ข อใหม สี ตสิ มั ปชญั ญะ รเู หตกุ ารณท ม่ี นั เกดิ ขน้ึ ในปจ จบุ นั ของตน ถงึ จะเปน การสรา งกศุ ลไดถ กู ตอ ง คนที่เจริญกรรมฐานมั่นคงไมเปนคนจน รับรอง ไมจนแตม มีเงินไมขาดกระเปา คนที่จนจิตจนใจ จนสตปิ ญ ญา ไมเ จรญิ พระกรรมฐาน เงนิ ขาดกระเปา ทกุ วนั และลม ละลายไปในทส่ี ดุ ขอฝากญาตโิ ยมไวค ดิ ในวนั น้ี 1
Dhammaintrend รว่ มเผ2ยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
คำขอขมาโทษ ( ตง้ั นะโมฯ ๓ จบ ) กายะกมั มงั , วจกี มั มงั , มโนกมั มงั , อะตตี งั โทสงั , อนาคะตงั โทสงั , ปจ จปุ ปน นงั โทสงั , โยโทโส, อนั วา โทษอนั ใด, กรรมอนั ใด, ทข่ี า พเจา (ทง้ั หลาย), ไดป ระมาทพลง้ั เผลอสตไิ ป, ดว ยกายกด็ ,ี ดว ยวาจากด็ ,ี ดว ยใจกด็ ,ี ตอ หนา กด็ ,ี ลบั หลงั กด็ ,ี โดยเจตนากต็ าม, ไมเ จตนากต็ าม, ตอ พระรตั นตรยั , มารดาบดิ า, ครอู ปุ ช ฌาอาจารย, เจา กรรมนายเวร, ผมู พี ระคณุ ทกุ ทา น, ขอพระรตั นตรยั , มารดาบดิ า, ครอู ปุ ช ฌาอาจารย, เจา กรรมนายเวร, ผมู พี ระคณุ ทกุ ทา น, จงไดโ ปรดงดโทษ, และอโหสกิ รรม, ใหแ กข า พเจา (ทง้ั หลาย), ตง้ั แตบ ดั นเ้ี ปน ตน ไปดว ย...เทอญ ฯ 3
๑ ( กเิ ลส กรรม วบิ าก ) 4
มี หลายคนสงสยั เรอ่ื งการสะเดาะเคราะห นนั้ สะเดาะเคราะหไดจ รงิ หรอื ? เราก็เลยตอ งมา ตง้ั คำถามกนั วา เคราะหก รรมทว่ี า นน้ั เกดิ มาจาก อะไร? ในฐานะทีเ่ ราเปนชาวพุทธ ศาสนาพทุ ธน้นั เปนศาสนาที่มงุ เนนในเร่ืองของการกระทำ โดยเฉพาะ อยา งย่ิง เราตอ งทำความเขาใจกับส่ิงเหลานเี้ สียกอ น นน่ั ก็คือ ๑.กเิ ลส ๒.กรรม ๓.วบิ าก กเิ ลส คอื ส่ิงที่แฝงติดอยใู นใจแลวทำใหใ จ เศราหมองขนุ มวั กิเลสทช่ี อบซกุ หมักหมมอยใู นใจคนมากท่ีสดุ คอื ราคะ โลภะ โทสะ โมหะ เพราะกเิ ลสชอบซกุ หมักหมมอยูในใจของคน จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา กิเลสาสวะ หรือ อาสวกิเลส แปลวา กิเลส ท่หี มกั ดองอยูในจิต 5
๒ ( พึ่งหมอดู ทรงเจา้ ) 6
กรรม แปลวา การกระทำ หมายถึง การทำ การพดู การคิด ทป่ี ระกอบไปดว ยเจตนา คอื ความจงใจ วบิ าก คอื ผลอนั เกดิ จากกรรม(การกระทำ) ที่เราทำไวนนั่ เอง ถา เราคิดดี พดู ดี ทำดี ผลของกรรม หรอื การกระทำ กย็ อมสง ผลใหเราไดพบกับสิ่งท่ดี ี แตถ า เราคดิ ชว่ั พดู ชว่ั ทำชว่ั ผลของการกระทำกย็ อ ม สงผลใหเราไดพ บกับสง่ิ ทไ่ี มดี การทเ่ี รามเี คราะห จนทำใหเ ราเกดิ ความทกุ ข ในชวี ติ ไดนั้น สาเหตกุ ็มาจากกิเลสตณั หา ทท่ี ำใหเกิด กรรม คอื การกระทำท่ไี มด ี สง ผลใหเ ราตองไดรบั ผล คือความทุกข อันเกิดจากการกระทำที่ไมดีของเรา น่ันเอง 7
๓ ( คดิ ดี พูดดี ทำดี ) 8
แลว เราจะแกเคราะหกรรมไดอยางไร ? หลายคน เวลามีความทุกข มีเคราะห ก็หนั ไปพึ่งพระ ใหทำพิธีสะเดาะเคราะหสวดนั่นสวดนี่ อาบนำ้ มนตใ ห พง่ึ ผี พง่ึ หมอดู ทรงเจา นน่ั กเ็ ปน เพราะ วา เราไมเ ขา ใจในเรอ่ื งของ กเิ ลส กรรม และวบิ าก เพราะสงิ่ ท่ีทำใหเ รามีเคราะหม ันติดอยใู นจติ ในใจของ เรานเ่ี อง ไมไ ดอ ยบู นฟา หรอื ใตด นิ ทไ่ี หนเลย ตอ ใหเ รา ไปใหหมอดูซักกี่รอยคน ใหพระทำพิธีรดน้ำมนตให ก่รี อ ยตมุ ทรงเจาซกั ก่รี อ ยคร้ัง ก็ไมเกดิ ประสิทธผิ ล แตป ระการใด ถาเรายังที่จะคิดอยูเดิม ๆ พูดอยูเดิม ๆ ทำอยูเดิม ๆ ไมเ ปลย่ี นแปลงการกระทำ ใหเกิดผล ในทางทด่ี ที ่ถี กู ทตี่ อ งอยูอยา งนแี้ ลว หมอดู หรือ พระ องคไ หน ภตู ผปี ศ าจตนใด เจา เขา ทรงทไ่ี หนๆกช็ ว ยเหลอื อะไรเราไมได 9
๔( สำรวจภายในจิตใจ ) 10
การท่เี ราจะแกเ คราะหก รรม ใหก ับตวั เองได นน้ั เราตอ งเรม่ิ จากการชำระลา งกเิ ลสทอ่ี ยใู นใจ ของตน หมน่ั สรา งกรรมดี รจู กั ทำจติ ใจใหส ะอาด ผองใส ดว ยการเจรญิ สติ อยเู ปน ประจำ เราถงึ จะ แกเคราะหกรรมของเราได เ บอ้ื งตน ใหเ รารูจ ักการเสียสละ ดวยการ ใหทานเสยี กอน เพราะผใู ห ยอมเปน ทีร่ ักของผูรับ และการใหท าน ยงั เปน การทำลาย โลภะ คอื ความโลภ ท่ีทำใหเราอยากได อยากมี อยากเปน จนทำใหเรา เปนคนทีเ่ ห็นแกตวั แกไ ด อยางเชนทุกวันน้ี ข้ั นตอ ไป กใ็ หเ รารจู กั ทจ่ี ะสำรวม กาย วาจา ของเรา ไมใ หเ ปน คนขโ้ี กรธ ขโ้ี มโห เปน คนเจา อารมณ ไประรานชาวบา น เบยี ดเบยี นผอู น่ื เปน คนทม่ี ใี จเมตตา อยตู ลอดเวลา ไมท ำตวั เปน อแี อบ เท่ียวแอบไปหยบิ ฉวยเอาของ ๆ คนอน่ื มาโดยทเ่ี จา ของเขาไมใ ห รวมทง้ั ชอบแอบไปตีทายครัวคนอน่ื ไมป ระพฤติผดิ ลูกผดิ ผัว ผดิ เมียเขา เวลาจะพดู อะไร จะทำอะไรก็ใหมีความ 11
จริงใจ เปนคนที่มีสัจจะ ไมเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา หาความแนนอนอะไรมิได ไมเปนคนเหลาะแหละ เหลวไหลพดู จาโกหกเพอ เจอ อยตู ลอดเวลา อกี ทั้งไม ทำตวั เปน คนข้ีเหลา เมายา ชอบเลน การพนัน ยุงเก่ยี ว กบั สง่ิ เสพตดิ ทำใหขาดสติ เกดิ ความประมาทในชีวิต เพราะส่ิงเหลาน้ีจะทำใหคนอ่ืนขาดความเชื่อถือ ในตวั เรา เวลาทีเ่ ราเดือดรอ น ก็ไมม ใี ครเขาอยากชว ย น่ี มนั เปนอยา งนี้ ถา หากไมทำตัวใหด แี ลว ชวี ิตนี้ มันจะดีไดอยางไร? เคราะหกรรมมันจะหมดไปได อยางไร ? ชัดเจนนะ สุ ดทา ย เมื่อเรา รูจ กั ท่ีจะหัดเสียสละใหทาน พูดดี ทำดีแลว กม็ าทำจติ ใจใหส ะอาดผอ งใส เวลาคิด ทจ่ี ะทำอะไร จะพดู อะไร ก็รจู กั หัดพิจารณาใหด ี เสียกอน ไมเปน คนใจรอนดวนตัดสินใจ ชา ๆ ไดพ รา เลม งาม รูจักปลอย รจู ักวาง รูจกั ปลงในชวี ติ เสียบาง เปนคนที่มีสติอยูเปนปกติ ไมเปนคนหลงตัวเอง ไมหลงในความอยากไดอยากมีอยากเปนในชีวิต รูจ กั ทจี่ ะพอเสียบาง ไมเปน คนหลงในอารมณของ 12
ความโลภ ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาท ความ อจิ ฉารษิ ยา เปน คนทเ่ี จรญิ เมตตา คอยสำรวจดจู ติ ดใู จ แกไขตวั เองอยูต ลอดเวลา ถา เราเรม่ิ ทจ่ี ะหดั และเปลย่ี นแปลงการกระทำ ของตวั เองไปเรื่อย ๆ เชน นีแ้ ลว เคราะหกรรมของเรา ก็จะเร่มิ หา งหายออกไปจากชีวิต ความสุขกจ็ ะเขา มา แทนที่ เพราะการกระทำ คอื ความดีท่เี ราสรา งสม ไว มันก็เปน วบิ ากคอยสง ผลใหก บั เราในทางที่ดี แลวเราจะมีเคราะหก รรมมาจากท่ไี หนกันเลา การทำ อยา งนี้ เปนการสะเดาะเคราะหใ หก บั ตวั เองอยตู ลอด เวลา ไมต อ งไปใหพระสวดนั่นสวดนี่ อาบนำ้ มนตให พึง่ ผี พึง่ หมอดู ทรงเจา ใหเ สยี เวลาเปลา อยางนี้ จะไมด ีกวา หรือ เพราะฉะนัน้ ทา นท้ังหลาย ถึงเวลาหรอื ยงั ทเ่ี ราจะไดห นั กลบั เขา ไปสำรวจมองดใู นจติ ในใจของตวั เราเอง วา อะไรคือส่งิ ทสี่ ง ผลใหเ ราไดรับความทกุ ข มีเคราะหกรรมอยางที่เปนอยูเชนทุกวันนี้ และสิ่ง เหลาน้ันยังมีมากนอยเพียงใดในจิตในใจของเรา 13
๕ ( สวดมนต์ สิรมิ งคล เทวดา ) 14
จนเปน เหตทุ ำใหเ ราตอ งวง่ิ ไปหาคนนั้นคนน้ี ตอ งคอย พ่ึงพิงคนอ่ืนใหชวยสะเดาะเคราะหใหกับเราอยูตลอด เวลา แลวเม่ือไหรเ ราจะพง่ึ ตัวเอง สะเดาะเคราะหใ ห กับตวั เองไดเสยี ทีหนอ... อยูบ า นก็รูจกั ทจี่ ะไหวพ ระสวดมนต เปน การ สรา งทพี่ ึ่งทางใจ มีพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปน ที่พ่งึ เปน สรณะ เวลาท่จี ะละชว่ั ทำความดี ก็ขอ ใหมีความต้ังใจ รูจักอด รูจกั ทน เปน การสรางพืน้ ฐาน ใหจ ติ ใจมีความเขม แขง็ ตง้ั อยูใ นกรอบของศีลธรรม สรางตนทุนคุณความดีใหกับชีวิต ทำจิตใจใหมี สมาธิ อนั เปนทต่ี ั้งของสติ หมั่นเจรญิ จิตภาวนา เปน เหตใุ หเ ราเกดิ ปญ ญา รจู กั ผดิ ชอบชว่ั ดี เรากส็ ามารถ แกไ ขปญ หาชวี ติ ของตวั เองได เปน การสะเดาะเคราะห ใหกับตวั เอง โดยที่เราไมตองหนั ไปพงึ่ พิงคนอื่นอกี ตอ ไป....สาธุ หวั ใจสีขาว 15
อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ ตนแลเปนทพี่ ่ึงของตน โก หิ นาโถ ปโร สิยา คนอื่นใครเลาจะเปนทพ่ี ่งึ ใหแกเ ราได อตฺตนา หิ สทุ นเฺ ตน กบ็ ุคคลทต่ี นฝกฝนดีแลว นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ. ยอ มไดท พ่ึ ่ึงทห่ี าไดย าก ท่ีมา : ขทุ ทกนกิ าย ธรรมบท ๒๕/๓๖ 16
๖ ( อนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ ) 17
ชุมนมุ เทวดา สะรัชชัง สะเสนงั สะพันธงุ นะรินทัง ปะรติ ตานภุ าโว สะทา รกั ขะตตู ิ ผะรติ ว๎ านะ เมตตัง สะเมตตา ภะทนั ตา อะวิกขติ ตะจิตตา ปะรติ ตงั ภะณันตุ สคั เค กาเม จะ รเู ป คิรสิ ขิ ะระตะเฏ จันตะลกิ เข วิมาเน, ทเี ป รฏั เฐ จะ คาเม ตะรวุ ะนะคะหะเน เคหะวตั ถมุ หิ เขตเต, ภมุ มา จายนั ตุ เทวา ชะละถะละวสิ ะเม ยกั ขะคนั ธพั พะนาคา, ตฏิ ฐนั ตา สนั ตเิ ก ยงั มนุ วิ ะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ นั ตุ ฯ ธมั มสั สะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ 18
(นำ) นะโม ตัสสะ, ภะคะวะโต อะระหะโต, สมั มา, สมั พทุ ธัสสะ นะโม ตสั สะ, ภะคะวะโต อะระหะโต, สัมมา, สัมพทุ ธสั สะ นะโม ตสั สะ, ภะคะวะโต อะระหะโต, สมั มา, สมั พทุ ธัสสะ พุทธงั อายวุ ฒั ฑะณงั ชีวติ ัง ยาวะนพิ พานัง สะระณงั คจั ฉามิ, ธัมมงั อายุวฒั ฑะณงั ชีวติ งั ยาวะนิพพานงั สะระณัง คจั ฉาม,ิ สงั ฆงั อายุวัฒฑะณัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณงั คจั ฉาม,ิ ทุตยิ ัมป พทุ ธงั อายวุ ฒั ฑะณงั ชวี ิตงั ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉาม,ิ ทุตยิ ัมป ธมั มัง อายวุ ัฒฑะณงั ชวี ิตัง ยาวะนพิ พานัง สะระณงั คจั ฉามิ, ทตุ ยิ มั ป สังฆัง อายวุ ัฒฑะณัง ชวี ติ ัง ยาวะนิพพานงั สะระณัง คัจฉาม,ิ 19
ตะตยิ ัมป พุทธัง อายุวัฒฑะณงั ชีวิตงั ยาวะนิพพานัง สะระณงั คัจฉาม,ิ ตะตยิ ัมป ธัมมัง อายวุ ฒั ฑะณงั ชวี ิตัง ยาวะนิพพานงั สะระณัง คัจฉาม,ิ ตะติยัมป สังฆัง อายุวฒั ฑะณัง ชีวติ ัง ยาวะนิพพานงั สะระณัง คัจฉามิ, 20
อติ ิป โส ภะคะวา อะระหงั สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสมั ปน โน สคุ ะโต โลกะวทิ ู อะนุตตะโร ปุริสะทมั มะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พทุ โธ ภะคะวาติ ฯ สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐโิ ก อะกาลโิ ก เอหิปส สิโก โอปะนะยโิ ก ปจ จตั ตัง เวทติ พั โพ วญิ หู ีติ (อา นวา วิญ-ู-ฮี-ต)ิ สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อชุ ปุ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สามจี ปิ ะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ยะททิ ัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปคุ คะลา เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหเุ นยโย ปาหเุ นยโย ทักขิเณยโย อญั ชะลี กะระณีโย อะนตุ ตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ 21
(นำ) พาหงุ สะหัสสะมะภนิ ิมมิตะสาวุธนั ตัง คร๎ ีเมขะลัง อทุ ิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทธิ มั มะวิธินา ชติ ๎วา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ มาราติเรกะมะภยิ ตุ ฌิตะสัพพะรัตตงิ โฆรมั ปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยกั ขัง ขันตสี ทุ ันตะวธิ ินา ชติ ว๎ า มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะตมิ ตั ตะภูตัง ทาวคั คิจักกะมะสะนวี ะ สทุ ารุณนั ตัง เมตตัมพุเสกะวธิ นิ า ชติ ว๎ า มนุ นิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ อุกขติ ตะขคั คะมะตหิ ตั ถะสุทารณุ นั ตัง ธาวนั ตโิ ยชะนะปะถังคุลมิ าละวันตงั อทิ ธภี ิสังขะตะมะโน ชิต๎วา มนุ นิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ กตั ๎วานะ กัฏฐะมทุ ะรัง อิวะ คพั ภนิ ียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สนั เตนะ โสมะวิธนิ า ชติ ว๎ า มุนินโท 22
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ สจั จงั วหิ ายะ มะตสิ ัจจะกะวาทะเกตงุ วาทาภิโรปต ะมะนัง อะตอิ นั ธะภตู ัง ปญ ญาปะทีปะชะลิโต ชิต๎วา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ นันโทปะนันทะภชุ ะคงั วพิ ธุ ัง มะหิทธิง ปตุ เตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชติ ว๎ า มุนินโท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ทคุ คาหะทฏิ ฐภิ ุชะเคนะ สทุ ฏั ฐะหัตถัง พรัหมัง วสิ ุทธิชตุ มิ ิทธพิ ะกาภธิ านัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชติ ๎วา มนุ ินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ เอตาปพ ุทธะชะยะมงั คะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทนิ ะทเิ น สะระเต มะตนั ที หิตว๎ านะเนกะวิวิธานิ จุปททะวานิ โมกขัง สุขงั อะธคิ ะเมยยะ นะโร สะปญโญ ฯ 23
(นำ)มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สพั พะปาณนี งั ปเู รต๎วา ปาระมี สัพพา ปต โต สมั โพธมิ ตุ ตะมงั เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลงั ฯ ชะยันโต โพธยิ า มูเล สกั ย๎ านงั นันทวิ ฑั ฒะโน เอวัง ตว๎ งั วิชะโย โหห ิ ชะยสั สุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปลลงั เก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภเิ สเก สัพพะพทุ ธานัง อคั คปั ปต โต ปะโมทะติ ฯ สุนกั ขตั ตงั สมุ งั คะลงั สุปะภาตงั สุหุฏฐิตงั สขุ ะโณ สมุ หุ ตุ โต จะ สุยิฏฐัง พร๎ ัห๎มะจารสิ ุ ปะทักขณิ งั กายะกัมมงั วาจากัมมัง ปะทักขณิ งั ปะทักขณิ งั มะโนกมั มงั ปะณธิ ี เต ปะทกั ขณิ า ปะทกั ขิณานิ กตั ว๎ านะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลงั รักขันตุ สัพพะเทวะตา สพั พะพทุ ธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สพั พะมงั คะลงั รกั ขนั ตุ สพั พะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถ ภะวนั ตุ เต ฯ ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสงั ฆานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ 24
คาถาโพธิบาท แบบท่ี ๑ บรู ะพารสั ๎มิง พระพุทธะคุณัง บรู ะพารัส๎มงิ พระธัมเมตงั บรู ะพารัส๎มิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง ววิ ัญชัยเย สพั พะทกุ ข สพั พะโศก สัพพะโรค สัพพะภยั สัพพะเคราะหตวั นอก สัพพะเคราะหตัวใน สัพพะเคราะห กลางวนั สพั พะเคราะหก ลางคืน สัพพะเคราะหข างข้ึน สัพพะเคราะหข างแรม เคราะหวนั เดือนป เคราะหดเี ขามา เคราะหรา ยออกไป หายทุกข หายโศก หายโรค หายภัย หายเคราะห เสนียดจัญไร หายไปทันที สัพพะธะนัง สัพพะลาภงั ภะวนั ตุ เต (เม) รักขันตุ สุรักขันตุ ฯ หมายเหตุ - เทีย่ วตอ ไปใหเปลย่ี น บรู พารสั ม๎ ิง เปน อาคะเนยร ัสม๎ ิง - ทกั ษิณรสั ๎มงิ - หรดีรัสม๎ งิ - ปจ จมิ รัสม๎ ิง - พายพั รสั ม๎ งิ -อดุ รรสั ม๎ งิ -อสิ านรสั ม๎ งิ นอกนนั้ เหมอื นกนั หมด, ๑ สวดใหคนอืน่ เปล่ยี น เม เปน เต 25
แบบที่ ๒ บูระพารัส๎มิง พระพุทธะคุณัง บูระพารัส๎มิง พระธัมเมตัง บรู ะพารัส๎มงิ พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยงั วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สพั พะเคราะหต วั นอก สพั พะเคราะหต วั ใน สพั พะเคราะหใ ด ๆ ขอใหก ลายเปน ดีเคราะหป เคราะหเ ดอื น เคราะหว นั เคราะหป ขอใหเ คลอ่ื น เคราะหเ ดอื นขอใหค ลาย เคราะหว ันขอใหหาย เหมือนน้ำดับไฟ วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เต (เม) รกั ขนั ตุ สรุ กั ขนั ตุฯ 26
คาถาสวดนพเคราะห อติ ิป โส ภะคะวาฯ ขาจะขอไหว พระอาทิตย๑ สะเทวา ขอเชิญ พระอาทิตย๑ เสด็จลงมารกั ษาอายไุ ด ๖ ป๒ มาเวยี นรอบในราศี ในเทีย่ งคนื ในราตรี ตองลัคน ตองจันทน สัพพะเคราะหตัวนอก สัพพะเคราะหตัวใน สารพัดทุกข สารพดั โศก สารพดั โรค สารพดั ภยั สารพดั เคราะหเ สนียดจัญไร ขออยา ใหม ภี ยั ใหมีแตชยั ยะมงคล คมุ โทษทโ่ี ทสาวญิ ญาณะสมั ปน โนฯ อติ ปิ โส ภะคะวาฯ หมายเหตุ : สวดรอบตอไปใหเ ปลีย่ น ๑ และ ๒ ตามน้ี (รวมเปน ๙ รอบ) ๑ พระจนั ทร ๒ อายไุ ด ๑๕ ป, ๑ พระองั คาร ๒ อายไุ ด ๘ ป, ๑ พระพุธ ๒ อายไุ ด ๑๗ ป, ๑ พระเสาร ๒ อายุได ๑๐ ป, ๑ พระพฤหสั ๒ อายไุ ด ๑๙ ป, ๑ พระราห ู ๒ อายุได ๑๒ ป ๑ พระศกุ ร ๒ อายุได ๒๑ ป, ๑ พระเกต ๒ อายไุ ด ๙ ป, 27
อณุ หสิ สะวชิ ะยะคาถา อตั ถิ อณุ ห๎ สิ สะ วชิ ะโย ธมั โม โลเก อะนตุ ตะโร สพั พะสตั ตะหิตัตถายะ ตัง ตว๎ ัง คณั หาหิ เทวะเต ปะรวิ ัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนสุ เสหิ ปาวะเก พะยคั เฆ นาเค วเิ ส ภเู ต อะกาละมะระเณนะ วา สพั พสั ม๎ า มะระณา มตุ โต ฐะเปตว๎ า กาละมารติ งั ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สขุ ี สะทา สุทธะสลี ัง สะมาทายะ ธมั มงั สจุ ะริตตัง จะเร ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สขุ ี สะทา ลกิ ขติ งั จนิ ติตัง ปูชงั ธาระณัง วาจะนัง คะรงุ ปะเรสงั เทสะนงั สตุ ๎วา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตตี ิ พระคาถาบทน ี้อยใู นสมยั พทุ ธกาล ทพี่ ระพทุ ธเจา ไดทรงเมตตาใหเทวดาองคหน่ึงที่กำลังหมดอายุขัยจะตอง ลงไปเสวยกรรมในนรก แตเ ทวดาองคน ้ี มคี วามกลัวมาก ที่จะตองลงไปเกิดในเมืองนรกจึงดิ้นรนทุกวิถีทางที่จะไมไป แตก ไ็ มม ใี ครจะชว ยเหลอื ไดแ มแ ตอ งคพ ระอนิ ทร แตย งั โชคดี 28
ท่ไี ดพ บพระพทุ ธเจา และทรงแนะ ใหภ าวนาคาถาบทนี้ จะไดม อี ายยุ นื ยาวนานตอ ไป เพอ่ื ทจ่ี ะไดใ ชเ วลาทเ่ี หลอื อยนู ้ี บำเพ็ญภาวนา ใชหนีก้ รรมทีม่ ีอย ู ใหห มดไป พระคาถาบทนี้ จงึ มพี ทุ ธานภุ าพมาก ในเรอื่ ง ของการมอี ายยุ นื ยาวและยงั ทำใหส ขุ ภาพแขง็ แรง ไมเจบ็ ไข ไดป วยอยางงา ย ๆ อีกดว ย ผทู ่ีมสี ขุ ภาพไมดี หรอื ขี้โรค หรือปวยเปนโรคที่รักษายากแลว ควรหมั่นทองภาวนา เปนประจำ จะหายไดโดยเรว็ วัน 29
คาถาบชู าดวงชะตา นะโม เม สพั พะเทวานงั สพั พะคะระหะ จะ เทวานงั สุริยัญจะ ปะมญุ จะถะ สะสิ ภมุ โม จะ เทวานัง วโุ ธ ลาภงั ภะวสิ สะติ ชโี ว สกุ ะโร จะ มะหาลาภงั โสโร ราหเู กตุ จะ มะหาลาภงั สพั พะ ภะยงั วนิ าสสนั ติ สพั พะ ทุกขงั วนิ าสสนั ติ สพั พะ โรคัง วินาสสนั ติ ลกั ขะณา อะหงั วนั ทามิ สพั พะทา สพั เพ เทวา มงั ปาละยนั ตุ สพั พะทา เอเตนะ มงั คะละเตเชนะ สพั พะโสตถี ภะวนั ตุ เม ฯ ปจจุบันนิยมการผูกดวงชาตาของตน เอาไว สำหรบั สกั การะบชู า เรียกกันวา “ดวงพชิ ัยสงคราม” หรอื มิฉะนั้นกเ็ อาดวงชาตาบรรจไุ วใ นฐานพระ เม่อื จะบชู า ดวงชาตาพงึ วา คาถานเ้ี พอ่ื จะไดเ กดิ ลาภสกั การะ เปน สขุ สวสั ด์ิ พิพฒั น มงคลเลศิ ลนดนี ักแล ฯ 30
คาถามงคลจักรวาฬแปดทิศ อิมสั ๎มงิ มงคลจักรวาฬทัง้ แปดทิศ ประสิทธิ จงมา เปน กำแพงแกว ทง้ั เจด็ ชน้ั มาปอ งกนั หอ มลอ มรอบครอบทว่ั อนัตตาราชะเสมานาเขตเต สะมันตาสะตะโยชะนะสะตะ สะหัสสานิ พทุ ธะชาละปะรกิ เขตเต รักขันตุ สรุ ักขนั ตุ ฯ หมายเหตุ -เทยี่ วตอ ไปใหเปล่ียน พทุ ธะชาละปะริกเขตเต เปน ธมั มะชาละปะรกิ เขตเต - ปจ เจกะพทุ ธะชาละปะรกิ เขตเต - สงั ฆะชาละปะรกิ เขตเต 31
คาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พทุ ธา เชตวา มารงั สะวาหะนงั จะตสุ จั จาสะภงั ระสงั เย ปว งิ สุ นะราสะภา ตณั หงั กะราทะโย พทุ ธา อฏั ฐะวสี ะติ นายะกา สพั เพ ปะตฏิ ฐติ า มยั หงั มตั ถะเก เต มนุ สิ สะรา สเี ส ปะตฏิ ฐโิ ต มยั หงั พทุ โธ ธมั โม ทะวโิ ลจะเน สงั โฆ ปะตฏิ ฐโิ ต มยั หงั อเุ ร สพั พะคณุ ากะโร หะทะเย เม อะนรุ ทุ โธ สารปี ตุ โต จะทกั ขเิ ณ โกณฑญั โญ ปฏ ฐภิ าคสั มงิ โมคคลั ลาโน จะ วามะเก ทกั ขเิ ณ สะวะเน มยั หงั อาสงุ อานนั ทะ ราหโุ ล กสั สะโป จะ มะหานาโม อภุ าสงุ วามะโสตะเก เกสนั โต ปฏ ฐภิ าคสั มงิ สรุ โิ ย วะ ปะภงั กะโร นสิ นิ โน สริ สิ มั ปน โน โสภโิ ต มนุ ปิ งุ คะโว กมุ าระกสั สโป เถโร มะเหสี จติ ตะ วาทะโก โส มยั หงั วะทะเน นจิ จงั ปะตฏิ ฐาสคิ ณุ ากะโร ปณุ โณ องั คลุ มิ าโล จะ อปุ าลี นนั ทะ สวี ะลี เถรา ปญ จะ อเิ ม ชาตา นะลาเต ตลิ ะกา มะมะ 32
เสสาสตี ิ มะหาเถรา วชิ ติ า ชนิ ะสาวะกา เอเตสตี ิ มะหาเถรา ชติ ะวนั โต ชโิ นระสา ชะลนั ตา สลี ะเตเชนะ องั คะมงั เคสุ สณั ฐติ า ระตะนงั ปรุ ะโต อาส ิ ทกั ขเิ ณ เมตตะ สตุ ตะกงั ธะชคั คงั ปจ ฉะโต อาส ิ วาเม องั คลุ มิ าละกงั ขนั ธะโมระปะรติ ตญั จะ อาฏานาฏยิ ะ สตุ ตะกงั อากาเส ฉะทะนงั อาส ิ เสสา ปาการะสณั ฐติ า ชนิ า นานาวะระสงั ยตุ ตา สตั ตปั ปาการะ ลงั กะตา วาตะปต ตาทสิ ญั ชาตา พาหริ ชั ฌตั ตปุ ท ทะวา อะเสสา วนิ ะยงั ยนั ต ุ อะนนั ตะชนิ ะ เตชะสา วะสะโต เม สะกจิ เจนะ สะทา สมั พทุ ธะปญ ชะเร ชนิ ะปญ ชะระมชั ฌมั ห ิ วหิ ะรนั ตงั มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มงั สพั เพ เต มะหาปรุ สิ าสะภา อจิ เจวะมนั โต สคุ ตุ โต สรุ กั โข ชนิ านภุ าเวนะ ชติ ปู ท ทะโว ธมั มานภุ าเวนะ ชติ ารสิ งั โฆ สงั ฆานภุ าเวนะ ชติ นั ตะราโย สทั ธมั มานภุ าวะปาลโิ ต จะรามิ ชนิ ะ ปญ ชะเรต.ิ 33
เทวะตาอยุ โยชะนะคาถา ทกุ ขปั ปต ตา จะ นทิ ทกุ ขา ภะยปั ปต ตา จะ นพิ ภะยา โสกัปปตตา จะ นสิ โสกา โหนตุ สพั เพป ปาณโิ น เอตตาวะตา จะ อมั เหหิ สัมภะตงั ปญุ ญะสมั ปะทงั สัพเพ เทวานโุ มทันตุ สัพพะสัมปตติสทิ ธยิ า ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สลี ัง รักขนั ตุ สัพพะทา ภาวะนา ภริ ะตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ (สวดขณะที่พรมน้ำพระพทุ ธมนต) สัพเพ พทุ ธา พะลัปปต ตา ปจ เจกานัญจะ ยัง พะลงั อะระหันตานญั จะ เตเชนะ รกั ขัง พันธามิ สัพพะโสฯ ภะวะตุ สพั พะมังคะลงั รกั ขนั ตุ สพั พะเทวะตา สพั พะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ รักขนั ตุ สพั พะเทวะตา ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ สัพพะธัมมานุภาเวนะ รกั ขนั ตุ สพั พะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลงั สัพพะสงั ฆานุภาเวนะ 34
อติ ปิ โส เทาอายุ อิตปิ โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ วชิ ชาจะระณะสมั ปน โน สคุ ะโต โลกะวิทู อะนตุ ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานงั พทุ โธ ภะคะวาติ (ใหส วดเกนิ อายุ ๑ จบ เชน อายุ ๔๒ ป ตองสวด ๔๓ จบ หรือ ๑๐๘ จบ) ขอใหญาติโยมสวดพาหงุ ฯ มหากา กนั ใหท่ัวหนา นอกจากจะคุม ตวั แลว ยังคมุ ครองครอบครัว สวดมาก ๆ เขา สวดกนั ท้ังประเทศ กท็ ำใหประเทศมแี ตค วามรุงเรอื ง พวกคนพาลสนั ดานหยาบก็แพภ ัยไปอยา งถว นหนา 35
บทแผเมตตาแกตนเอง อะหงั สขุ ิโต โหมิ ขอใหข าพเจา จงเปนผมู คี วามสุขเถดิ อะหงั นทิ ทุกโข โหมิ ขอใหข าพเจา จงเปนผไู มมคี วามทกุ ข อะหัง อะเวโร โหมิ ขอใหขาพเจา จงเปนผูไมมเี วร อะหัง อพั ยาปช โฌ โหมิ ขอใหขา พเจา จงเปนผไู มมีความพยาบาทเบียดเบยี น อะหงั อะนโี ฆ โหมิ ขอใหขา พเจา จงเปน ผไู มมคี วามทุกขกายทุกขใจ สุขี อตั ตานัง ปะริหะรามฯิ ขอใหขาพเจา จงมีความสุขกายสขุ ใจ รกั ษาตนใหพ น จากทกุ ขภัยทั้งส้นิ เทอญฯ “ แผ่เมตตาหายใจยาว ๆ ต้งั กัลยาณจิตท่ลี นิ้ ปี่ ไม่ใช่พูดส่งเดช จำไวน้ ะท่ลี ้นิ ปี่ เปน็ การแผ่เมตตา...” 36
บทแผเ มตตาใหสรรพสัตว สัพเพ สัตตา สัตวท้งั หลาย,ท่ีเปนเพอ่ื นทกุ ข, เกดิ แกเจบ็ ตาย, ดวยกนั ทงั้ หมดท้งั ส้ิน อะเวรา จงเปนสขุ เปน สขุ เถิด, อยา ไดม ีเวรแกกันและกันเลย อัพยาปช ฌา จงเปนสขุ เปนสขุ เถิด, อยา ไดพยาบาทเบยี ดเบยี นซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา จงเปนสขุ เปน สขุ เถดิ , อยา ไดม คี วามทุกขกาย ทุกขใ จเลย สุขี อัตตานงั ปะรหิ ะรันตุ จงมคี วามสขุ กาย สขุ ใจ, รักษาตนใหพนจากทกุ ขภ ยั ทงั้ สิ้น เถิด ฯ “จะอทุ ศิ สว่ นกุศล ก็ยกจติ จากลนิ้ ปี่ สูห่ น้าผาก เรยี กวา่ อณุ าโลม ปจชายเต...” 37
คำถวายกศุ ลแดพ ระธรรมสงิ หบรุ าจารย อทิ งั , ฐติ ะธมั มสั สะ โหต,ุ สขุ โิ ต โหต,ุ ฐติ ะธมั โม. ขอสว นบุญนีจ้ งสำเรจ็ , แดห ลวงพอ จรญั ฐติ ฺธมโฺ ม, ขอใหห ลวงพอ จรัญ ฐิตฺธมโฺ ม, จงมีความสขุ 38
คำถวายพระราชกุศล แดพ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ฯ และสมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชนิ นี าถ อทิ งั , มหาราชะ, ภมู พิ ะลสั สะ, สะราชินยี า โหต,ุ สุขโิ ต โหตุ, อะโรโค โหตุ, ฑฆี ายุโก โหตุ, มหาราชะ,ภมู พิ ะโล, สะราชนิ ี. ขอสวนบุญน้จี งสำเร็จ, แดพ ระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ฯ, ภูมพิ ลมหาราช, และสมเด็จพระนางเจา ฯ, พระบรมราชินนี าถ, ขอจงทรงพระเกษมสำราญ, ปราศจากโรคาพยาธแิ ผว พาน, มพี ระชนมายุยิ่งยนื นาน, ชัว่ นิรนั ดรเ ทอญ ฯ 39
บทอทุ ิศสวนกศุ ล อทิ ัง เม, มาตาปต นู ัง โหตุ, สุขิตา โหนต,ุ มาตาปตะโร ขอสว นบุญน้จี งสำเร็จ, แกมารดาบิดาของขา พเจา , ขอใหมารดาบิดาของขา พเจา, จงม คี วามสุข อิทงั เม, ญาตนี ัง โหต,ุ สขุ ติ า โหนตุ, ญาตะโย ขอสว นบุญนจี้ งสำเรจ็ , แกญาติทัง้ หลายของขา พเจา, ขอใหญ าตทิ ัง้ หลายของขาพเจา , จงมคี วามสุข อิทัง เม, คุรูปช ฌายาจรยิ านงั โหตุ, สุขิตา โหนต,ุ คุรูปชฌายาจริยา ขอสวนบุญนจ้ี งสำเรจ็ แกครูอปุ ช ฌายอ าจารยข อง ขา พเจา , ขอใหค รอู ุปช ฌายอ าจารยของขาพเจา , จงมคี วามสุข 40
อทิ งั , สัพพะเทวะตานงั โหต,ุ สขุ ิตา โหนตุ, สัพเพเทวา ขอสว นบุญนจ้ี งสำเรจ็ , แกเ ทวดาท้ังหลายท้งั ปวง, ขอใหเ ทวดาทั้งหลายทัง้ ปวง, จงมีความสุข อทิ งั , สพั พะเปตานัง โหตุ, สขุ ิตา โหนต,ุ สัพเพ เปตา ขอสวนบุญน้ีจงสำเรจ็ , แกเ ปรตท้ังหลายทงั้ ปวง, ขอใหเ ปรตทั้งหลายท้งั ปวง, จงมีความสขุ อทิ ัง, สพั พะเวรีนงั โหตุ, สุขิตา โหนตุ, สัพเพเวรี ขอสว นบญุ น้จี งสำเร็จ, แกเจา กรรมนายเวรทงั้ หลาย ทั้งปวง, ขอใหเ จา กรรมนายเวรทั้งหลายทัง้ ปวง, จงมีความสขุ อิทงั , สพั พะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ, สัพเพ สตั ตา ขอสว นบุญนจ้ี งสำเร็จ, แกสตั วทั้งหลายทง้ั ปวง, ขอใหส ัตวทั้งหลายทงั้ ปวง, จงมคี วามสุข 41
คำตง้ั จิตอธษิ ฐาน ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐาน, ขอกุศลผลบุญ, ที่ขาพเจาไดบำเพ็ญเพียรมาแลว, ในทุกภพทุกชาติ, ตลอดจนปจ จุบนั ชาติน้,ี และทจี่ ะบำเพญ็ เพยี รตอไป, ในอนาคต ขอผลบุญทง้ั หลายเหลา น,้ี จงเปนพะละวะ ปจจัย, ใหเปน ผทู ี่สมบรู ณ, ดวยสตสิ ัมปะชัญญะ, มคี วามเจรญิ , ทง้ั ทางโลกและทางธรรม, เปน ผถู งึ พรอ ม ไปดว ยศีล, สมาธิ ปญญา, ไดด วงตาเหน็ ธรรม, เขาถึง กฏแหง กรรม, รแู จง ซง่ึ พระไตรลกั ษณ, ถงึ ซง่ึ พระนพิ พาน, หากขาพเจา, ไมสามารถเขาถึง, ซึ่งพระนิพพาน, ในปจจุบันชาตินีเ้ พียงใด,เกดิ ภพใดชาตใิ ด, ขอความ ไมม ี, ไมส ามารถ, ไมสำเรจ็ , ไมส มหวงั , ความไมร ู, ความไมเขาใจ, ในธรรมคำสอนขององคสมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ,จงอยา ไดม แี กข า พเจา , ในทกุ ภพ ทุกชาต,ิ ทข่ี า พเจา ไดเกดิ ,จนกวา จะไดถึง, ทส่ี ดุ แหง กองทุกข, คือพระนพิ พาน, ในอนาคตกาล, เบอื้ งหนา โนน...เทอญ ฯ 42
บนั ทกึ ธรรม 43
หนงั สอื แนะนำ บทสวดมนตพ าหุงฯแปลฉบับพกพา ทัง้ เลมเปนโทนสชี มพู ทม่ี ีท้ังภาษาไทย และ องั กฤษ ภาษาองั กฤษแปลโดย ดร.สุจิตรา ออ นคอม พรอมภาพศิลปะลายเสนดินสอสวยงามประกอบ บทสวดมนต ทายเลม มีบทแผเมตตาอุทิศสวนกุศล ภาคภาษาไทย - อังกฤษ ขอเชิญทุกทานรวมสวดมนต กบั เราทกุ วนั 44
หนังสือแนะนำ สมาธิเพอ่ื ชีวิต สมาธิเพ่ือชีวิตเป็นหนังสือท่ีรวบรวมคำสอนของ ครูบา-อาจารย์ กว่า ๓๕ รูป มหี ัวข้อธรรมกวา่ ๘๐ เรื่อง ทา้ ยเลม่ มบี ทสวดมนต์ พาหงุ - มหากาาฯ พรอ้ มบทแผเ่ มตตา อุทศิ สว่ นกุศล 45
หนงั สือแนะนำ ทำบญุ งา่ ยๆ ตามประสาคนไมค่ อ่ ยมเี วลา สวดมนต์ตอ้ งมีศรัทธา มคี วามเชือ่ มคี วามเลื่อมใส ศาสนาน่.ี .ต้องการใหม้ ีความศรทั ธาและความมั่นใจ ถ้าม่ันใจตวั เอง ใหอ้ ่านไปกอ่ น อย่าข้เี กยี จท่อง ใหอ้ า่ นทกุ วนั อ่านใหถ้ ึง ๆ ใหค้ ลอ่ งปาก พอคลอ่ งปากแลว้ จะคลอ่ งใจ พอคลอ่ งใจแลว้ จะตดิ ใจ แลว้ มันจะเกดิ “ สมาธ”ิ พอเกดิ สมาธิ จติ ก็จะถึง พอเข้าถึงแล้ว จะซึง้ ใจ พอซึ้งใจแลว้ จะซึ้งธรรมะ พอซึ้งธรรมะมันจะใฝ่ดี รู้ไหม 46
“ บุคคลจะได้ดีหรอื ชัว่ จะไดร้ บั สขุ หรือทุกข์ ก็เพราะกรรม หรอื การกระทำของตนเองทัง้ สิน้ ตนต้องเปน็ ที่พึง่ ของตน ๑.ต้องชว่ ยตนเองได้ ๒. ตอ้ งพึ่งตนเองได้ ๓.ต้องสอนตัวเองได้ ถา้ สามหลักน้ีไมม่ ีกบั โยมคนใด คนนนั้ จะเปน็ ที่พึง่ ไม่ได้ พระท่านจะช่วยเราได้อย่างไร? ” 47 หลวงพอ จรัญ ฐติ ธมั โม
สะเดาะเคราะห ใหก บั ตัวเอง ISBN : 978-974-7622-86-7 พิมพครัง้ ท่ี ๑ : มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ จำนวนพ มิ พ : ๑๐,๐๐๐ เลม ผเู รียบเรยี ง : พระสายณั ห ติกขฺ ปฺโญ ภาพประกอบ : พีระ ธรนิตยกลุ ออกแบบจดั เลม : ธนพร ปตว งษ จดั พมิ พเ พอื่ การเผยแผโ ดย เครือขายธรรมะศรทั ธาเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ http://www.dhammasatta.org ตองการพิมพหนงั สือเพอื่ แจกเปนธรรมทาน ติดตอ... คณุ ภารดี โทร. ๐๘๘-๒๙๕-๑๑๔๖,๐๘๙-๖๘๓-๒๔๔๒ พมิ พท ่ี : อษุ าการพมิ พ โทร.๐๒ – ๖๕๖ - ๓๔๗๐ Dhammaintrend รว่ มเผ4ย8แพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน
ÍµÚµÒ ËÔ ÍµÚµâ¹ ¹Òⶠµ¹áÅ໚¹·è¾Õ Ö觢ͧµ¹ â¡ ËÔ ¹Òⶠ»âà ÊÔÂÒ ¤¹Í×è¹ã¤ÃàÅ‹Ò¨Ð໚¹·è¾Õ Öè§ãˌᡋàÃÒä´Œ ͵µÚ ¹Ò ËÔ ÊØ·¹Ú൹ º¤Ø ¤Å·èµÕ ¹½ƒ¡½¹´áÕ ÅŒÇ ¹Ò¶í ÅÀµÔ ·ØÅÚÅÀ.í ÂÍ‹ Áä´Œ·Öè¾Ö§è ·ËÕè Òä´ŒÂÒ¡ ·èÕÁÒ : ¢·Ø ·¡¹Ô¡Ò ¸ÃÃÁº· òõ/óö
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: