลกั ษณะ และวาสนานารีสาหรับชายหนมุ่ เลือกคู่) ที่กลา่ วว่า สภุ าษิตสอนหญิงมิใช่สนุ ทรภแู่ ตง่ แตเ่ ปน็ ของนายภู่ จุลละภมร ศษิ ยส์ ุนทรภู่นั้น นายเทพให้ ข้อสงั เกตว่าเพราะชื่อภู่เหมือนกนั แตเ่ รื่องที่นายภู่แตง่ จะมีบทไหว้ครูทุกเรือ่ ง ผิดกบั ท่าน สุนทรภู่ทแ่ี ตง่ กลอนจะไม่เคยมบี ทไหว้ครูเลย • เมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั สวรรคต พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ สุนทรภู่กลัวภยั ท่ีเคยได้ล่วงเกินพระองคม์ าก่อน จึงได้หนีไปบวชท่ี วัดอรณุ ฯ ในนามหลวงสุนทรโวหารนอกราชการ ไม่เคยถกู ถอดยศหรือปลดตาแหน่งใดเลย และตลอดระยะเวลาทีบ่ วชอยู่ ๒๗ พรรษา รัชกาลท่ี ๓ กไ็ ม่เคยแตะต้องข้องแวะกบั สุนทร ภู่ นอกจากน้ีพระองค์เจ้าลักขณานุคณุ และกรมหมืน่ อัปสรสดุ าเทพ พระโอรสธิดาใน รัชกาลที่ ๓ ยังให้ความอปุ การะแก่สุนทรภู่ดว้ ยซา้ ซ่งึ หากพระองคถ์ ือโทษโกรธเคืองสุนทร ภู่ ดงั ที่หลายคนอ่านบทกลอนของสุนทรภู่แล้วเข้าใจผิด ในฐานะพระเจา้ แผ่นดนิ สุนทรภู่ คงจะไม่พ้นพระราชอาญาแล้ว แตพ่ ระองคท์ รงพระคณุ ธรรมประเสริฐยิง่ จึงไม่เคยลงโทษ สุนทรภู่แตอ่ ย่างใดเลย
บทกวนี พิ นธข์ องสนุ ทรภู่ บทกวนี ิพนธข์ องท่านสุนทรภู่ ท้ังหมดเท่าทีพ่ บ มีอยู่ ๒๕ เรือ่ ง เปน็ นิราศ ๙ เรื่อง นยิ ายประโลมโลก ๕ เรือ่ ง บทเสภา ๒ เรือ่ ง สภุ าษิต ๓ เรือ่ ง บท ละคร ๑ เรื่อง บทเห่กล่อม ๔ เรื่อง และบทราพันอีก ๑ เรื่อง นริ าศ ๙ เรื่อง คือ นิราศเมืองแกลง นริ าศพระบาท นิราศภเู ขาทอง นิราศสพุ รรณ นริ าศวัดเจา้ ฟ้า นิราศอเิ หนา นริ าศพระแทน่ ดงรัง (ฉบับสามเณรกลั่น) นิราศพระประธม และ นิราศเมืองเพชร นิยายประโลมโลก ๕ เรือ่ ง คือ โคบุตร พระอภยั มณี พระไชย สุริยา ลกั ษณวงศ์ และสิงหไกรภพ บทเสภา ๒ เรื่อง คือ ขุนช้างงขุนแผน (ตอน กาเนิดพลายงาม) และพระราชพงศาวดาร สุภาษิต ๓ เรื่อง คือ สวัสดิรกั ษา เพลงยาวถวายโอวาท และสภุ าษิตสอนหญิง บทละคร ๑ เรือ่ ง คือ อภยั นรุ าช บทเห่กลอ่ ม ๔ เรือ่ ง คือ เห่เรือ่ งจบั ระบา เห่เรื่องกากี เห่เรื่องพระอภยั มณี และ เห่เรือ่ งโคบุตร และบทราพนั ๑ เรื่อง คือเรือ่ งราพันพิลาป ในประวตั สิ นุ ทรภู่ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพนั้น ปรากฏวา่ บทกวีนพิ นธ์ของท่านสุนทรภู่ทงั้ หมดเท่าที่พบมอี ยู่ ๒๔ เรือ่ ง ขาดไป ๑ เรื่อง คือ ราพันพิลาป ซึ่งค้นพบภายหลัง และเรื่องนิราศพระแท่นดงรงั ซึ่งนายมี หมืน่ พรหมสมพัตรสรเป็นผู้แตง่ ไม่ใช่นริ าศพระแท่นดงรังฉบับสามเณรกลัน่ ซึ่งท่าน สนุ ทรภู่เปน็ ผู้แต่ง ในปี ๒๕๐๔ กรมศลิ ปากรได้พิมพ์นิราศพระแท่นดงรงั ของนาย มีฉบบั ชาระใหม่โดยอาจารย์ธนติ อยู่โพธ์ิ อธิบดีกรมศิลปากรในขณะน้ัน ซึ่งได้ อ้างข้อมลู ต่างๆ เปน็ หลักฐานแสดงนายมีเป็นผู้แต่งแน่นอนไมใ่ ช่ทา่ นสนุ ทรภู่
แตท่ ีผ่ ู้เขียนไดเ้ อานิราศพระแท่นดงรังฉบับสามเณรกล่นั มาเปน็ บทกวี นิพนธข์ องท่านสนุ ทรภแู่ ทนนริ าศพระแทน่ ดงรงั ของนายมีกเ็ พราะในงานวนั สุนทรภู่ พ.ศ. ๒๕๓๗ สถาบนั สุนทรภไู่ ด้จดั ให้มีการสัมมนาเรื่อง \"ใครเป็นผู้แต่ง นิราศพระแท่นดงรงั ฉบับสามเณรกล่ัน” และได้ขอ้ สรปุ ว่าผู้แต่งนา่ จะเป็นท่าน สนุ ทรภู่ ไม่ใชส่ ามเณรกลน่ั เชน่ เดียวกบั นิราศวัดเจา้ ฟ้าที่ระบุว่าเณรหนูพัดเป็นผู้ แตง่ แต่เป็นความจริงทีร่ ับกนั ภายหลังว่าทา่ นสุนทรภเู่ ป็นผู้แต่ง ถา้ หากวา่ สามเณรกลน่ั เปน็ ผแู้ ตง่ นิราศพระแท่นดงรงั จริงแล้ว กห็ มายความวา่ สามเณร กลัน่ ซ่งึ มีอายแุ ค่เดก็ วัยรุ่นแต่งนิราศได้ดเี ท่ากับท่านสุนทรภู่ และดีกวา่ นายมีซง่ึ เปน็ ลกู ศษิ ย์เอกคนหนึ่งของท่านสุนทรภู่ ซึ่งไมม่ ีทางจะเป็นไปได้ อนั ที่จริงใน ตอนท้ายของนิราศพระแท่นดงรงั ท่านสุนทรภู่ก็เผยความในใจในเรื่องรกั ของ ผู้ใหญอ่ ยา่ งท่านไมใ่ ช่ของเด็กอยา่ งสามเณรกลน่ั ทานองเดียวกบั ที่ท่านสนุ ทรภู่ ราพนั ถึงผู้สูงศักดิ์ไวใ้ นราพนั พิลาปนนั่ เอง ท่านราพนั ว่า จะออกปำกฝำกรกั กศ็ ักดิต์ ำ้ กลวั จะซำ้ ถมทบั ไม่นบั ถอื ถึงยำมนอนร้อนฤทยั ดงั ไฟฮือ ชมแต่ชือกค็ อ่ ยชนื ทุกคืนวนั เวลำหลับคลับคล้ำยไมว่ ำยเวน้ ได้พบเหน็ ชนื ใจแตใ่ นฝนั ขอฝำกปำกฝำกคำ้ ทรี ำ้ พนั ให้ทรำบขวัญนยั นำดว้ ยอำวรณ์ ฯ ด้วยเหตุน้ี จึงเหน็ วา่ นิราศพระแท่นดงรงั ทเี่ ปน็ บทกวีนิพนธข์ องทา่ น สนุ ทรภู่น้ันไม่ใชฉ่ บบั ของนายมี แตเ่ ป็นฉบบั ของสามเณรกลั่นจากวรรณกรรม ๒๕ เรือ่ งของท่านสนุ ทรภู่นน้ั เปน็ ทีเ่ หน็ ไดว้ ่า ท่านสุนทรภู่เป็นอจั ฉริย จินตกวี ทีม่ ีพรสวรรค์เปน็ พิเศษในการนิพนธว์ รรณกรรมซ่งึ ไม่มีใครเทยี บเทา่ ทง้ั ในอดีต และในปัจจบุ นั และอาจตลอดถงึ ในอนาคต ในการชมธรรมชาติ เช่น ชมนก ชม ไม้ ชมสวน ชมป่าดงพงพี และขุนเขาลาเนาไพร ไม่ว่าจะในนิราศหรือในนยิ าย ประโลมโลก ท่านได้จาแนกแยกแยะชนิด ลกั ษณะ สภาพ และความงดงามของ นานาธรรมชาติไว้อยา่ งละเอียด โดยเฉพาะฝนการกล่าวถงึ ธรรมชาติของคน ท้ัง ในการชมโฉม การเกยี้ วพาราสี การแสดงความรกั ความหึงหวง การคร่าครวญ ความโศกเศร้า หรือความอศั จรรย์ ท่านได้พรรณนาไว้อยา่ งพิสดารด้วยคารมท่ี คมคาย ไพเราะ ซาบซงึ้ ตรงึ ใจและไม่ซ้าซ้อนกนั
ในการพรรณนาถึงภาวะสิง่ แวดล้อม สภาพความเปน็ อยแู่ ลขนบธรรมเนียม ประเพณีของคนในวัง ในกรุง ในชนบทหรือในป่าในดง ท่านก็พรรณนาไว้โดยละเอยี ด ถ่ถี ว้ นเชน่ เดียวกบั การพรรณนาถงึ ลักษณะของราชรถ พระเมรมุ าศ โบสถ์วหิ าร ตลอดจนการรบทพั จับศกึ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สาหรบั นิยายประโลมโลกน้ันทุกเรื่อง ท่านได้วางเนื้อเรื่องไว้อยา่ งสขุ มุ รอบคอบ สมเหตสุ มผล และเหมาะสมกลมกลืน ไม่มี ขาดไม่มีเกนิ ตัวสาคัญในเรือ่ งทกุ เรือ่ งจะมีอปุ นสิ ัย พฤติกรรม กริยาและคารมเสมอ ต้นเสมอปลายตลอดท้ังเรือ่ ง นอกจากนนั้ ท่านยังได้ฝากภาษิตหรือคติธรรม ตลอดจนคาสอนอนั เปน็ สจั จธรรมไว้ในวรรณกรรมของท่าน รวมท้ังความคิดล้ายุค อันเกีย่ วกบั สิ่งประดิษฐ์หลายอย่างทเ่ี กย่ี วกบั วทิ ยาศาสตร์และวิทยาการสมัยใหมท่ ี่ คนในสมัยของท่านคิดไมถ่ งึ ว่าจะเกิดมขี ึน้ นีค้ ือขอ้ สรปุ ของความเปน็ อัจฉรยิ ะในการ นิพนธบ์ ทกวีนพิ นธ์อันสงู ส่งของมหากวีไทย บทกวีนพิ นธ์ของท่านสุนทรภู่เกือบทง้ั หมดเป็นกลอนแปด เฉพาะนิราศ สุพรรณเปน็ โคลงสี่สภุ าพ และพระไชยสรุ ิยาและบทเห่เปน็ กาพย์ ท่านสนุ ทรภู่ได้รบั การยกย่องวา่ เปน็ ผุ้ต้นคิดกลอนตลาด หรือทีเ่ รียกว่ากลอนสุภาพ คือ กลอนแปด นนั่ เอง เปน็ คากลอนทีใ่ ชถ้ อ้ ยคาตรงๆ หรือ คาตลาด ฟงั ง่าย เขา้ ใจง่าย มีสมั ผัสใน และมีระดบั เสียงข้ึนลงเหมือนเสียงดนตรี ทาให้ฟงั ไพเราะรื่นหู ซึ่งไมม่ ีกวีผใู้ ดเคยทา มาก่อน
ในบรรดาบทกวีนิพนธ์เหล่านี้ ได้มีผู้แปลหรือย่อเรื่องเปน็ ภาษาต่างประเทศ บ้างแล้ว เช่น นิราศเมืองแกลง นริ าศพระประธม พระไชยสุริยา ราพนั พิลาป และ พระอภยั มณี บทกวีนพิ นธ์ที่ย่งิ ใหญ่ของท่านสุนทรภู่ คือ พระอภัยมณี ซึ่งเป็นคา กลอนมจี านวนถงึ ๒๕,๔๑๒ คากลอน หรือประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ คา คิดเป็นบท โศลกของพราหมณ์ เทา่ กบั ๑๒,๗๐๖ บท ยาวกวา่ บทกวนี ิพนธส์ มัยกรีกโบราณอนั ลือโลกเรือ่ งอิลเลียด (Iliad)และออดิสซีย์ (Odyssey) ของมหากวีโฮเมอร์ ซึง่ มีความ ยาวประมาณ ๑๒,๕๐๐ บทโศลก และสารานกุ รมบริตานิกายกยอ่ งว่า เป็นงาน อันดับแรกและยิ่งใหญ่ที่สดุ ของวรรณคดีโลก บทกวนี ิพนธท์ ีย่ าวกวา่ เรื่องพระอภยั มณี เหน็ จะมีก็แตม่ หาภารตของอินเดียเท่าน้ัน ส่วนบทกลอนในวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ นอกจากพระอภยั มณีมจี านวนรวมกนั ๑๐,๙๒๐ บท เมื่อรวมกับบทกลอนในพระ อภยั มณแี ล้วกจ็ ะมีจานวนถงึ ๒๓,๖๒๖ บท สมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ได้ทรงให้ความเหน็ ไวใ้ นประวตั ทิ ่าน สุนทรภู่วา่ ถ้าจะให้เลือกกวีไทยบรรดาที่มชี ือ่ เสียงปรากฏในพงศาวดาร คัดเอาแต่ที่ วิเศษเพียง ๕ คน ใครๆก็เห็นจะตอ้ งเอาชื่อท่านสุนทรภู่ไวใ้ นกวี ๕ คน น้ันด้วย
ผลงานบางส่วนของสนุ ทรภู่ ผลงานของสุนทรภู่มีอยู่มากมายและหลากหลายตามทีก่ ล่าวมาแล้ว ซึง่ เท่าทีป่ รากฏเรื่องและยงั มีฉบบั อยู่ในปัจจุบนั คือ • ประเภทนิราศ ได้แก่ นิราศภูเขาทอง นิราศเมืองแกลง นริ าศพระบาท นิราศ พระประธม นิราศเมืองเพชร นิราศวดั เจา้ ฟ้า นริ าศอิเหนา นิราศพระแท่นดง รัง และนิราศเมืองสุพรรณ (เปน็ เรื่องเดียวทีแ่ ต่งเปน็ โคลง เพื่อลบคาสบ ประมาททีว่ า่ ทา่ นเกง่ แต่แต่งกลอนเท่าน้ัน) • ประเภทนทิ าน ได้แก่ เรือ่ งโคบุตร พระอภยั มณี พระไชยสรุ ิยา ลกั ษณวงศ์ และสิงหไกรภพ • ประเภทสภุ าษิต ได้แก่ สวสั ดิรักษา เพลงยาวถวายโอวาท และสุภาษิตสอน หญิง • ประเภทละคร ได้แก่ พระอภัยนุราช • ประเภทเสภา ได้แก่ เรื่องขนุ ช้างขนุ แผน ตอนกาเนดิ พลายงาม และเรือ่ งพระ ราชพงศาวดาร ซึ่งสันนษิ ฐานวา่ เป็นงานนิพนธ์ช้ินสุดท้ายของสนุ ทรภู่ • ประเภทบทเห่กล่อม ได้แก่ เห่เรื่องจบั ระบา เรือ่ งกากี เรื่องพระอภยั มณี และ เรือ่ งโคบุตร
อนุสาวรีย์สนุ ทรภู่ อนุสาวรียส์ นุ ทรภู่ตงั้ อยู่ที่ ถนนเส้นทาง แกลง-แหลมแมพ่ ิมพ์ ตาบล บ้านกร่า อ.แกลง จ.ระยอง สร้างสาเรจ็ ตั้งแตว่ ันที่ 5 มีนาคม 2513 และเปิด อย่างเป็นทางการในวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2513 ครอบคลมุ พื้นที่ 8.5 ไร่ โดยเงิน ที่ใช้สร้างนั้นสว่ นใหญ่เป็นเงินบริจาคของทว่ั ประเทศไทย รปู ร่างลกั ษณะของ อนุสาวรีย์สุนทรภจู่ ะต้ังอยู่บนเนนิ สูง รอบด้วยบ่อนา้ มรี ูปปน้ั ของตัวละคนต่างๆ ในวรรณคดีทีส่ ดุ ทรภู่ได้แต่งขนึ้ ประดบั อยู่โดยรอบ ทั้งหมดออกแบบโดย ศาสตราจารย์ ศลิ ป์ พีระศรี
๓๔ เรื่องน่ารู้ วนั สนุ ทรภู่ ผเู้ ปน็ บคุ คลสาคญั ของโลกที่ต้องจดจา 1. สุนทรภู่ ท่านมีชือ่ เดิมวา่ ภู่ 2. สุนทรภู่ ท่านเกดิ เมือ่ วนั จนั ทร์ เดือน 8 ขึน้ 1 คา่ ปีมะเมีย จุลศักราช 1148 เวลาเช้า 2 โมง (ตรงกบั วนั ที่ 26 มิถนุ ายน 2329 ) 3. ท่านเกดิ ในสมยั รัชกาลที่ 1 แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ เขตพระราชวงั หลงั (ปจั จุบนั คือบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อย) 4. สุนทรภู่ ท่านเคยเรียนหนังสือกับพระในสานักวดั ชีปะขาว (ปัจจบุ ัน คือวัดศรี สุดาราม อยู่รมิ คลองบางกอกน้อย) 5. สุนทรภู่ ท่านชอบแต่งบทกลอนตงั้ แต่หนมุ่ 6. สนุ ทรภู่ ท่านชานาญงานประพันธ์ประเภทกลอนสภุ าพอย่างวเิ ศษ จึงแตง่ กลอนนทิ านเรื่องแรก คือ โคบุตร 7. สนุ ทรภู่รักกบั นางข้าหลวงในวงั หลังคนหนึง่ ชื่อแมจ่ นั 8. กาเนิดผลงานนิราศเรื่องแรกของทา่ นคือ นิราศเมืองแกลง จังหวดั ระยอง 9. นิราศเมืองแกลง เป็นการพรรณนาสภาพการเดินทางต่างๆ เอาไว้โดย ละเอียด และลงท้ายเรื่องวา่ แตง่ มาให้แกแ่ มจ่ นั 10. เมื่อกลบั จากเมืองแกลงคราวน้ี ท่านจึงได้แมจ่ นั เปน็ ภรรยา 11. สนุ ทรภู่กับแม่จันมบี ตุ รชายด้วยกัน 1 คน ชือ่ พดั 12. สุนทรภู่ไดแ้ ตง่ นิราศพระบาท จากการตามเสดจ็ พระองคเ์ จา้ ปฐมวงศใ์ น ฐานะมหาดเล็ก ไปในงานพิธมี าฆบูชา
13. สุนทรภู่แตง่ กลอนได้ดใี นละครเรื่อง “รามเกยี รติ์” จึงได้เลื่อนให้ ขุนสุนทร โวหาร 14. บทกลอนในรามเกียรต์ทิ ีส่ ุนทรภู่ไดแ้ ตง่ ในคราวน้ันคือ ตอนนางสีดาผกู คอ ตาย และตอนศกึ สิบขนุ สบิ รถ 15. ต่อมาสนุ ทรภู่ไดเ้ ลื่อนยศเป็น หลวงสุนทรโวหาร 16. สุนทรภู่ได้เปน็ พระอาจารยถ์ วายอกั ษรสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า อาภรณ์ พระราชโอรสในรชั กาลที่ 2 และได้แตง่ เรือ่ ง สวสั ดิรักษา 17. ระหว่างรับราชการ สนุ ทรภู่แตง่ งานใหม่กบั แมน่ ิม่ มีบุตรชายด้วยกนั หนึง่ คน ชื่อ ตาบ 18. สนุ ทรภู่ตดั สินใจออกจากราชการ และบวชอยู่เปน็ เวลา 18 ปี เดินทางไปวดั ต่าง ๆ จงึ ทาให้ปรากฏผลงานเป็นนิราศเรือ่ งตา่ ง ๆ มากมาย 19. งานเขยี นชนิ้ สุดท้ายที่แต่งไวก้ อ่ นลาสิกขาบท คือ ราพันพิลาป โดยแตง่ ขณะ จาพรรษาอยู่ทวี่ ดั เทพธิดาราม 20. สุนทรภู่แตง่ เรือ่ ง พระอภยั มณี ถวายให้กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ 21. สนุ ทรภู่ได้รบั แตง่ ตั้งเป็นเจ้ากรมอาลกั ษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศกั ด์ิ เป็น พระสนุ ทรโวหาร 22. นอกจากน้สี นุ ทรภยู่ ังมีทายาทชื่อ นิล บุตรชายเกดิ จากภรรยาทีช่ ื่อแมม่ ่วง 23. และปรากฏชือ่ บตุ รบุญธรรมชายอีกสองคน ชื่อ กลั่น และ ชุบ 24. พัด เป็นลูกรัก ได้ติดสอยหอ้ ยตามสนุ ทรภอู่ ยู่เสมอ
25. สุนทรภู่ ท่านให้ความสาคญั กับการศึกษาอย่างมาก และตอกย้าเรื่องการศกึ ษาใน วรรณคดหี ลาย ๆ เรือ่ ง เชน่ ขนุ แผนสอนพลายงามว่า “ลูกผชู้ ำยลำยมอื นันคือยศ เจำ้ จงอตุ สำ่ ห์ท้ำสม้ำเสมยี น” หรือที่พระฤๅษีสอนสุดสาครว่า “รูส้ ิงไรไมส่ ู้รู้วชิ ำ รูร้ กั ษำตวั รอดเป็นยอดดี 26. ไมว่ ่าจะเปน็ งานเขยี นนิราศหรือกลอนนิยาย สุนทรภู่มักแทรกสุภาษติ คาพงั เพย คา เปรียบเทียบต่าง ๆ 27. สนุ ทรภู่มคี วามรอบรมู้ ากมายและรอบด้าน อีกท้ังยงั มีแนวคิดสมัยใหมแ่ บบตะวันตก จนได้สมญาว่าเป็น “มหากวีกระฎมุ พ”ี 28. งานประพนั ธ์ของสนุ ทรภู่เกือบท้ังหมดเปน็ กลอนสุภาพ ยกเว้น พระไชยสุริยา ที่ ประพนั ธ์เป็นกาพย์ และ นิราศสพุ รรณ ที่ประพันธ์เปน็ โคลง 29. ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2398 สริ ิรวมอายไุ ด้ 69 ปี ที่ กรงุ เทพฯ เขตพระราชวังเดิม 30. อนสุ าวรีย์สุนทรภู่ อยู่ที่ตาบลกรา่ อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง บ้านเกิดของบิดาของ สุนทรภู่ 31. งานวิจยั ทุนฟลุ ไบรท์-เฮย์ส ของคาเรน แอนน์ แฮมิลตัน ได้เปรียบเทียบสนุ ทรภู่เปน็ เชกสเปียร์หรือชอเซอร์แห่งวงการวรรณกรรมไทย 32. ครบรอบวนั เกิด 200 ปี ในปี 2529 องค์การยเู นสโกได้ประกาศให้สุนทรภู่ เป็น บคุ คลสาคัญของโลกทางด้านวรรณกรรม เป็นชาวไทยคนที่ 5 33. กุฏิสุนทรภู่ หรือพิพิธภัณฑ์สนุ ทรภู่ ต้ังอยู่ที่วดั เทพธิดาราม ถ.มหาไชย กรุงเทพฯ 34. กาหนดใหว้ นั ที่ 26 มถิ ุนายนของทกุ ปี เป็น “วนั สนุ ทรภู่”
กลอนสุนทรภู่ ท่ีโดดเด่น เรอื่ งคติสอนใจ – จากนิราศภูเขาทอง – “ถึงบางพดู พดู ดเี ปน็ ศรศี กั ด์ิ มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจิต แมพ้ ดู ชั่วตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา” กลอนนีสอนเรือง : คำ้ พูด เมือพูดออกไปแลว้ ไมส่ ำมำรถนำ้ กลบั มำได้ ดงั นนั จะพูดจะจำอะไรให้คิดก่อน
– จากเรอ่ื งพระอภยั มณี – “เขาย่อมเปรียบเทยี บความวา่ ยามรกั แตน่ าผกั ต้มขมชมวา่ หวาน ครันรักจางห่างเหนิ ไปเนน่ิ นาน แตน่ าตาลวา่ เปรียวไม่เหลียวแล” กลอนนีสอนเรือง : ความรัก เมื่อยามทีเ่ รารักกนั อะไรก็ดี ไปหมด แต่เมือ่ หมดรกั ต่อให้จะทาอะไรกไ็ ม่ดี
– เพลงยาวถวายโอวาท – “อันอ้อยตาลหวานลนิ แลว้ สนิ ซาก แต่ลมปากหวานหไู ม่รู้หาย แม้นเจ็บอน่ื หม่ืนแสนจะแคลนคลาย เจ็บจนตายเพราะเหน็บใหเ้ จ็บใจ” กลอนนีสอนเรือง : ไม่มีควำมหวำนใดๆ จะสรำ้ งควำมพึงพอใจ ให้กับคนเรำ ได้เท่ำกับค้ำพูดหวำนหเู พียงไม่กีคำ้ และ ไมม่ ีอำวธุ ใด ทีจะฆำ่ คนให้ตำยทังเปน็ ไดเ้ ทำ่ กบั ค้ำพูดเพียงไม่กีคำ้ เช่นกนั
– จากเร่ืองพระอภัยมณี – “แล้วสอนวา่ อยา่ ไว้ใจมนุษย์ มันแสนสดุ ลึกลาเหลือกาหนด ถึงเถาวลั ย์พันเก่ียวทีเ่ ลยี วลด กไ็ มค่ ดเหมอื นหนึง่ ในนาใจคน” กลอนนีสอนเรือง : อยำ่ ไวใ้ จใครง่ำยๆ จติ ใจของคนนนั สำมำรถเปลียนแปลง ไดต้ ลอดเวลำ วันนคี ดิ ดี ปฏบิ ัตดิ ี พรงุ่ นีอำจกลำยเป็นตรงกนั ข้ำม ดงั นันไมค่ วรประมำท
– จากเร่อื งขนุ ช้างขนุ แผน – “แมร่ ักลกู ลูกก็รู้ อย่วู า่ รกั ใครอื่นสกั หมนื่ แสน ไมแ่ ม้นเหมือน จะกนิ นอน วอนว่า เมตตาเตือน จะจากเรอื น ร้างแม่ กแ็ ต่กาย” กลอนนีสอนเรือง : ควำมรักและควำมผกู พนั ระหวำ่ งแม่ลกู เป็นอมตะ ไม่มีสิงใดเปรียบได้
– จากเร่ืองพระอภัยมณี – “แมน้ ใครรักรักมัง่ ชังชังตอบ ให้รอบคอบคดิ อ่านนะหลานหนา ร้สู ่งิ ไรไม่สู้รู้วิชา รรู้ ักษาตวั รอดเป็นยอดดี” กลอนนีสอนเรือง : ให้รูจ้ กั ระมดั ระวงั รอบคอบ รกั ษำตวั ให้พ้นจำกภัยอันตรำย
– เพลงยาวถวายโอวาท – “อันความคดิ วิทยาเหมอื นอาวธุ ประเสริฐสุดซอ่ นใส่เสียในฝกั สงวนคมสมนึกใครฮกึ ฮกั จึงคอ่ ยชกั เชือดฟันให้บรรลัย” กลอนนีสอนเรอื ง : ควำมคิดของคน เปรยี บเสมือนอำวธุ อนั แสนประเสรฐิ แต่คนเก่งทีแท้จะไมใ่ ช้อำวธุ นันทำ้ ร้ำยผู้อนื เว้นแตโ่ ดนบบี บงั คบั ดว้ ย สถำนกำรณถ์ ึงขีดสุดใหต้ ้องใช้อำวุธอนั ประเสรฐิ นัน
– จากเร่อื งพระอภยั มณี – “อันนินทากาเลเหมอื นเทนา ไมช่ อกชาเหมือนเอามีดมากรดี หนิ แม้องค์พระปฏมิ ายังราคิน คนเดนิ หรอื จะสนิ คนนินทา” กลอนนีสอนเรอื ง : ในโลกน้ีไมม่ ีใครไม่ถกู นนิ ทา
ขอ้ มลู /อ้างอิง • เวบ็ ไซตส์ านกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม • Wikipedia
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: