Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลิตและบริโภคผักปลอดภัย

ผลิตและบริโภคผักปลอดภัย

Published by Thalanglibrary, 2019-12-17 01:29:53

Description: ผลิตและบริโภคผักปลอดภัย

Search

Read the Text Version

คํานํา กระแสรักสุขภาพและสนใจสิ่งแวดลอมของผูบริโภค นํามาซ่ึงการ ปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตพืชผักของเกษตรกรใหมีความปลอดภัย ไดมาตรฐานรับรอง และสอดคลองกับความตองการของตลาด ดังน้ันการผลิตพืชผักอยางปลอดภัย นอกจากลดการใชส ารเคมที ส่ี ง ผลกระทบตอ เกษตรกร ผบู รโิ ภค และสง่ิ แวดลอ มแลว ยังสามารถลดตน ทนุ การผลติ สรางรายไดเพม่ิ เพ่มิ มูลคาผลผลิต มสี วนรว มในการ สรางสิ่งแวดลอมทีด่ ี และสรางโอกาสในการขยายตลาดทง้ั ในและตางประเทศ กรมสงเสริมการเกษตร จึงไดเรียบเรียงเอกสารคําแนะนํา เรื่อง “ผลิตและบริโภคผักปลอดภัย” โดยเน้ือหาประกอบดวย วิธีการผลิต การดูแล รักษากอนและหลังการเก็บเกี่ยว วิธีการเก็บเก่ียวผลผลิต ตลอดจนตลาดพืชผัก และเมนูอาหารจากพืชผัก หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารคําแนะนําฉบับน้ี สามารถ สรางความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงการผลิตพืชผักใหปลอดภัยแกเกษตรกร มุงหวังใหเกษตรกรพัฒนาตนเอง สรางความเขมแข็งและพึ่งพาตนเอง รวมถึงเปนเคร่ืองมือสําหรับเจาหนาท่ีเพื่อใชในการปฏิบัติงานสงเสริมการเกษตร ใหเ กิดการพฒั นาการผลิตผักปลอดภยั สมกบั เมอื งไทยเปนครวั ของโลก กรมสงเสรมิ การเกษตร 2562 การปองกนั กาํ จดั โรคและแมลงศตั รูมันสําปะหลัง

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง สารบัญ บทท่ี 1 บทนํา หนา บทท่ี 2 การปลกู ผกั และดูแลรักษา 1 บทท่ี 3 ศัตรผู กั และการปองกนั กําจัด 2 บทที่ 4 การเก็บเกีย่ วและการจัดการหลงั การเก็บเก่ยี ว 8 บทท่ี 5 การตลาดพชื ผัก 14 18 ภาคผนวก พืชผกั ทีเ่ กษตรกรนิยมปลกู เมนูอาหารจากพชื ผัก 20 26 บรรณานุกรม 30

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมายของพชื ผกั พืชผัก หมายถึง พืชที่สามารถนําสวนตาง ๆ เชน ใบ ลําตน ดอก ผล และราก มาบริโภคไดไมวาบริโภคสดหรือทําใหสุกกอนรับประทาน อาจใชเปนสวนประกอบหลัก หรือสวนประกอบรอง หรอื เปน เครอื่ งเคยี งชวยใหน า รบั ประทานยิ่งข้นึ 1.2 คณุ ประโยชนพ ืชผัก พชื ผกั เปนพืชท่ีอดุ มดว ยคุณคา ทางอาหาร ไดแ ก วิตามินและเกลือแรที่จําเปนตอรางกาย โดยเฉพาะแคลเซียมและธาตุเหล็ก และเปนสารตา นอนุมูลอิสระ แปง และนํา้ ตาลซ่งึ เปน แหลง พลังงาน และใหความอบอุนแกร างกาย เซลลูโลสและไฟเบอร ชวยในการยอ ยอาหารและการขบั ถา ยของรางกาย การปอ งกันกาํ จดั โรผคลแิตลแะแลมะบลรงโิศภัตครผมู ักันปสลําอปดะหภลัยัง 1

การ ปองกัน ํกาจัดโรคและแมลง ัศต ูร ัมน ํสาปะหลัง บทท่ี 2 การปลกู ผกั และดูแลรกั ษา ในการผลิตพืชผักเพื่อใหไดผลผลิตสูงและมีคุณภาพนั้น จําเปนตองใหความสําคัญ ตัง้ แตการเลอื กเมลด็ พนั ธุ การปลูก การใสปยุ การใหน ้ํา การจัดการศตั รูพืช การเกบ็ เกี่ยว และการจัดการหลงั เกบ็ เกีย่ ว 2.1 เมลด็ พนั ธุพืชผกั การใชเ มลด็ พนั ธพุ ชื ผกั ตอ งคาํ นงึ ถงึ ตรงตามพนั ธุ เปน ทต่ี อ งการของตลาด เหมาะสม ตอ สภาพแวดลอ ม มอี ตั ราความงอกสงู ไมห มดอายุ อยใู นภาชนะทป่ี ด สนทิ และควรเลอื กซอ้ื เมลด็ พนั ธจุ ากรานคา หรอื บริษัทท่ีเชื่อถือได 2.2 การเลือกชนดิ ผัก ผักจาํ แนกไดเปน 3 ชนิด ตามอายกุ ารเก็บเก่ียว ไดแ ก 1) ผักอายุส้ัน หมายถึง ผักที่มีอายุตั้งแตปลูกจนถึงสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิต ไดนอยกวา 2 เดือน มีการเจริญเติบโตรวดเร็ว สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตได ในเวลาสนั้ เชน ผักบงุ จนี คะนา กวางตุง เปนตน 2) ผักอายุปานกลาง หมายถึง ผักที่มีอายุประมาณ 2–5 เดือน ตั้งแตปลูก จนสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตไปบริโภคได เชน กะหลํ่าปลี ผักกาดขาวปลี กะหล่ําดอก ถ่วั ฝกยาว แตงโม บวบ มะระ และฟกทอง เปน ตน 3) ผักยืนตน หมายถึง ผักที่สามารถปลูกและเก็บเก่ียวผลผลิตไปรับประทานได อยางตอ เนอ่ื ง สามารถปลกู และอยขู ามป เชน ผักหวาน กะเพรา โหระพา แมงลกั ขงิ ขา ตะไคร และกระชาย เปน ตน 2 กรมสง เสริมการเกษตร

2.3 การเพาะเมลด็ การเพาะเมล็ดผักทน่ี ิยมมี 2 วิธี ดงั น้ี 1) การเพาะในแปลงเพาะ ควรเปนบริเวณท่ีสะดวกตอการดูแล ดินดี น้ําไมทวม และแสงแดดเพียงพอ แปลงเพาะกลาควรมีขนาดกวาง 1 เมตร ความยาวตามตองการ และสะดวกตอผูดูแลแปลง โดยขุดดินตากแดดประมาณ 10-15 วัน ใสปุยคอกหรือ ปุยหมกั ยกแปลงสงู ประมาณ 10 เซนตเิ มตร เกลี่ยหนา แปลงใหเรยี บ หวา นเมลด็ กระจาย ใหทั่วแปลง หรือโรยเปนแถวใหแตละแถวหางกันประมาณ 15-20 เซนติเมตร เกล่ียดิน กลบบาง ๆ แลวรดน้ํา ควรคลุมดนิ ดวยแกลบหรอื ฟางแหง เพื่อรักษาความชน้ื 2) การเพาะในถาดเพาะ เหมาะสําหรับเมล็ดพันธุท่ีมีราคาแพง และขนาดเล็ก ใชพ้ืนที่ไมมากนัก เคลื่อนยายงาย ทราบจํานวนตนกลาแนนอน วัสดุเพาะอาจใช อัตราสว นระหวาง ดินละเอียด : ปยุ คอกแหงหรอื ปยุ หมกั : ทรายละเอยี ด : ขุยมะพรา ว อยางละเทากันก็ได โดยใสเมล็ดหลุมละ 1-2 เมล็ด เมื่อตนกลาแข็งแรงดีแลว จงึ นําไปยายปลูกลงแปลง 2.4 การเตรยี มแปลงปลกู เมล็ดพืชผักโดยสวนใหญมีขนาดเล็ก มีระบบรากตื้น หากเตรียมดินไมดีจะสงผลตอ การงอกและการเจริญเติบโต โดยปกติใหทําการไถผาน และไถดะ ลึก 15-20 เซนติเมตร แลวตากดินไว 7-10 วัน เพ่ือทําลายไขแมลงและศัตรูพืชในดิน ทําการไถพรวนพรอมใส ปุยอินทรียผสมคลุกเคลาไปกับดิน จะทําใหดินรวนซุย และเหมาะสมกับการเจริญเติบโต และควรใสปยุ หมกั หรือปยุ คอกในอัตรา 4-6 ตนั ตอไร ปละ 1 ครงั้ 2.5 การปลกู 1) การปลกู ลงแปลงโดยตรง การหวาน/การโรย ปกติเกษตรกรนิยมปลูกผักกินใบดวยการหวาน เชน ผักชี คะนา กวางตุง ผักบุง เปนตน ซ่ึงควรยอยหนาดินใหละเอียดกอนเสมอ ควรหวานเมล็ดพันธุใหกระจายทั่วแปลงมากท่ีสุด หากเมล็ดพันธุมีขนาดเล็กควรผสมกับ ทรายละเอยี ดกอนหวานเพื่อเพ่ิมการกระจายตัวของเมล็ดพันธุ หรืออาจโรยเปนแถวหางกัน ประมาณ 10 เซนติเมตร แลวคลมุ ดว ยฟาง รดนํ้าใหช ุมดวยบัวฝอย เม่ือตน กลา เจรญิ เตบิ โต ใหท าํ การถอนแยก โดยถอนตนทีเ่ ปน โรคและออ นแอไมส มบูรณท ง้ิ การปองกันกําจัดโรผคลแติลแะแลมะบลรงโิศภัตครผูมักนั ปสลําอปดะหภลยั งั 3

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง การหยอดเมล็ด นิยมหยอดเมล็ดพันธุพืชผักเลื้อยกินผลลงในแปลงปลูก โดยตรง โดยขุดหลุมตามระยะและความลึกที่เหมาะสม แลวหยอดหลุมละ 2-3 เมล็ด กลบดวยดินผสมปุยคอกหรือปุยหมัก อัตราสวน 1:1 เม่ือตนกลางอกมีใบจริงประมาณ 2-3 ใบ จงึ คัดตน ท่ไี มแ ข็งแรงสมบูรณ เหลอื เพียงหลมุ ละ 1 ตน 2) การยา ยกลา เลือกตนกลาที่แข็งแรง ไมมีโรค แมลง ลําตนตรง ไมคดงอ ใบสมบูรณ มีใบจริง 3-5 ใบ โดยขุดหลุมตามระยะปลูก และลึกตามชนิดของพืชผักน้ัน ๆ ทั้งนี้ กอ นยา ยตน กลา ควรงดนาํ้ 1 วนั และกอ นปลกู 1 ชว่ั โมง ใหร ดนาํ้ ใหช มุ ควรปลกู ในชว งเยน็ หรอื แดดออ น และรดนํา้ ตามทันที 3) การทาํ คา ง การทําคางสําหรับพืชผักเล้ือย เชน แตงกวา มะเขือเทศ และพืชผัก ตระกูลถั่วตาง ๆ เกษตรกรนิยมใชไมไผกลม หรือไมอื่น ๆ ที่หาไดงายและราคาถูก ยาวประมาณ 1.5 เมตร ปกในดิน 30 เซนติเมตร ขางตนผัก โดยทําเปนแถวคู เอนปลาย หากันผูกเปนกระโจม แลวใชไมพาดขวางที่ดานบนและดานขาง ผูกเชือกใหแนน เปนการชว ยพยุงลําตน และงายตอ การจัดการแปลง การทํารานสําหรับพืชผักเล้ือย เชน บวบ มะระ และแฟง โดยทําเสา ดวยการนําไมไผขนาดกลางปกขางตนผักทุกหลุม ใหสูงจากพื้นประมาณ 1.5-2 เมตร แลวใชไมไผพาดดานบนไมไผแตละดานใชลวดมัดใหแนนเพื่อทําเปนคาน แลวจึง ใชเชือกไนลอนขึงทับ หางกันประมาณ 70 เซนติเมตร หรืออาจซ้ือสําเร็จรูป แลวมัดกับ ไมไผที่ทําเปนเสาและคานใหแนน เมื่อพืชเลื้อยและออกผลดานบนจะสะดวกในการดูแล รักษาและเกบ็ เกย่ี ว มากกวา ปลูกใหเ ลื้อยบนพน้ื ดนิ 2.6 การใหปุย 1) ปุยรองพ้ืน จะใชในชวงเตรียมดินหรือรองกนหลุมกอนปลูก ควรใสปุยคอก หรือปุยหมัก เพ่ือทําใหดินโปรง รวนซุย อุมน้ํา รักษาความช้ืน และชวยดูดซับปุยเคมี ที่ใสภายหลัง ไมใหสลายเร็วเกินไป และทาํ ใหตน กลาตงั้ ตวั ไดเ ร็ว 2) ปุยบํารุง อาจเปนปุยเคมี หรือปุยชีวภาพ แตควรแบงใส โดยครั้งแรก ควรใสเมื่อยายกลาจนตนกลาต้ังตัวไดแลว และใสอีกครั้งหลังจากใสคร้ังแรกประมาณ 2-3 สัปดาห โดยโรยปุยระหวางแถวพรวนดินกลบ ไมควรใสชิดตนเพราะจะทําให ตนผักตายได เมอ่ื ใสปยุ แลว รดนํ้าตาม 4 กรมสง เสริมการเกษตร

2.7 การใหน ํา้ พชื ผักโดยมากเปนพชื อวบน้ํามีความตองการนํา้ อยางเพยี งพอ และไมช อบน้าํ ขัง ควรรดนํ้า เชา-เย็น ไมควรรดตอนแดดจัด รดใหชุมแตไมควรแฉะและ มีน้าํ ขงั เพราะอาจเปน สาเหตกุ ารระบาดของโรคพืชได หากปลูกพืชผักตระกูลแตงในชวงหนาหนาว และกลางคืนมีหมอกลงจัด ในตอนเชาควรโชยนํา้ บาง ๆ ลา งใบ เพอ่ื ปองกันการเจริญเตบิ โตของโรคราน้าํ คา ง การเลือกชนดิ ผัก เมลด็ พันธุพืชผกั การเตรียมแปลงปลกู การใหน ํ้า การใสปยุ รองพนื้ การถอนแยก การปอ งกนั กําจดั โรผคลแติลแะแลมะบลรงโิศภัตครผูมักันปสลําอปดะหภลยั ัง 5

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง คาํ แนะนาํ การปลกู พืชผกั ตารางสรปุ การปลกู พชื ผกั ซงึ่ สามารถแบง กลุมทเี่ กษตรกรนิยมผลิตได 5 กลมุ ตามตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 คาํ แนะนําการปลูกพชื ผกั พชื ผัก ชนดิ พันธุ อตั ราการใชเ มลด็ ระยะปลูก การใสปุย วธิ ปี ลูก อายุการเกบ็ เกย่ี ว ตระกูล พืช (กรมั /ไร) ตน xแถว (วนั ) แตง แตงกวา 200 50X70 ซม. - ปรบั ปรงุ ดิน 15-15-15 อตั รา 30 กก./ไร ยา ยกลา 40-60 มะระจีน 250 50-75X - 14 วนั หลังงอก 46-0-0 อัตรา 30 กก./ไร ยา ยกลา 80-90 100-120 ซม. - 20 วันหลังงอก 15-15-15 อัตรา 40-50 กก./ไร - 30 วนั หลงั งอก 13-13-21 อตั รา 30-50 กก./ไร ฟกทอง 250-450 300X300 ซม. - ระยะแรก ใสป ุย ทม่ี ฟี อสฟอรสั สงู หยอดเมล็ด 120-180 200 - ระยะเจริญของเถา ใส 21-0-0 ยายกลา บวบเหลย่ี ม - ระยะตดิ ผล ใส 15-15-15 หรอื 13-13-21 45-60 บวบหอม 50-60 75X100 ซม. - รองกนหลุมดวย 13-13-21 อัตรา 30-50 กก./ไร - 7-10 วนั ใส 46-0-0 อตั รา 3-5 กก./ไร - 20-30 วันหลังงอก ใส 13-13-21 อตั รา 30-50 กก.ไร แตงโม พันธุเบา 40-50 90X300 ซม. - ใส : 10-10-20/13-13-21 หยอดเมล็ด 65-85 อตั รา 100-150 กก./ไร เมอ่ื มใี บจรงิ 5 ใบ พนั ธุห นกั - ใส 46-0-0 เมอ่ื เถาทอดยาวประมาณ 1 ฟตุ 250-500 - ใส 46-0-0 และ 0-0-60 เม่อื เถายาว 7 ฟตุ หรอื 90 ซม. กะหล่ํา กะหลาํ่ ปลี 100-150 30-40X30-40 - 14 วนั หลงั ยายปลกู ใส 13-13-21 ยายกลา พันธุเบา 50-60 ซม. อตั รา 30 กก./ไร พนั ธุหนกั 120 - 20 วนั หลงั ยายปลูก ใส 46-0-0 และ 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร - 40 วันหลงั ยายปลูก ใส 13-13-21 หรอื 14-14-21 อัตรา 50 กก./ไร คะนา 1,000-1,500 20X25 ซม. - 14 วนั หลังงอกใส 46-0-0 หวา น 35-55 อัตรา 40-50 กก./ไร - 28-40 วนั ใส 15-15-15 หรอื 16-16-16 อัตรา 40-50 กก./ไร ผักกาดเขยี ว 200-250 20X25 ซม. - 7-10 วันหลังงอก ใส 46-0-0 หวา น 30-35 กวางตุง อัตรา 40-50 กก./ไร - 20-25 วันหลังงอก ใส 16-16-16 อัตรา 40-50 กก./ไร ผกั กาด 200 50X50 ซม. - 7-14 วนั หลงั ยายปลกู ใส 20-10-10 ยายกลา 45-50 อตั รา 40-50 กก./ไร ขาวปลี - 21-28 วนั หลังยายปลูก ใส 20-10-10 อัตรา 40-50 กก./ไร - 40 วนั หลังยา ยปลกู ใส 15-15-15 อตั รา 40-50 กก./ไร 6 กรมสงเสรมิ การเกษตร

ตารางที่ 1 คําแนะนาํ การปลกู พืชผัก (ตอ) พชื ผัก ชนดิ พนั ธุ อตั ราการใชเ มลด็ ระยะปลกู การใสปยุ วิธปี ลกู อายกุ ารเกบ็ เก่ียว ตระกลู พชื (กรมั /ไร) ตน xแถว (วัน) กะหล่ํา ผกั กาดหวั 2,000 20X30 หรือ - 14 วันหลังปลกู ใส 46-0-0 หวา น 45-60 (ตอ) อตั รา 40-50 กก./ไร 30X45 ซม. - 28 และ 40 วัน ใส 13-13-21 หวา น 40-45 อัตรา 40-50 กก./ไร ผักกาดหอม 300-500 50X50 ซม. - 7-14 วันหลงั งอก ใส 46-0-0 อัตรา 40-50 กก./ไร - 21-22 วันหลงั งอก ใส 15-15-15 หรอื 16-16-16 อัตรา 40-50 กก./ไร พริกขหี้ นู 100 แถวเดย่ี ว - รองกนดวยปยุ หมัก ปยุ คอกผสมปยุ เคมี ยา ยกลา 70-95 พริกและ พรกิ ช้ฟี า 15-15-15 อตั รา 25 กก./ไร มะเขอื พรกิ มนั 250-350 50X100 ซม. - 30 วนั หลังยายปลูก ยายกลา 70-90 พริกหนมุ 250-350 แถวคู ใส 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร ยายกลา 100 พรกิ หยวก 250-350 ยายกลา 100 มะเขือเทศ 50X80 ซม. - 60 วนั หลังยายปลูก มะเขอื พวง ระหวา งแถวคู ใส 13-13-21 อตั รา 50 กก./ไร 120 ซม. - 20 วนั หลังยายปลกู ใส 15-15-15 อัตรา 20-50 กก./ไร 250X250 ซม. - 30 วันหลังยายปลูก ใส 15-15-20 อัตรา 80 กก./ไร พรอม 46-0-0 อัตรา 20 กก./ไร มะเขือเปราะ 50X80 ซม. - 7-10 วันหลงั ยา ยปลกู ใส 46-0-0 มะเขือยาว อัตรา 30 กก./ไร 100X100 ซม. - 30 วันหลงั ยา ยปลกู ใส 15-13-21 หรอื 15-15-15 อตั รา 15-25 กก./ไร ถั่วฝก ยาว 1,500 50X100 ซม. - 14 วนั หลงั งอก ใส 46-0-0 อตั รา 30 กก./ไร หยอดเมล็ด 55-60 ถ่ัว - 28 วันหลงั งอก ใส 15-15-15 45-50 อตั รา 40-50 กก./ไร 50-60 ถวั่ พู 4,000-5,000 200X200 ซม. - 38-40 วนั หลังงอก ใส 13-13-21 หยอดเมล็ด อตั รา 40-50 กก./ไร ถัว่ แขก 3,000-4,000 30X50 ซม. - 15 วนั หลงั งอก ใส 46-0-0 อตั รา 15 กก./ไร หยอดเมล็ด - 30 วันหลงั งอก ใส 15-15-15 อตั รา 25 กก./ไร - 45 วนั หลงั งอก ใส 13-13-21 อตั รา 25 กก./ไร การปอ งกนั กําจัดโรผคลแิตลแะแลมะบลรงโิศภัตครผมู กั ันปสลําอปดะหภลยั งั 7

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง บทท่ี 3 ศตั รูผักและการปอ งกันกาํ จัด 3.1 แมลงศัตรผู กั ท่ีสาํ คัญและการปอ งกนั กาํ จัด 1) หนอนใยผัก ช่อื อน่ื : หนอนใย ตัวจรวด ความสําคัญและลักษณะการทําลาย : สรางความเสียหาย กับพืชตระกูลกะหลํ่าทุกชนิด หนอนใยผักมีวงจรชีวิตสั้น ขยายพันธุเร็ว วางไขไดตลอดชีวิต ระยะหนอนสามารถ ทําลายพืชโดยกินใบ กาบใบ และยอดได ทําใหใบผัก ลักษณะการทําลาย เปนรูพรุนคลายรางแห เมื่อถูกตัวหนอนจะด้ินอยางแรงและ สรางเสนใยพาตัวข้ึนลงระหวางพื้นดินกับใบพืช ตัวเต็มวัย เปนผเี สอ้ื กลางคนื ขนาดเล็ก ชอบบนิ มาเลน แสงไฟชวงหวั คา่ํ พชื อาหาร : ผักตระกูลกะหลํา่ การปองกนั กําจดั : ตดิ กบั ดกั กาวเหนียวสีเหลือง 80 กบั ดกั ตอไร ใชโรงเรือนตาขา ยไนลอน หรือปลูกผกั กางมุง ลกั ษณะตัวเต็มวยั และดกั แด ใชแ ตนเบยี นไขท ริคโคแกรมมา อตั รา 60,000 ตวั ตอ ไร ทุก 10 วัน ใชแ บคทเี รยี บาซลิ ลสั ทรู งิ เยนซสิ (บที )ี 60-80 กรมั ตอ นาํ้ 20 ลติ ร ฉดี พน ทกุ 4-7 วนั ใชส ารเคมตี ามคาํ แนะนาํ ของทางราชการ ไดแ ก สปน โนแซด หรอื คลอรฟ น าเพอร หรือ อนิ ดอ กซาคารบ 2) หนอนกระทหู อม ช่ืออืน่ : หนอนหลอดหอม หนอนหอม หนอนหนงั เหนยี ว ระยะไข หนอน ดกั แด และตวั เตม็ วยั ความสําคัญและลักษณะการทําลาย : สรางความเสียหาย กับพืชตระกูลกะหล่ําทุกชนิด ระบาดรุนแรงชวงฤดูรอน ระยะหนอนสามารถทาํ ลายพชื โดยกดั กนิ ผวิ ใบตามสว นตา ง ๆ เขา ดักแดใตผิวดนิ ตัวเต็มวยั เปน ผเี สื้อกลางคนื ขนาดกลาง 8 กรมสง เสรมิ การเกษตร

พืชอาหาร : คะนา กะหลํา่ ปลี กะหลํา่ ดอก ผักกาดขาวปลี ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหัว หอมแดง หอมหัวใหญ หนอไมฝร่ัง กระเจี๊ยบเขียว พริก องุน ขาวโพด ถั่วเหลือง กหุ ลาบ ดาวเรือง และกลวยไม การปอ งกนั กาํ จดั : หมน่ั ตรวจแปลง ถา พบหนอนไมม ากใหเ กบ็ ทาํ ลาย ลกั ษณะการทาํ ลาย ใชโ รงเรือนตาขา ยไนลอน หรือปลูกผกั กางมุง ใชแ บคทเี รยี บาซลิ ลสั ทรู งิ เยนซสิ (บที )ี 60-80 กรมั ตอ นาํ้ 20 ลติ ร ฉดี พน ทกุ 4-7 วนั ใชสารเคมีตามคําแนะนําของทางราชการ ไดแก คลอรฟนาเพอร หรือ อินดอกซาคารบ หรอื สปน โนแซด 3) หนอนคบื กะหลํา่ ชอ่ื อน่ื : หนอนเขยี ว หนอนคบื หนอนคบื เขยี ว ความสาํ คญั และลกั ษณะการทาํ ลาย : เปนหนอนขนาดกลาง กิ นจุ กั ด กิ นที่ ผิ ว ใ บ จ นถึ ง กั ด กิ น เน้ื อ ใ บ ทํ า ให เป น รอยแหวงเหลือแตกานใบ สวนใหญพบระบาดในชวงเดือน กมุ ภาพนั ธ- มนี าคม ตวั เตม็ วยั เปนผเี ส้อื กลางคืนขนาดกลาง พชื อาหาร : กะหลํ่าปลี ผกั กาดขาวปลี กะหลํ่าดอก ขน้ึ ฉา ย ลกั ษณะการทําลาย บีทรูท คะนา มันฝร่ัง ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหอม ผักกวางตงุ และผักกาดขาว การปอ งกนั กาํ จดั : หมนั่ ตรวจแปลง ถา พบหนอนไมม ากใหเ กบ็ ทาํ ลาย ใชโ รงเรอื นตาขา ยไนลอน หรอื ปลกู ผกั กางมงุ ใชแ บคทเี รียบาซิลลสั ทูรงิ เยนซิส (บีท)ี ระยะไข หนอน ดกั แด และตวั เตม็ วยั 60-80 กรัมตอนํา้ 20 ลิตร ฉีดพน ทกุ 4 -7 วนั ใชสารเคมีตามคําแนะนําของทางราชการ ไดแก แลมบดาโซฮาโลทริน หรือ เดลทาเมทรนิ หรอื คลอฟลอู าซูรอน การปองกันกําจัดโรผคลแิตลแะแลมะบลรงิโศภัตครผูมักนั ปสลําอปดะหภลยั ัง 9

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง 4) เพลี้ยไฟ ความสําคัญและลักษณะการทําลาย : ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากพืช ทําใหเกิดรอยดานหรือรอยแผลสีน้ําตาล ทําใหใบแหง หรือ หงิกงอมวนข้ึนดานบนยอด ดอก และตาออนไมเจริญเติบโต ในระยะที่พืชขาดนํ้าอาจทําใหพืชตายได พบทําลายพืชได ตวั เต็มวัย ตลอดทงั้ ป มักพบระบาดรุนแรงชวงฤดรู อ น ฝนทิ้งชวง พชื อาหาร : แตงโม มะเขอื เปราะ มะเขือยาว แตงกวา มะระ ฟกเขียว ถ่ัวฝกยาว หนอไมฝรั่ง พริก ไมผล พืชไร และ ไมด อกหลายชนดิ การปอ งกนั กาํ จดั : เพม่ิ ความช้ืนโดยการใหน ํ้าแกพชื ลกั ษณะอาการใบพริกทถ่ี กู เพล้ยี ไฟเขา ทําลาย ใชเช้ือบิวเวอเรยี 250 กรัมตอ น้าํ 20 ลติ ร ฉดี พน ทุก 7-15 วนั ใชส ารเคมตี ามคาํ แนะนาํ ของทางราชการ ไดแ ก อมิ ดิ าโคลพรดิ หรอื อมิ าเมก็ ตนิ เบนโซเอต หากพบการระบาดในชว งแลง ควรปรบั หัวฉีดสารเคมีใหเปนฝอยทส่ี ดุ 5) เพล้ียออนฝา ย ความสําคัญและลักษณะการทําลาย : ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากใบ และยอด ทําใหตนพืชชะงักการเจริญเติบโต เปนพาหะนําโรค ไวรัสหลายชนิดมาสูพืช พบระบาดมากในชวงอากาศแหงแลง หรอื ในฤดูหนาว ตวั เตม็ วัย พืชอาหาร : ฝาย ยาสูบ พริก มันฝร่ัง มะเขือเทศ กระเจ๊ียบเขียว มะเขือเปราะ ถั่วฝกยาว ถ่ัวตาง ๆ และพืช ตระกูลกะหลํ่า การปอ งกนั กาํ จดั : กาํ จดั วชั พชื บรเิ วณแปลงปลกู เพราะเปน แหลง อาศยั ของเพลย้ี ออ น ลกั ษณะอาการใบพรกิ ทถ่ี กู เพลย้ี ออ นฝา ยเขา ทาํ ลาย ใชเช้ือบิวเวอเรยี 250 กรัมตอนํา้ 20 ลติ ร ฉีดพน ทุก 7-15 วัน ใชสารเคมีตามคําแนะนําของทางราชการ ไดแก อมิ ดิ าโคลพริด เปนตน 10 กรมสงเสรมิ การเกษตร

6) แมลงวนั ทองพริก ตัวเตม็ วยั ชอ่ื อน่ื : หนอนดดี หนอนน้าํ ปลา ลกั ษณะการทาํ ลาย ความสําคัญและลักษณะการทําลาย : เปนศัตรูสําคัญของ พรกิ และพชื ตระกลู มะเขอื ตวั เตม็ วยั วางไขใ นระยะพรกิ เปลย่ี นสี หรือผลใกลส ุก หนอนกดั กนิ ภายในผล เขาดกั แดในดนิ พชื อาหาร : ผักตระกลู พริกและมะเขือตา ง ๆ การปอ งกนั กาํ จดั : รกั ษาความสะอาดในแปลง เกบ็ ผลพรกิ ทถี่ กู ทาํ ลาย ไปเผาหรอื ฝง ใชสารลอแมลง (เมธิลยูจินอล) ผสมกับสารเคมี มาลาไธออน จมุ สาํ ลแี ลว แขวนในขวดพลาสตกิ วางกระจายในแปลง พน ดว ยนํ้ามนั ปโ ตรเลียม สารเคมมี าลาไธออน 3.2 โรคผกั ทีส่ ําคัญและการปองกันกําจัด 1) โรคเนา เละ สาเหตุ : เกิดจากเชอื้ แบคทีเรยี ลักษณะอาการ : พบมากในพืชตระกูลกะหลํ่า มีแผลช้ํา ฉํ่านํ้า แผลเละเปนเมือกเย้ิม สงกลิ่นเหม็น อาการลุกลาม อยางรวดเรว็ ในสภาพอากาศรอ นจัด มีความชน้ื สูง การแพรร ะบาด : ถูกพัดพาไปโดยนํ้า ติดไปกับแมลงและ อาการของโรค เครื่องมอื ทางการเกษตร เศษซากพชื ท่ีเปน โรค การปอ งกนั และกาํ จดั : การเตรียมแปลงปลูก ใหกําจัดเศษซากพืชที่เปนโรคออกจากแปลง ไถดิน ตากแดดจัด 7-15 วนั หลีกเลี่ยงไมใหน้าํ ทว มขงั ในแปลงเปน เวลานาน ควบคมุ หนอนและแมลงปากกดั ในแปลง การปอ งกันกําจดั โรผคลแิตลแะแลมะบลรงโิศภัตครผูมกั ันปสลาํ อปดะหภลัยัง 11

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง 2) โรคแอนแทรคโนส สาเหตุ : เกิดจากเช้ือรา ลักษณะอาการ : ใบพืชเปนแผลแหงสีน้ําตาล เห็นเช้ือ สาเหตุจุดดํา ๆ มีลักษณะเรียงเปนวงซอนกันคอนขางชัดเจน โรคนเี้ กดิ ไดท งั้ บนใบ กง่ิ และผล พบระบาดมากในชว งฤดฝู น การแพรร ะบาด : ปลวิ ไปกบั ลม และนํ้าฝน อาการของโรคบนผลพรกิ การปอ งกนั และกาํ จดั : เวนระยะปลูกพืชใหเหมาะสม อากาศถายเทได และหม่ันสํารวจแปลง เม่ือพบ โรคใหเกบ็ เผาทําลายท้งิ ใชเ ช้อื ไตรโคเดอรม า 250 กรัมตอ นํ้า 20 ลติ ร ฉดี พน ทกุ 7-15 วนั ฉีดพนสารเคมีปองกันและกําจัดโรคพืชตามคําแนะนําของทางราชการ เชน แมนโคเซบ หรือ โปรคลอราช หรือ คารเบนดาซมิ เปน ตน 3) โรครานํ้าคาง สาเหตุ : เกดิ จากเชอ้ื รา ลกั ษณะอาการ : พบมากในผักตระกูลกะหล่ํา และตระกูล แตง จะพบกลุมของเช้ือราเปนผงสีขาวหรือสีเทาบนใบ ตอมาดานหลังใบจะเกิดแผลสีเหลืองและกลายเปนสีน้ําตาล แผลคอนขางเปนส่ีเหลี่ยมขอบไมแนนอน ถาเปนรุนแรง อาการของโรค แผลจะมีจาํ นวนมาก ใบจะเหลืองและแหงตาย การแพรร ะบาด : ลอยไปกบั ลม อยูขา มฤดูไดนานในซากพืช ติดไปกับเมล็ดพันธุ การปอ งกนั และกาํ จดั : ใชเมล็ดพันธุปราศจากเช้ือ หรือแชเมล็ดในนํ้ารอน 50 องศาเซลเซียส 20-30 นาที กอนปลูก หรือคลุกเมล็ด ดวยสารปองกันและกําจัดโรคพืช เมตาแลกซิล หรือ เมตาแลกซลิ ผสมแมนโคเซบ กอ นปลกู ไมปลกู ผกั ซาํ้ ในพื้นที่เคยเกดิ โรค โดยปลกู หมนุ เวียนอยางตาํ่ 3 – 4 ป ควรปลกู พืชใหม รี ะยะหางพอสมควรอยา ใหแนน เกินไป 12 กรมสงเสริมการเกษตร

หลังจากเก็บเกี่ยวควรทําลายเศษซากพืชหรือพืชท่ีงอกใหมใหหมด เพ่ือลด แหลง สะสมโรค เมื่อพบอาการบนใบควรพนดว ยสารปอ งกนั และกาํ จดั โรคพืช ไดแก เมตาแลกซลิ ผสมแมนโคเซบ หรือไซบ็อกซามิลผสมแมนโคเซบ หรือ ออกซาไดซิลผสมแมนโคเซบ หรือโพรพเิ นบผสมไซมอกซาม็อกซามลิ เปน ตน 4) โรคราแปง สาเหตุ : เกดิ จากเช้อื รา ลักษณะอาการ : พบในผักทั่วไป จะเห็นเปนกลุมราสีขาว หรอื เทาบนใบ พบทใ่ี ตใ บในพรกิ จะดดู นํ้าเล้ยี งจากใบทําให ใบหงิกงอ ใบเปลี่ยนเปนสีเหลืองและนํ้าตาลระบาดงาย ในชวงอากาศแหงหรือหนาว อาการของโรค การแพรระบาด : ลอยไปกับลม ติดไปกับแมลง เคร่ืองมือ เส้ือผา เคร่ืองนุงหมและ ส่ิงที่เคลื่อนไหวทกุ ชนิด การปอ งกนั และกาํ จดั : หลังเกบ็ เกี่ยวแลวใหท าํ ลายเศษซากพืชทเี่ คยเปน โรคหรือไถกลบเสียใหห มด ทําลายวัชพืช ในบริเวณใกลเคียงหรือแปลงปลูกอยาใหมีหลงเหลืออยู เพ่ือลด แหลงสะสมโรค ปลูกพชื หมนุ เวยี นสลบั 2 – 3 ป ใชส ารเคมฉี ดี พน เชน กาํ มะถนั ผง ตามทรี่ าชการแนะนาํ การปองกนั กําจัดโรผคลแิตลแะแลมะบลรงิโศภตั ครผมู ักนั ปสลาํ อปดะหภลยั ัง 13

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง บทที่ 4 การเก็บเกยี่ วและการจัดการหลงั การเก็บเกย่ี ว เมอ่ื พชื ผกั มกี ารเจรญิ เตบิ โตตามระยะเวลาทก่ี าํ หนดแลว เกษตรกรจาํ เปน ตอ งเกบ็ เกย่ี ว ในระยะท่ีเหมาะสม ซึ่งการเก็บเก่ียวผลผลิต จําเปนตองใชความรู เทคนิคและวิธีการ เกบ็ เกีย่ วทเี่ หมาะสมกบั ชนิดพืชผัก 4.1 เทคนิคและวธิ กี ารเก็บเก่ียว 1) การเกบ็ เกยี่ วดว ยมอื ตอ งใชแ รงงานจาํ นวนมาก เหมาะกบั การเกบ็ เกยี่ วทตี่ อ งการ เกบ็ ผลผลติ ท่ีมคี ุณภาพสงู เพอื่ สงตลาดสด 2) การเก็บเก่ียวดวยเครื่องจักร จะใชเคร่ืองจักรเปนตัวทํางานเก่ียวกับการ เก็บเกี่ยวทัง้ หมด วิธีน้เี หมาะสมกับการผลิตพืชผกั เพื่อสง โรงงานมากกวา สง ตลาดสด 3) การเก็บเกี่ยวดวยเครื่องจักรผสมแรงงานคน เปนการใชเครื่องจักรซึ่งอาจ เปนเพียงแทนสายพานลําเลียงผลผลิตท่ีถูกตัดหรือเก็บดวยมือมากอน สงมายังจุดกลาง ทม่ี คี นงานคอยคัดเลอื กและบรรจุ 14 กรมสง เสรมิ การเกษตร

4.2 ดัชนีการเก็บเก่ยี ว ความสุกแกของผลผลิตเปนปจจัยหลักในการเก็บเก่ียว มีผลตอคุณภาพของ ผลผลิต การเก็บเก่ียวพืชผักท่ีลาชากวาอายุเก็บเก่ียวจะทําใหพืชผักมีอายุการเก็บ รักษาส้ัน ไมเหมาะสมตอการขนสง หรือหากเก็บเก่ียวกอนอายุการเก็บเกี่ยวจะมีผลทําให พืชผักคุณภาพไมดี ในพืชผักแตละชนิดมีดัชนีการเก็บเก่ียวท่ีแตกตางกันและในพืชเดียวกัน อาจตองใชการสังเกตลักษณะของผลผลิตเปนดัชนีเก็บเก่ียวรวมดวย เชน การเคาะฟงเสียง การดูขั้วผล เปน ตน การปองกนั กําจัดโรผคลแิตลแะแลมะบลรงิโศภตั ครผูมักนั ปสลําอปดะหภลยั งั 15

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง ดชั นกี ารเก็บเก่ียวพืชผกั บางชนิด ตารางท่ี 2 ดชั นกี ารเกบ็ เกย่ี วพชื ผักบางชนดิ ชนิดพชื ผัก ดชั นีการเก็บเก่ยี ว กระเจี๊ยบเขยี ว ระยะเวลา ดัชนีอื่นๆ 3-5 วันหลังดอกบาน กลีบเล้ยี งยงั ไมรว ง ฝกตรง ความยาวฝก 7-10 ซม. รปู ทรง 5 เหลย่ี ม สีเขียวเขมสมาํ่ เสมอ กระเทยี ม 70-140 วันหลังปลูก ใบเร่มิ แหง คอนิม่ กะหลาํ่ ดอก 50-125 วันหลังปลูก ดอกแนน มขี าวนวล ไมเ หลือง กะหลา่ํ ปลี 60-120 วนั หลังปลูก หวั แนน ขาวโพดฝก ออ น 42-60 วันหลงั ปลูก ความยาวของไหม ความแนนของฝก 90-125 วนั หลงั ปลกู ใบมีสเี ขียวสด ขนึ้ ฉาย 45-55 วนั หลงั ปลูก ใบออกนวล คะนา 85-110 วันหลังปลูก ผวิ บริเวณข้ัวผลเกิดรอยแตก แคนตาลูป 50-95 วันหลงั ปลูก เสน ผา ศนู ยก ลางไมนอยกวา ¾ นิว้ และขนาดไมใหญเ กินไป แครอท 30-40 วนั หลังปลูก ผลยงั มหี นาม ผิวผลยงั ไมเปลี่ยนเปน สีเหลือง แตงกวา 22-30 วันหลงั ผสมเกสร มือเกาะแหง เคาะฟงเสียง แตงโม 40-60 วันหลังปลกู ปลายผลยงั ไมพ อง บวบเหลี่ยม 25-30 วันหลังปลกู สงู ประมาณ 30 ซม. ผกั บุง จีน 60-90 วันหลังปลกู สีเขยี วเขม เริม่ ออกสี พริกขี้หนู 70-95 วันหลังปลกู สีเขยี วเขม เริ่มออกสี พรกิ ชีฟ้ า 60-90 วนั หลังปลกู เมล็ดหลบคมมดี เม่ือผา เร่มิ เปลย่ี นสที ี่กนผล มะเขอื เทศ ความสูงของหนอ ปลายหนอตอ งไมแ ยกจากกัน หนอไมฝรั่ง 20-25 ซม. หอมแดง หอมแบง 70-110 วนั หลังปลูก ใบเร่มิ แหง คอนิม่ 45-60 วันหลังปลูก ใบสีเขยี วตงั้ ตรง 16 กรมสง เสรมิ การเกษตร

4.3 การปฏิบัติหลงั การเกบ็ เกย่ี ว เมื่อผลผลิตพืชผักเก็บเกี่ยวแลว ควรรีบนําเขาท่ีรม อยาใหตากแดด แลวรีบระบาย ความรอนภายในผลผลิต โดยการแผออก อยาวางผลผลิตทับซอนกัน ผักท่ีเก็บเกี่ยว จะถูกขนยา ยไปยงั จุดคัดแยก เพอื่ ทําการลา ง ตัดแตง คัดเกรด และบรรจตุ อไป โดยมีข้ันตอน ในการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเกยี่ ว ดังนี้ 1) การลาง ผักกินใบ กินหัวและกินรากบางชนิด ควรลางผลผลิต กอนนําสง ตลาด เพื่อลางเอาสว นของดนิ ทต่ี ดิ มากบั รากและใบออก น้ําที่ใชควรสะอาด นํ้าไหล หรือควรจะเปล่ียนนํ้าบอย ๆ เพื่อ ปองกันการติดเช้ือจุลินทรียทําลายคุณภาพของผัก อยางไรก็ตาม ผักบางชนิดไมจําเปนตองลาง เชน ผักตระกูลกะหลํ่า และ พวกผักสลัด 2) การตดั แตง การตดั แตง อาจเรม่ิ ตงั้ แตก อ นการลา งซง่ึ มกั ตดั แตง แยก สวนท่ีไมดี หรือเนาเสียออก จะแยกสวนที่ไมตองการออกใหมาก ที่สุด การคัดสวนที่ไมดีทิ้งยังชวยลดคาใชจายในการขนสงและ การขนยาย ลดการเสียหายเพ่ิมข้ึนจากสวนที่เนาเสียเดิมกอน การขนสง โดยเฉพาะการขนสงทางไกล 3) การคดั เกรด ผักทุกชนิดควรไดรับการคัดขนาดและคุณภาพทันที ขณะเก็บเก่ียว หรือหลังจากเก็บเกี่ยว ผักที่อยูในเกรดดี ยอมได ราคาสูงกวาผกั ที่เกรดรองลงมา 4) การบรรจุ ภาชนะบรรจุผกั ตอ งไมท ําใหผักเสยี หาย โดยทั่วไปนยิ ม ใชถุงพลาสติกในการบรรจุขนยายผัก หรืออาจจะใชเขง ตะกรา เพราะสะดวก หางาย สามารถบรรจไุ ดใ นปริมาณมาก 5) การขนยา ยและการเกบ็ รกั ษา ผลผลิตพืชผักสด ควรขนยายและเก็บรักษาดวยความ เหมาะสม และถูกตอง เพื่อรักษาคุณภาพไวใหยาวนานที่สุด ควร ขนยายดวยความระมดั ระวัง ใหเกิดรอยชาํ้ หรอื ฉีกขาดนอยที่สุด การปอ งกันกาํ จัดโรผคลแิตลแะแลมะบลรงิโศภัตครผูมกั นั ปสลาํ อปดะหภลยั งั 17

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง บทท่ี 5 การตลาดพชื ผัก การผลิตพืชผักในปจจุบันมิใชเปนการผลิตเพ่ือยังชีพ แตเปนการผลิตเพื่อการคา และอตุ สาหกรรม ดงั นน้ั เกษตรกรผผู ลติ พชื ผกั จาํ เปน ตอ งมคี วามรดู า นการผลติ การจาํ หนา ย ความตองการของตลาด และควรมีการวางแผนการผลิตพืชผักโดยมีขอมูลดานการตลาด อยา งเพยี งพอ โดยใชห ลกั การ “การตลาดนาํ การผลติ ” ซง่ึ เปน แนวคดิ ดา นการบรหิ ารจดั การ สินคาเกษตร ใหปริมาณการผลิตและความตองการสินคาเกษตรเกิดความสมดุล เกษตรกร สามารถดําเนินการ ดงั นี้ 5.1 สํารวจตลาด • สํารวจขอ มลู ตลาด ควรสํารวจตลาด ไมว า จะเปน ตลาดทองถิน่ ตลาดคาสง (ตลาดไท ตลาดส่ีมุมเมือง แม็คโคร เปนตน) ซูเปอรมารเก็ต (เทสโก โลตัส คารฟู บก๊ิ ซี ท็อปส เปนตน) เพ่อื ศึกษาดูวาแตละชองทางการตลาดมีความตองการพืชผักชนิดใด และ แตละชวงเวลาพืชผักชนิดใดมีราคาสูง มาตรฐานท่ีตลาดตองการ การบรรจุในบรรจุภัณฑ ท่ีมีตราสินคาที่สามารถตรวจสอบยอนกลับได ระยะเวลาและปริมาณในการสงผลผลิต รวมถงึ ควรคาํ นึงระยะทางในกระบวนการขนสง พชื ผักอกี ดวย • สืบคน ขอมูล ศึกษาใหรอบดานในชนิดพืชน้ัน ๆ เชน สภาพดิน แหลงน้ํา ภูมิอากาศท่ีเหมาะกับพืชน้ัน ๆ โรค แมลง ราคาและแหลงจําหนายปจจัยการผลิต ขอมูลตนทุนการผลิต เพ่ือสรางความชํานาญใหแกตนเอง สําหรับตัดสินใจในการผลิต ไดตนทุนการผลิตเหมาะสม ผลผลิตมีคุณภาพดี สอดคลองกับตลาด รวมถึงประยุกต ใชใ หเ หมาะสมกับตวั เกษตรกรผผู ลติ ไดมากทสี่ ดุ 5.2 เลอื กเปาหมาย • สินคา เกษตรกรกําหนดชนิดพืชผักที่จะผลิตเพ่ือจําหนาย โดยคํานึงถึง ความตอ งการของตลาด ความเหมาะสมของสภาพแวดลอม และความถนัดของตวั เกษตรกร ทจ่ี ะปลูกพืชผักใหไดตามเงื่อนไขของตลาดมากที่สดุ 18 กรมสง เสรมิ การเกษตร

• ผูรับซื้อ ควรเลือกตลาดที่มีการตกลงกันชัดเจน ทั้งดานปริมาณ คุณภาพ ราคา สถานที่เหมาะสม เชน ตลาดคาสง ตลาดซุปเปอรมารเก็ต ตลาดออนไลน โรงพยาบาล โรงแรม เปนตน 5.3 วางแผนผลิต เม่ือเกษตรกรตกลงกับผูซ้ือเรียบรอย ก็จะไดเปาหมายการผลิตท้ังคุณภาพ และปรมิ าณ ชวงเวลา โดยวางแผนบรหิ ารจดั การ ดงั นี้ • คุณภาพ การควบคุมคุณภาพใหตรงตามความตองการเปนสิ่งสําคัญ ไดแก ตรงตามพนั ธุ ขนาด สี นํา้ หนัก มาตรฐานรับรอง เปน ตน • ปรมิ าณ ปรมิ าณผลผลติ ตามทค่ี คู า ตอ งการ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ตลาดคา ปลกี ที่มีการตกลงจํานวนชนิด ปริมาณผลผลิต และราคาซ้ือขายกันลวงหนาอาจมีการ สรา งเครือขายกบั เกษตรกรกลมุ อน่ื เพอ่ื รวบรวมผลผลติ ใหค ูค า ไดตามขอ ตกลง • ชวงเวลา ชวงเวลาการผลิตท่ีตองผลิต และจัดสงใหสอดคลองกับขอตกลง กบั ตลาด 5.4 รกั ษาตลาด • ความตอเนื่อง สม่ําเสมอ เกษตรกรตองผลิตตามแผนเพ่ือใหมีผลผลิต อยางตอเน่ือง สรางความเชื่อมั่นใหแกภาคการตลาด และสรางความนาเช่ือถือใหแกตนเอง เชน ปลกู พืชผักแบบเหลอ่ื มเวลา สมาชิกแตล ะรายตอ งปลูกตามชว งเวลาทก่ี าํ หนด เปน ตน • ความซื่อสัตย ตองจัดสง สนิ คาตามคุณภาพ ปรมิ าณ ราคารบั ซื้อ ทีไ่ ดต กลง ไวแลวเปนส่ิงสําคัญที่สรางความเชื่อมั่นใหแกคูคา เชน ไมนําผลผลิตจําหนายแกผูซื้อ รายอน่ื ท่ใี หราคาสงู กวา ไมป ลอมปนสนิ คาทไ่ี มไดมาตรฐาน เปน ตน นอกจากน้ัน การสรางชองทางการตลาดเพ่ิมดวยการเพ่ิมคุณคาของสินคา เปนสิ่งสําคัญ เชน การสรางอัตลักษณของสินคา การแปรรูปเพ่ิมมูลคา การสรางเร่ืองเลา การสรา งตราสินคา รวมถึงมาตรฐานสินคาเกษตร เปน ตน การปอ งกนั กําจดั โรผคลแิตลแะแลมะบลรงิโศภัตครผมู กั นั ปสลําอปดะหภลัยัง 19

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง ภาคผนวก • พืชผกั ทีเ่ กษตรกรนิยมปลกู ผักบุงจีน ผักบุงจนี เปน พืชผกั ทีบ่ ริโภคภายในครัวเรือน เปนประจาํ และเปน ผักทสี่ ามารถปลกู ไดงา ย สามารถ ปลกู ไดตลอดป การปลกู ระยะปลูก นิยมใชหวานเมล็ดลงบนแปลงปลูก โดยใชเ มลด็ พนั ธุ 13 -15 กิโลกรัมตอไร การเตรยี มดิน ไถดินใหลกึ 30–40 เซนตเิ มตร ตากดินไว 1-2 อาทิตย แลวยอยดินใหละเอียด หวานปูนขาวในอัตรา 100-300 กิโลกรัมตอไร ใสปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา 2,000 กิโลกรัมตอไร ปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร คลุกเคลาใหท่ัวแลวยกแปลงใหสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กวาง 120 เซนติเมตร การเตรียมเมล็ดพันธุ ถาตองการใหเมล็ดพันธุผักบุงจีนงอกเร็วขึ้น ควรนําไป แชนา้ํ นาน 4-6 ช่วั โมง กอ นนําเมลด็ หวานลงแปลงปลูก วิธีปลูก รดนํ้าแปลงปลูกใหชุม แลวนําเมล็ดผักบุงจีนหวานใหกระจายทั่วท้ังแปลง การดูแลรักษา การใหนํ้า ผักบุงจีนเปนพืชท่ีชอบดินชุมชื้น แตไมขังแฉะ รดนํ้าใหสมํ่าเสมอ วันละ 1-2 คร้ัง เวนชวงฝนตก อยาใหแปลงปลูกผักบุงจีนขาดน้ํา เพราะจะทําใหชะงัก การเจรญิ เตบิ โต ตนแขง็ กระดาง เหนียว ไมนา รับประทาน การใสปุย ใสปุยสูตร 46-0-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร แบง ใส 2 คร้งั หลังหวานเมล็ด 7 วนั และ 15 วนั การเกบ็ เกีย่ ว หลังจากหวานเมล็ดผักบุงจีนลงแปลง 20-25 วัน ถอนตนผักบุงจีนออกจาก แปลงปลกู ท้ังตนและราก หลังจากนนั้ ลา งรากใหส ะอาด เก็บใบและแขนงท่ีโคนตน ออก 20 กรมสงเสรมิ การเกษตร

คะนา คะนา เปนผักท่ีบริโภคกันทุกครัวเรือน ตลาดมีความตอ งการสูงมากในแตละป การปลูก ระยะปลูก นิยมใชหวานเมล็ดโดยหวาน ใหสม่ําเสมอ ถอนแยกใหตนหางกันประมาณ 20-30 เซนติเมตร อัตรา 1-1.5 กิโลกรัมตอ ไร การเตรียมดิน ไถดินใหลกึ 20–30 เซนตเิ มตร ตากดินไว 7-10 วัน แลวยอยดินใหละเอียด ใสปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา 2,000 กิโลกรัมตอไร และปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร คลุกเคลาใหเขากันแลวปรับดินใหเรียบยกแปลง ใหสงู ประมาณ 20 เซนตเิ มตร กวา ง 1.2 เมตร วิธีปลูก คลุมฟางรดน้ําใหชุม หวานเมล็ดคะนาใหท่ัวแปลง และสมํ่าเสมอ โดย 1 ไร ใชเมล็ดพันธุ 2 กิโลกรัม รดน้ําตามใหชุม เม่ือตนกลาอายุได 15-20 วัน จงึ ถอนแยกใหม ีระยะหา งตามกําหนด การดแู ลรักษา การใหน้ํา รดนํ้าเชา-เย็น คะนาเปนพืชท่ีตองการนํ้าอยางเพียงพอและสมํ่าเสมอวัน เพราะตนคะนามกี ารเจริญเตบิ โตอยางรวดเร็ว การใสปุย ใสปุยสูตร 46-0-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร เม่ืออายุ 7 วนั ใสปุย สูตร 15-15-15 ในอัตรา 30-40 กิโลกรมั ตอไร ทุก 10-15 วันและ รดนํ้าตามทันที การเกบ็ เก่ยี ว เก็บเกี่ยวเม่ืออายุ 40-45 วัน หลังจากปลูกเปนคะนาท่ีโตเต็มท่ี สวนคะนาออน หรือที่เรียกวา ยอดคะนา จะเกบ็ เกย่ี วไดใ นชวงอายุประมาณ 30 วัน การปองกนั กําจัดโรผคลแติลแะแลมะบลรงิโศภตั ครผูมกั ันปสลาํ อปดะหภลัยัง 21

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง กะเพรา/โหระพา กะเพรา/โหระพา เปนพืชที่ใชใบสดประกอบ อาหารเพื่อดับกลิ่นคาว และชวยใหอาหารมีกล่ินหอม นอกจากนั้นยังมีสรรพคุณเปนสมุนไพร เปนพืช ที่นิยมปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน ประเทศไทย มาเลเซีย การปลกู ระยะปลูก ระหวางตน 40 เซนติเมตร ระหวางแถว 40 เซนติเมตร การเตรยี มดนิ ไถดนิ ใหล กึ 20–30 เซนติเมตร ตากดินไว 1-2 อาทิตย ยอยดินใหละเอียด หวาน ปูนขาวในอัตรา 100-300 กิโลกรัมตอไร ใสปยุ คอก หรือปุยหมัก อัตรา 2,000 กิโลกรัมตอไร ปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร คลกุ เคลา ใหทั่วแลวยกแปลงใหส ูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร กวาง 120 เซนติเมตร วธิ ปี ลกู กะเพรา/โหระพา สามารถปลกู ไดโ ดยใชก ง่ิ ชาํ หรอื ใชเ มลด็ เพาะเปน ตน กลา แลวยายปลูก ตามระยะหางที่กําหนด รดน้ําตามใหชุม เม่ือตนกลาอายุได 15-20 วัน จึงถอนแยกใหมรี ะยะหางตามกําหนด การดแู ลรักษา การใหน าํ้ ควรใหน ํ้าเพยี งพอกับความตองการของตน พชื การใสปุย ใสปุยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 30-50 กิโลกรัมตอไร หลังเก็บเกี่ยว ทุกครัง้ การเก็บเกย่ี ว ใชมีดคม ๆ เก็บเก่ียวโดยตัดแตงกิ่งกานท่ีแก เจริญเติบโตเต็มที่แลว ซ่ึงในไมชา จะแตกกิ่งตนออกมาเชนเดิม (อายุเก็บเก่ียว 40-45 วัน) สามารถเก็บเกี่ยวไดหลายครั้ง ในระยะทีไ่ มไ ดเกบ็ เกี่ยวผลผลิตควรมกี ารตัดดอกทิ้งเพือ่ เรงการเจริญเตบิ โตทางใบ 22 กรมสง เสริมการเกษตร

มะเขือเปราะ มะเขอื เปราะ เปน ผกั ทป่ี ลกู งา ยเจรญิ เตบิ โตเรว็ ใหผลตอบแทนเร็ว และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได นานตอเน่อื งถา มกี ารดแู ลรักษาที่ดี การปลกู ระยะปลกู ระยะปลกู ระหวา งตน 80 เซนตเิ มตร ระหวางแถว 100 เซนติเมตร การเตรียมดิน ไถดนิ ใหลกึ 30–40 เซนตเิ มตร ตากดินไว 7-10 วัน ยอยดินใหล ะเอยี ด หวา นปนู ขาว ในอัตรา 100-200 กิโลกรัมตอไร ใสปุยหมักหรือ ปุยคอก อัตรา 2,000 กโิ ลกรมั ตอไร และใสปุยสตู ร 15-15-15 อัตรา 30 กโิ ลกรมั ตอไร คลุกเคลาใหท ั่ว แลว ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กวาง 120 เซนติเมตร การเตรียมกลา ใสดินผสมในถาดเพาะกลา (ดินทีร่ อนแลว 3 สว น ปุยคอก 1 สวน ทรายหรือแกลบ 1 สวน) รดนาํ้ และหยอดเมลด็ ลงในถาดหลมุ ๆละ 1 เมลด็ รดน้าํ เชา -เย็น วิธีปลูก ขุดหลุมปลูกลึกประมาณ 10-20 เซนติเมตร นํากลามะเขือเปราะท่ีมี อายุ 15 วนั หรอื มใี บจริง 3-4 ใบ มาปลูกตามหลุมท่ีกําหนด กลบดนิ และรดนํา้ การดแู ลรกั ษา การใหน้ํา ตองใหสมํ่าเสมอ หลังยายกลาทุกเชา-เย็น เมื่อกลาต้ังตัวดีแลวจึง รดนา้ํ เพียงวนั ละ 1 ครง้ั การใสปุย หลังยายปลูก 7-10 วัน ใสปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร เพอ่ื เรงการเจรญิ เติบโต ใสปุย สตู ร 13-13-21 หรือ 8-24-24 อตั รา 50-100 กโิ ลกรมั ตอไร โดยทยอยแบง ใสในชวงออกดอกติดผล ทุก 20 วัน การเกบ็ เกีย่ ว อายุการเก็บเกี่ยว 65-70 วัน หรือหลังดอกบาน 7-10 วัน จะสามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตไดโดยเก็บผลที่มีขนาดพอเหมาะไมออนหรือแกเกินไป โดยการเก็บเกี่ยวใหขั้ว มะเขือเปราะติดมากับผลดวย การปองกันกาํ จดั โรผคลแติลแะแลมะบลรงโิศภตั ครผูมักนั ปสลําอปดะหภลยั ัง 23

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง พรกิ ขี้หนู/พรกิ มัน/พริกหนุม พริก เปนผักท่ีใชสวนของผลในการบริโภค คนไทยนยิ มรบั ประทานพริกทุกครอบครวั พรกิ ทปี่ ลกู มีหลายชนิด ท้ังพริกขี้หนูผลเล็ก เชน พริกข้ีหนูสวน พริกข้ีหนูใหญ เชน พริกจินดา พริกผลใหญ เชน พริกชี้ฟา พรกิ มัน พรกิ หนุม และพรกิ เหลือง เปน ตน การปลูก ระยะปลูก ระยะปลูกที่เหมาะสมสําหรับพริก ทม่ี ที รงพุมใหญควรใชระยะระหวางตน 80 เซนตเิ มตร ระยะหา งระหวางแถว 100 เซนตเิ มตร การเตรียมดิน การเตรียมแปลงเพาะ ทําเปน แปลงขุดดินใหลึกประมาณ 15–20 เซนติเมตร ตากดินไวใ หแ หง 5-7 วัน โรยปยุ คอกหรอื ปยุ หมกั ใหม าก คลกุ เคลา ใหท วั่ ยอ ยดินใหล ะเอียด การเตรียมแปลงปลูก ขุดดินใหลึกประมาณ 25-30 เซนติเมตร ตากดินใหแหง 7-10 วัน ใสปุยคอกหรือปุยหมักท่ีสลายตัวดี อัตรา 2-3 ตันตอไร ถาดินมีความเปน กรดสูงควรใชปูนขาวชวย ในอัตรา 200-300 กิโลกรัมตอไร เพ่ือชวยลดความเปนกรด ของดิน จากนั้นก็ทําการคลุกเคลา และยอยดินใหมีขนาดเล็กลง ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กวา ง 1.20 เมตร การเตรียมกลา หลังเตรียมแปลงเพาะกลาแลว ใหหวานเมล็ดใหกระจายท่ัวแปลง หรืออาจทําเปนแถวหางกันแถวละ 15 เซนติเมตร ทํารองลึกประมาณ 1 เซนติเมตร โรยเมล็ดลงในรองแลวหวานกลบดวยปุยคอกหรือปุยหมัก หรือดินละเอียด หนาประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร รดนํ้าใหชุมและคลุมดวยฟางแหง หรือหญาแหงบาง ๆ หลังจาก ตนกลางอกได 15-20 วัน ใหถอนแยกตนที่ไมสมบูรณ หรือตนที่ออนแอออก พรอมจัด ระยะกลา ใหห า งกันประมาณ 10 เซนติเมตร ยายกลา ปลูกเมือ่ อายุ 30-40 วัน วิธีปลูก หลังจากเตรียมแปลงปลูก ขุดหลุมปลูกตามระยะท่ีกําหนด และตนกลา ไดขนาดดีแลวก็ทําการปลูกได ตนกลาท่ียายปลูกควรเปนตนกลาที่แข็งแรงมีอายุประมาณ 24 กรมสง เสริมการเกษตร

30-40 วนั สงู ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร การถอนกลา ควรมีดินติดรากมาดวย และทําอยางระมัดระวัง ตนกลาท่ียายมาตองรีบปลูกทันที การปลูกควรกด ดินโคนตนพริกใหแนน และระวังอยาใหรากลอยจะ ทําใหตนพริกโคนลมงาย เพราะพริกมีรากแผกระจาย อยูใกลผิวดินหลังจากปลูก แลวรดน้ําใหชุม และ ควรทําเพิงบังแดดอยาใหตนกลาโดนแดดจัดในระยะ เร่ิมยา ยปลกู ใหม ๆ เพราะตนกลาจะโตชา หรือเฉาตาย การดแู ลรักษา การให้น้ํา ควรใหนํ้าอยางเพียงพอสม่ําเสมอ อยาใหแฉะเกินไป ควรใหทุกวันหลังปลูกจนตนกลา ต้ังตัวไดประมาณ 5-6 อาทิตย หลังจากนั้นจึง คอ ยลดปรมิ าณนาํ้ ลง ซ่งึ อาจจะรด 1 วัน หยดุ 2 วนั ทั้งนี้ตองดูสภาพความช้ืนของดินดวย อยาใหแฉะ เกินไป เพราะจะทาํ ใหพริกชะงกั การเจริญเติบโต การทําคาง สําหรับพริกมัน/พริกหนุม การทําคางและการตัดแตงก่ิง เพื่อปองกัน ไมใหตนลม จะทําใหไดผลผลิตที่สูง การตัดแตงกิ่ง ควรเด็ดก่ิงแขนงออกทิ้งตั้งแต ใบขอแรก จนถึงใบที่อยูใตชอดอกใหหมด เพราะถาไมตัดออกจะทําใหทรงพุมหนาทึบ สงผลใหผ ลผลติ ต่ํา การใสปุย ปุยที่แนะนํา คือ ปุยสูตร 15-15-15 หรือ 14-14-21 ใสอัตรา 100 กิโลกรัมตอไร ทั้งน้ีขึ้นอยูกับความอุดมสมบูรณของดิน โดยแบงใสเปน 2 คร้ัง ครั้งแรกปริมาณคร่ึงหน่ึงใสรองพ้ืนพรวนกลบลงดิน ครั้งที่สองอีกคร่ึงหน่ึงเมื่ออายุพริกได 30 วัน หลังยา ยปลกู แบบโรยขา งตน แลว พรวนกลบ การเก็บเกย่ี ว พริกเปนพืชที่มีอายุยืนและปลูกไดผลดีตลอดป อายุจากวันงอกจนถึงเก็บเกี่ยว ผลผลิตสดคร้ังแรกเม่ืออายุประมาณ 65-90 วัน ผลผลิตในระยะแรกจะนอยแตจะ เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ และลดลงอีกคร้ังเม่ือตนเริ่มการการเก็บเกี่ยว ควรเก็บทุก ๆ 7 วัน ใชวิธี เด็ดทีละผล โดยใชเล็บจิกตรงรอยกานผลตอกับกิ่ง ซ่ึงพริกจะไดผลผลิตนาน 6 เดือน หรืออาจเปนปจนกวาตน จะเหีย่ ว การปอ งกนั กําจดั โรผคลแิตลแะแลมะบลรงโิศภตั ครผูมกั ันปสลาํ อปดะหภลัยงั 25

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง • เมนูอาหารจากพชื ผัก ยาํ หมูยา งมะเขือเปราะ สว นผสม 300 กรมั มะเขือเปราะ 10 ลูก เนือ้ หมูสนั นอก 20 – 25 เม็ด นํ้าปลา 3 ชอนโตะ พริกขี้หนูสวน ชอ นโตะ นํ้าตาลทราย 1 ½½ ชอนโตะ (สาํ หรบั ผสมนาํ้ ยาํ ) นาํ้ มะนาว 3 ตน ผักชี 1 ตน ตน หอม 2 ชอ นโตะ น้ําตาลทราย 1 ชอนโตะ (สาํ หรบั หมกั เนอ้ื หม)ู ซอี ้วิ ขาว 2 ชอนชา เกลอื ปน 1/4 วธิ ที ํา 1. ลางเน้ือหมูสันนอก ใชสอมจ้ิมใหทั่ว หมักดวยซีอิ้วขาว 2 ชอนโตะ น้ําตาลทราย 1 ชอ นโตะ เกลอื ปน 1/4 ชอนชา คลุกเคลาใหเ ขากัน หมักไว 1 ชวั่ โมง 2. มะเขอื เปราะลา งใหส ะอาด นาํ มาหน่ั เปนช้ินบาง แชนํ้าเกลอื (นาํ้ 1 ลติ ร เกลอื ปน 2 ชอ นชา) ท้งิ ไวสักพกั 3. ตนหอม ผักชี พริกข้หี นู ลางใหสะอาด 4. ตน หอม ผกั ชี หนั่ เปน ทอ นสั้น ๆ พริกข้ีหนทู ุบแลวสับใหเ ลก็ ๆ พักไว 5. ผสมน้ํายํา โดยใสน้ํามะนาว นํ้าตาลทราย นํ้าปลา คนเขาดวยกัน ใสพริกขี้หนู ท่ีสับไว ชิมรส พักไว 6. นาํ หมูท่หี มักไวมายางพอสกุ (อยา ใหส ุกมาก) หัน่ เปน ชน้ิ ขนาดพอคาํ 7. นาํ มะเขือเปราะขน้ึ พักไวใ หสะเดด็ นํ้า 8. นําหมูยางที่ห่นั ไว มะเขือเปราะ ผสมลงในอาง ใสน้าํ ยําคลกุ เคลาใหเขากัน 9. ตกั ใสจ าน โรยหนาดว ยตน หอม ผกั ชี หมายเหตุ น้าํ ยําสามารถปรับรสชาตไิ ดต ามความชอบ 26 กรมสงเสรมิ การเกษตร

หวั ผกั กาดดอง สวนผสม หัวผักกาด 1 หัว น้าํ สมสายชู 1 ถวยตวง นาํ้ ตาลทราย 1 ถวยตวง เกลือปน 1 ชอนชา วิธที าํ 1. ลา งภาชนะสําหรบั บรรจุ (ขวด) ใหส ะอาด ลวกดว ยนา้ํ เดือด ผึ่งใหแ หง พกั ไว 2. นําหัวผักกาดมาปอกเปลือกลางใหสะอาด นํามาห่ันเปนช้ินสี่เหล่ียมลูกเตา แชลง ในน้าํ สะอาด แชจ นหวั ผกั กาดมีความตึง กรอบ และอมิ่ น้าํ นําข้ึนมาพกั บนตะแกรง ใหส ะเด็ดนาํ้ 3. โรยเกลือปน 1/2 ชอนชา เคลาใหเขากัน วางไวบนตะแกรง ประมาณ 10 นาที เพ่ือใหห วั ผักกาดคลายความเผด็ ออกมา 4. นํามาลางนํ้าสะอาดอีกคร้ัง แลวทําการเคลาเกลือปน 1/2 ชอนชา อีกคร้ัง (จะสังเกตไดวาหัวผักกาดจะนิ่มข้ึน) นํามาลางนํ้าเปลาอีกหลาย ๆ ครั้ง จนมั่นใจ วาหายเคม็ นาํ ข้ึนมาพักไวใหส ะเดด็ น้ํา 5. เตรียมนํ้าสําหรับดอง โดยใสนํ้าสมสายชู น้ําตาลทราย ต้ังไฟใหเดือด เค่ียวจน เรมิ่ เหนียว ยกลงตงั้ ไวใ หเ ยน็ 6. บรรจุหัวผักกาดท่ีสะเด็ดนํ้าแลวลงในขวดท่ีเตรียมไว เทน้ําดอง ใสลงในภาชนะ ท่ีใสหัวผักกาดไวใหทวม ปดฝาใหสนิทเก็บใสตูเย็นไว 1 คืน รับประทานได ถา รับประทานไมห มดใหเ กบ็ ใสตูเ ยน็ ไว หมายเหตุ น้าํ ดอง สามารถปรุงรสไดต ามความชอบและสามารถใชดองผักอ่นื ๆ ได เชน กะหลา่ํ ดอก แครอท เปนตน การปองกนั กําจดั โรผคลแติลแะแลมะบลรงโิศภตั ครผูมกั ันปสลําอปดะหภลัยงั 27

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง นํา้ พริกหนุม สวนผสม พริกหนมุ 500 กรัม กระเทียม 100 กรัม หอมแดง 100 กรัม เกลอื ปน 40 กรัม วธิ ที ํา 1. ปอกเปลอื กกระเทยี ม หอมแดง เด็ดขัว้ พรกิ หนมุ ออก ลา งใหส ะอาด 2. นําไปยางพอสุก (ใชคว่ั ในกระทะก็ได) 3. โขลกพรกิ หนุม กระเทยี ม หอมแดง พอละเอยี ด ปรุงรสดว ยเกลอื หมายเหตุ 1.พรกิ หนมุ ทย่ี า งไฟแลว ปอกเปลอื กพรกิ หนมุ ออก หรอื ไมป อกกไ็ ดแ ลว แตค วามชอบ 2.สามารถปรงุ รสไดต ามความตองการ น้ําพรกิ ตะไครใ้ สก่ ุ้งแหง้ สว นผสม 150 กรัม กระเทียม 100 กรมั ตะไครหน่ั ฝอย 100 กรัม นา้ํ ตาลทราย 60 กรมั กุง แหงปน 25 กรัม เกลือปน 1/2 ชอนโตะ พรกิ ปน 100 กรมั น้ํามะขามเปย ก 3 ชอ นโตะ หอมแดง วธิ ที าํ 1. ตะไครหน่ั ฝอย หอมแดง กระเทียม คั่วใหสกุ โขลกใหละเอียด พกั ไว (หรือบดดว ยเคร่อื ง) 2. นา้ํ มะขามเปย ก นํา้ ตาลทราย เกลือ ตั้งไฟเค่ียวใหข น พอประมาณ 3. นําสวนผสม ขอ 1 และกุง แหง ปน พรกิ ปน ใสลงไปผดั กับสว นผสมขอ 2 ใหเ ขากัน ผดั ใหห อม ยกลงตงั้ ไวใหเยน็ 4. รบั ประทานกับผกั สด หมายเหตุ สามารถเพิม่ ลด ความเผด็ และรสชาติไดตามความตองการ 28 กรมสงเสรมิ การเกษตร

ทอดมันหัวปลี สว นผสม เน้ือหมตู ดิ มันสับละเอยี ด 200 กรมั หวั ปลี (กลวยนํ้าวา) 1 หวั ไขไ ก 1 ฟอง น้าํ พริกแกงค่ัว 1 ชอ นโตะ เกลอื ปน 1/2 ชอนชา นํ้าตาลทราย 1 ชอนชา แปง สาลี 1/4 ถวยตวง นํ้ามะนาวสาํ หรับแชห วั ปลี (นา้ํ 1 ลติ ร นาํ้ มะนาว 1 ½ ½ ชอนโตะ ) นา้ํ มนั พชื สําหรบั ทอด นาํ้ จ้มิ ไก วิธที ํา 1. ลอกเปลือกหัวปลีออกใหเหลือเฉพาะสวนท่ีออน ฝานบาง ๆ ตามขวางแชใน นาํ้ มะนาวหรือนาํ้ มะขามเปย ก เพอ่ื ไมใ หห วั ปลีดาํ นําขนึ้ พักใหส ะเดด็ น้าํ 2. นาํ หัวปลไี ปคลุกเคลา กับเน้ือหมูใหเขา กัน ใสน ้าํ พริกแกงควั่ เกลือปน นา้ํ ตาลทราย ไขไก คลกุ เคลาใหเ ขากัน 3. ใสแปงสาลีคลุกเคลาใหเขากัน นําไปปนเปนกอน ทอดในนํ้ามันรอนไฟปานกลาง จนสกุ เหลอื ง ตกั ขึ้นพักไวใ หสะเด็ดนํา้ มนั 4. จัดใสจ านเสริ ฟพรอมนํ้าจ้ิมไก การปองกันกาํ จดั โรผคลแติลแะแลมะบลรงิโศภตั ครผมู กั นั ปสลาํ อปดะหภลัยงั 29

การปอง ักนกํา ัจดโรคและแมลงศัต ูรมัน ํสาปะห ัลง บรรณานุกรม อรสา ดิสถาพร. 2551. ผักสวนครัว สานสายใยรักแหง ครอบครวั . สาํ นักสงเสริมและ จดั การสนิ คาเกษตร. กรมสง เสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จํากดั . จิราภา จอมไธสงและคณะ. 2557. การผลิตพืชผักปลอดภัย. สํานักสงเสริมและ จัดการสินคา เกษตร. กรมสงเสริมการเกษตร. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณ การเกษตรแหง ประเทศไทย จํากัด. 30 กรมสงเสริมการเกษตร

การปองกนั กาํ จดั โรคและแมลงศัตรมู ันสาํ ปะหลงั

เอกสารคําแนะนาํ ที่ 3/2562 ผลติ และบริโภคผกั ปลอดภยั พมิ พค รง้ั ที่ 1 : จํานวน 5,000 เลม มนี าคม พ.ศ. 2562 พิมพท่ี : กลุมโรงพิมพ สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี จดั พมิ พ : กรมสงเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

เอกสารคาํ แนะนําที่ 3/2562 ผลติ และบริโภคผักปลอดภัย ทป่ี รกึ ษา อธิบดีกรมสง เสริมการเกษตร รองอธิบดกี รมสง เสรมิ การเกษตร นายสาํ ราญ สาราบรรณ รองอธบิ ดกี รมสง เสรมิ การเกษตร วาทร่ี อ ยตรี ดร.สมสวย ปญ ญาสทิ ธิ์ ผูอ ํานวยการสํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี นางดาเรศร กติ ติโยภาส ผอู ํานวยการสาํ นกั สง เสรมิ และจัดการสินคา เกษตร นางอญั ชลี สุวจิตตานนท ผอู าํ นวยการกองพฒั นาเกษตรกร นางมาลนิ ี ยุวนานนท นางสาวภาณี บุณยเกอ้ื กูล เรยี บเรยี ง นางปดารณี ธรรมธร ผูอํานวยการกลมุ สง เสรมิ พชื ผกั และเหด็ นายศตนนั พรรณอภัยพงศ นักวิชาการเกษตรชาํ นาญการ นางสาวจฑุ ามาศ รุง เกรยี งสทิ ธ์ิ นกั วิชาการเกษตรชาํ นาญการ นายปยณฐั วงษว สิ ทิ ธ์ิ นักวิชาการเกษตร กลุมสงเสริมพชื ผกั และเห็ด สาํ นักสง เสรมิ และจัดการสินคาเกษตร กรมสงเสรมิ การเกษตร นางขวญั จิตต เกตกุ ัน นักวชิ าการสง เสริมการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ นางสาวสุตาภา ทองสมจิต นักวชิ าการสง เสรมิ การเกษตรชาํ นาญการ นางสาวลลิดา ศริ ิเสาร นกั วิชาการสงเสรมิ การเกษตรปฏิบตั ิการ กลุม พัฒนาแมบ า นเกษตรกรและเคหกิจเกษตร กองพัฒนาเกษตรกร กรมสงเสรมิ การเกษตร บรรณาธิการ ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาสอ่ื สงเสริมการเกษตร นกั วชิ าการเผยแพรชํานาญการ นางรจุ พิ ร จารุพงศ นางสาวอําไพพงษ เกาะเทยี น กลุมพฒั นาส่อื สงเสริมการเกษตร สาํ นักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสรมิ การเกษตร ออกแบบ กลมุ โรงพิมพ สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร www.doae.go.th การปอ งกนั กาํ จัดโรคและแมลงศัตรมู นั สาํ ปะหลงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook