Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ

วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ

Published by Thalanglibrary, 2020-11-25 12:25:15

Description: วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ

Search

Read the Text Version

50 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ด้วยเมตตากจ็ ะเกิดขึน้ กอ่ น อารมณ์จะเกดิ ไม่ทนั หรอื เกิดทันบ้างตามวิสัยของผู้เป็นปุถุชนไม่สิ้นกิเลส ก็จะ เบามากและนอ้ ยคร้งั มาก ทงั้ ผโู้ กรธยาก โกรธน้อย และผู้โกรธงา่ ย โกรธ มาก ควรอยา่ งยงิ่ ที่จะไดส้ นใจสังเกตใหร้ ู้ว่าจติ ใจของตน มีความสุขทกุ ข์ เย็นร้อนอยา่ งไร ท้ังในเวลาท่ีโกรธและ ในเวลาทไี่ มโ่ กรธ ปรกตนิ น้ั เมอื่ โกรธกม็ กั จะไปเพง่ โทษ ผอู้ น่ื วา่ เปน็ เหตใุ หค้ วามโกรธเกดิ ขนึ้ คอื มกั จะไปคดิ วา่ ผู้อื่นนั้นพูดเช่นนั้น ท�ำเช่นน้ันท่ีกระทบกระเทือนถึง ผู้โกรธ การเพ่งโทษผู้อื่นเช่นนี้ ไม่ใช่เป็นการท�ำให้ จิตใจตนเองสบาย ตรงกนั ข้าม กลบั เป็นการเพิ่มความ ไมส่ บายใหย้ งิ่ ขนึ้ ยงิ่ เพง่ เหน็ โทษของผอู้ นื่ มากขนึ้ เพยี งใด ใจตนเองกจ็ ะยง่ิ ไม่สบายยงิ่ ขนึ้ เพยี งน้นั แตถ่ า้ หยดุ เพง่ โทษผู้อ่ืนเสีย เขาจะพูดจะท�ำอะไรก็ตาม ท่ีเป็นการ กระทบกระเทือนถึงตนเองจริงหรือไม่ก็ตาม อย่าไป เพ่งดู ให้ย้อนเข้ามาเพ่งดูใจตนเองว่าก�ำลังมีความสุข ทุกข์อย่างไร มีอารมณ์อย่างไร ใจจะสบายข้ึนได้ด้วย การเพ่งนั้น

เมตตาระงับความโกรธ 51 กล่าวสั้นๆ คือการเพ่งดูผู้อื่นท�ำให้ตนเองไม่เป็น สุข แต่การเพ่งดูใจตนเองท�ำให้เป็นสุขได้ แม้ก�ำลัง โกรธมาก หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นว่าก�ำลังโกรธมาก ความโกรธก็จะลดลง เมอ่ื ความโกรธน้อย หากเพง่ ดใู จ ตนเองใหเ้ หน็ วา่ กำ� ลงั โกรธนอ้ ย ความโกรธกจ็ ะหมดไป จึงกล่าวได้ว่า ไม่ว่าจะก�ำลังมีอารมณ์ใดก็ตาม โลภ หรือโกรธ หรือหลงก็ตาม หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็น อารมณ์น้ันแล้ว อารมณ์น้ันจะหมดไป ได้ความสุข มาแทนทีท่ ำ� ใหม้ ีใจสบาย ทกุ คนอยากสบาย แตไ่ มท่ ำ� เหตทุ จ่ี ะใหเ้ กดิ ผลเปน็ ความสบาย ดงั นน้ั จงึ ยงั หาผสู้ บายไดน้ อ้ ยเตม็ ที ยง่ิ กวา่ นน้ั ทง้ั ๆ ทที่ กุ คนอยากสบาย แตก่ ลบั ไปทำ� เหตทุ จ่ี ะให้ ผลเปน็ ความไมส่ บายกนั เปน็ สว่ นมาก ดงั นน้ั จงึ ไดร้ บั ผล เป็นความไม่สบายตามเหตุท่ีท�ำ เพราะดังได้กล่าวแล้ว ท�ำเหตุใดต้องได้รับผลของเหตุน้ันเสมอไป เหตุดีให้ ผลดี เหตุชั่วให้ผลช่ัว เหตุแห่งความสุขให้ผลเป็น ความสขุ เหตแุ ห่งความทุกข์ให้ผลเป็นความทกุ ข์ ตอ้ ง

52 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ท�ำเหตุให้ตรงกับผล จึงจะได้ผลท่ีปรารถนาต้องการ ควรมสี ตริ ะลึกถงึ ความจริงนไี้ ว้ให้สมำ�่ เสมอ ใจทไ่ี มม่ คี า่ คอื ใจทรี่ อ้ นรนกระวนกระวาย ใจทม่ี ี คา่ คอื ใจทสี่ งบเยอื กเยน็ นำ� ความจรงิ นเี้ ขา้ จบั ทกุ คนจะ รู้ว่าใจของตนเป็นใจท่ีมีค่าหรือไม่มีค่า ความโกรธท�ำ ให้ร้อน ทุกคนทราบดี จึงน่าจะทราบต่อไปด้วยว่า ความโกรธเป็นสิ่งท่ีท�ำให้ใจไม่มีค่าหรือท�ำให้ค่าของใจ ลดน้อยลง ของท่ีมีค่ากับของที่ไม่ค่า อย่างไหนเป็น ของดี อยา่ งไหนเป็นของไมด่ ี อยา่ งไหนควรปรารถนา อย่างไหนไม่ควรปรารถนา ก็เป็นท่ีทราบกันดีอยู่อย่าง ชัดแจ้ง แต่เพราะขาดสติเท่าน้ัน จึงท�ำให้ไม่ค่อยได้ รู้ตัว ไม่สงวนรักษาใจของตนให้เป็นสิ่งมีค่าพอสมควร ต้องพยายามท�ำสติให้มีอยู่เสมอ จึงจะรู้ตัว สามารถ สงวนรกั ษาใจใหเ้ ปน็ สิง่ มีคา่ ได้ คือสามารถยับย้งั ความ โลภ ความโกรธ ความหลง มใิ ห้เกดิ ข้นึ จนเกนิ ไปได้

เมตตาระงับความโกรธ 53 สามญั ชนยงั ตอ้ งมคี วามโลภ ความโกรธ ความ หลง แตส่ ามญั ชนทม่ี สี ติ มปี ญั ญา มเี หตผุ ล ยอ่ มจะ ไม่ให้ความโลภ ความโกรธ ความหลง มีอ�ำนาจ ชั่วร้ายเหนือจิตใจ ย่อมจะใชส้ ตใิ ชป้ ญั ญา ใช้เหตุผล ท�ำใจใหเ้ ป็นใจทมี่ ีคา่



วิเคราะห์ สาเหตุของความโกรธ บดั นม้ี าลองแยกความโกรธทเ่ี กดิ จากรปู ไมถ่ กู ตา ซ่ึงก็มีแยกออกไปมากมายหลายอย่างเหมือนกัน เคย ได้ยินผู้บ่นว่าเห็นหน้าตาท่าทางคนน้ันคนน้ีแล้วขัดตา ดูไม่ได้กวนโทโส บางคนเล่าว่า เห็นผมทรงสมัยใหม่ ของเด็กหนุ่มสมัยนี้แล้วทนไม่ไหว เกลียดเหลือเกิน กวนโทโสมากท่ีพากันไว้ผมทรงเช่นนั้น บางคนบ่น ต�ำหนิการแต่งกายของเด็กสาวสมัยใหม่ว่าไม่น่าดู เห็นแล้วเกิดโทสะ เป็นลูกหลานก็อยากตีอยากว่า บางคนดูภาพตามหนังสือพิมพ์แล้วส่ายหน้า ต�ำหนิว่า ดไู มไ่ ดน้ า่ รงั เกยี จ ยงั มรี ปู ไมถ่ กู ตาอกี หลายประการ ซง่ึ แตล่ ะทา่ นอาจจะนกึ เพม่ิ เตมิ ไดด้ ว้ ยตนเอง เชน่ เดยี วกบั

56 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ เสียงไม่ถูกหูเพราะเหตุผลเดียวกัน คือทุกคนท่ีเป็น ปุถุชน ย่อมจะมีรูปไม่ถูกตาของตนอยู่ด้วยกันทั้งนั้น และไมต่ รงกันก็มีเป็นอนั มาก ดงั ตวั อยา่ ง บางคนโดย เฉพาะเด็กหนุ่มๆ สาวๆ เห็นผมทรงสมัยใหม่ของ พวกเขาน่าดูท่ีสุด คนไหนสามารถจะไว้ผมทรงน้ันได้ ดเู หมอื นจะภาคภมู ใิ จทสี่ ดุ ขณะทดี่ งั กลา่ วแลว้ บางคน ตวั เองไมไ่ ดไ้ วด้ ว้ ยกบั เขา ยงั เกดิ โทสะเพราะเกลยี ดมาก หรือบางคนเห็นเคร่ืองแต่งกายสมัยใหม่ของพวกเขา สวยงามน่าดูอย่างยิ่ง คนไหนไม่ได้แต่งแบบเช่นนั้น เห็นจะเป็นคนดูไม่ได้ ไม่สวยไม่งามเสียเลย ขณะที่ ดังกล่าวแล้วบางคนตัวเองไม่ได้แต่งด้วยกับเขา ยังทน ดูจะไม่ได้ ว่าเกดิ โทโส บางคนดภู าพตามหนังสอื ตา่ งๆ แลว้ ถงึ กบั ตอ้ งเกบ็ รวมไวเ้ พอ่ื ดแู ลว้ ดอู กี เพราะชอบมาก ขณะที่ดังกล่าวแล้ว บางคนต�ำหนิภาพเหล่าน้ันรุนแรง วา่ น่ารังเกยี จไมน่ ่าใหผ้ ่านสายตา พิจารณาตามตวั อย่างท่ียกมาน้ี ก็จะเหน็ เหมือน เมอ่ื พจิ ารณาตวั อยา่ งเสยี งไมถ่ กู หหู รอื ถกู หทู กี่ ลา่ วไวแ้ ลว้

วิเคราะห์สาเหตุของความโกรธ 57 คอื จะเหน็ วา่ สาเหตเุ ดยี วกนั แตก่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลไมเ่ หมอื นกนั คนหนึง่ ชอบ คนหน่งึ ไม่ชอบ สาเหตุที่แทจ้ ริงอยทู่ ่กี าร ปรุงของใจ มิได้อยู่ที่อะไรอื่น จะโลภก็เพราะใจปรุง ใหโ้ ลภ จะโกรธก็เพราะใจปรงุ ให้โกรธ จะหลงก็เพราะ ใจปรุงให้หลง หรือจะสุขก็เพราะใจปรงุ ให้สขุ จะทกุ ข์ก็ เพราะใจปรุงให้ทุกข์ ดังนั้นส่ิงท่ีควรระมัดระวังท่ีสุด คือการปรุงของใจตนเองน้ีแหละ มิใช่การกระท�ำของ คนอนื่ คนอนื่ จะทำ� อะไรอยา่ งไร ถา้ เราระวงั การปรงุ ของ ใจเราเองให้ถูกต้องแล้ว ความทุกข์ของเราจะไม่เกิด เพราะการกระทำ� ของเขาเลย การระมัดระวังการคิดปรุงของใจ ก็คือการหัด ใชค้ วามคดิ ไปในทางทถี่ กู ทจี่ ะไมเ่ ปน็ โทษ ไมเ่ ปน็ เหตุ แหง่ ความทกุ ข์ของตนนั่นเอง แต่ปรกติการคิดปรุงน้ัน เป็นไปอย่างรวดเร็ว จนยากท่ีเจ้าตวั จะทนั รู้วา่ ไดม้ ีการปรุงข้ึนแล้ว มักจะไป รู้เอาก็ต่อเม่ือผลปรากฏข้ึนแล้ว เป็นความโลภ หรือ ความโกรธ หรือความหลงเสียแล้ว

58 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ วิธีฝึกเพ่ือให้รู้ทันความปรุงคิดนั้น ต้องท�ำเม่ือ อารมณ์ท่ีเกิดจากความปรุงคิดในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งดับ ลงแล้ว เป็นต้นว่าเลิกโกรธเมื่อได้ยินเสียงใดเสียงหนึ่ง แล้ว ให้ยอ้ นจบั เรื่องน้นั มาพิจารณาอีกว่า ก่อนจะเกดิ ความโกรธนั้นได้เร่ิมต้นขึ้นอย่างไร อาจจะเริ่มต้นด้วย เปดิ วทิ ยุ ไดย้ นิ เสยี งผบู้ รรยายคนหนง่ึ กำ� ลงั บรรยายเรอื่ ง อะไรเรอื่ งหน่งึ อยู่ เปน็ เรื่องท่ีน่าสนใจมาก อยากจะฟงั แต่พอฟังเข้าก็รู้สึกว่าผู้บรรยายใช้สุ้มเสียงไม่น่าฟังเลย ใจปรุงไปเสียว่า เสียงอย่างนี้คนพูดดัดให้ไร้เดียงสา มากไป ไม่เหมาะกับเรื่องอันมีสาระท่ีก�ำลังพูดอยู่ ค�ำน้ันควรจะพูดให้ชัดก็ไม่พูดให้ชัด ค�ำนี้ไม่ควรจะใช้ กไ็ ปนำ� มาใช้ ใจปรงุ ออกไปทกุ ทใี นทำ� นองดงั กลา่ ว ทำ� ให้ ความไมช่ อบเกดิ แรงขนึ้ ทกุ ที จนถงึ กลายเปน็ ความโกรธ กระท่ังฟังต่อไปอีกไม่ได้ ต้องปิดวิทยุและโกรธอยู่ คนเดียว หรือบน่ ให้ใครๆ ทม่ี ีรับฟังอยู่ ใหร้ ้คู วามโกรธ ของตนดว้ ย โดยทแ่ี นน่ อนเหลอื เกนิ ผบู้ รรยายมไิ ดร้ เู้ รอื่ ง รู้ราวด้วยเลย ใครจะโกรธใครจะไม่โกรธเมื่อได้ฟังค�ำ บรรยาย ผบู้ รรยายไมร่ ดู้ ว้ ย ไมท่ กุ ขด์ ว้ ย ผโู้ กรธเทา่ นน้ั ที่ทกุ ข์

วิเคราะห์สาเหตุของความโกรธ 59 เมื่อพจิ ารณามาถึงตรงน้ี คอื ตรงผู้โกรธเทา่ นน้ั ที่ เป็นทุกข์ ควรพิจารณาจนเห็นจริงว่า ผู้โกรธเท่านั้นท่ี เป็นทุกข์จริงๆ ซึ่งจะต้องเห็น แม้จะเห็นเพียงครู่ยาม แลว้ ลมื กจ็ ะตอ้ งเห็น เพราะตนเองเปน็ ทุกข์อยู่เพราะ ความโกรธจรงิ ๆ เมอื่ เหน็ แลว้ วา่ ผโู้ กรธเทา่ นนั้ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ ใหพ้ จิ ารณา ยอ้ นไปอกี วา่ ความโกรธเกดิ เพราะความปรงุ เชน่ ใด กจ็ ะ เห็นวา่ ตนไดค้ ดิ ปรุงไปเช่นใด เม่ือจะแกไ้ มใ่ ห้เกดิ ความ โกรธ ก็จะตอ้ งไม่ปรุงคิดเชน่ นนั้ จะตอ้ งเปลย่ี นวิธีปรงุ คิดเสียใหม่ เช่น ไม่ไปปรุงคิดเกี่ยวกับการใช้สุ้มเสียง หรอื การใชถ้ อ้ ยคำ� สำ� นวนของผบู้ รรยายเลย เพราะเมอ่ื ปรงุ คดิ เชน่ นนั้ แลว้ ทำ� ใหเ้ กดิ โกรธ ใหป้ รงุ ไปอยา่ งอน่ื เสยี ท่ีจะท�ำให้ไม่โกรธ หรือให้ความโกรธที่ก�ำลังจะเริ่มข้ึน หายไป เช่น คิดว่าวิทยเุ สียงไมด่ ี ทำ� ใหเ้ สยี งผบู้ รรยาย ไมน่ ่าฟังเทา่ ทคี่ วร หรือผู้บรรยายเกอ้ เขนิ ไปหนอ่ ย จึง ทำ� ใหเ้ สยี งยงั ไมน่ า่ ฟงั นกั เชน่ นกี้ จ็ ะทำ� ใหค้ วามโกรธไม่ เกิดขึ้นได้ หรือถ้ารู้ตัวว่าถ้าได้ฟังจะต้องคิดปรุงและจะ ตอ้ งโกรธ ผตู้ อ้ งการบรหิ ารจติ ใหไ้ มโ่ กรธงา่ ยไมโ่ กรธจดั

60 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ก็ควรจะตัดปัญหาด้วยการไม่เปิดฟังเสียเลย เป็นการ ตดั ความโกรธไมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ อกี วธิ หี นงึ่ บางทกี จ็ ำ� เปน็ ตอ้ ง น�ำมาใช้เพื่อรักษาจิตใจตนเองไว้มิให้ได้รับทุกข์อันเกิด จากความโกรธ แต่วิธีไม่รับฟังเสียงเสียเลยเช่นน้ีไม่ถูกนัก วิธีที่ ถูกคือต้องยอมสู้ ต้องยอมฟัง แต่ขณะเดียวกันต้อง ระมัดระวังการคิดปรุงให้ด�ำเนินไปอย่างถูกต้องเสมอ ท�ำเช่นนี้จึงจะเป็นการบริหารจิตอย่างได้ผล มิใช่เป็น การกระท�ำตามแบบคนหูหนวกตาบอด ไม่ได้ยินไม่ได้ เหน็ อะไรเลยทกุ เวลา





รักษาจติ ให้คิดในทางท่ีถูก เพอ่ื รกั ษาจติ ใจมใิ หไ้ ดร้ บั ทกุ ข์ อนั เกดิ จากอารมณ์ กเิ ลสเปน็ ตน้ วา่ โกรธ จำ� เปน็ จะตอ้ งระวงั การคดิ ปรงุ หรอื ปรงุ คดิ ใหด้ ำ� เนนิ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง เพราะการคดิ ปรงุ หรอื ปรุงคิดน้ีเอง เป็นสาเหตุที่แท้จริงของอารมณ์กิเลส ท้ังหลาย เป็นต้นว่าโกรธ ไม่ใช่รูป ไม่ใช่เสียง ไม่ใช่ เรื่อง ที่ท�ำให้เกิดอารมณ์กิเลสเหล่านั้น ดังท่ีมีผู้เข้าใจ ผดิ กนั เปน็ อนั มาก ดงั ไดย้ กตวั อยา่ งแลว้ วา่ รปู เดยี วกนั เสยี งเดยี วกนั เรอ่ื งเดยี วกนั มไิ ดท้ ำ� ใหผ้ ไู้ ดเ้ หน็ ผไู้ ดย้ นิ ผู้รับรู้ มีอารมณ์อย่างเดียวกัน ผู้หนึ่งอาจจะชอบ ผู้หนึ่งอาจจะไม่ชอบ ทั้งนี้แล้วแต่การปรุงของใจซึ่งไม่ เหมือนกัน ความรู้สึกเป็นสุข ความรู้สึกเป็นทุกข์

64 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ การทำ� สตเิ พยี รพยายามอบรมใจใหค้ ดิ ปรงุ ไปในทางทจี่ ะ ให้ความสุขเกิดมิใช่ให้ความทุกข์เกิด จึงเป็นส่ิงส�ำคัญ ท่ีไม่ควรมีผู้ใดมองข้ามไปเสียอย่างไม่สนใจ โทสะหรือ ความโกรธเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ความทกุ ขร์ อ้ น การคดิ ปรงุ ไป ในทางท่ีจะไม่ให้โทสะเกิด จึงเป็นส่ิงควรอบรมให้เกิด มีขน้ึ ได้กล่าวมาแล้วถึงความโกรธ ท่ีเกิดจากเสียงไม่ ถกู หแู ละรปู ไมถ่ กู ตา ซง่ึ แยกออกไปมากมายหลายอยา่ ง บดั นมี้ าลองแยกความโกรธทเ่ี กดิ จากเรอื่ งไมถ่ กู ใจ ซงึ่ ก็ มมี ากมายหลายอย่างเหมือนกนั เคยมผี เู้ ลา่ เรอื่ งการโกงการกนิ ทน่ี น่ั ทนี่ อ่ี ยา่ งโกรธ เคืองว่าไม่น่าจะท�ำกันได้ถึงเช่นน้ัน ผู้เล่าไม่ชอบใจเลย อเนจอนาถใจมากคอื โกรธมากนนั่ เอง บางผมู้ าเลา่ เรอ่ื ง ความเลอะเทอะเหลวไหลของสงั คมปจั จบุ นั อยา่ งรงั เกยี จ ชิงชัง ยังมีเรื่องท่ีไม่ถูกใจอีกหลายเรื่อง ซึ่งแต่ละท่าน อาจจะนึกเพ่ิมเติมได้ด้วยตนเอง เช่นเดียวกันกับเสียง ไมถ่ กู หแู ละรปู ไมถ่ กู ตา เพราะเหตผุ ลเดยี วกนั คอื ทกุ คน

รักษาจิตให้คิดในทางท่ีถูก 65 ท่ีเป็นปุถุชนย่อมจะมีเร่ืองไม่ถูกใจตนอยู่ด้วยกันทั้งนั้น และไมต่ รงกนั กม็ เี ปน็ อนั มาก ดงั ตวั อยา่ งบางคนไมพ่ อใจ การโกงการกินท่ีนั่นท่ีน่ี แต่ขณะเดียวกันบางคนพอใจ น้ีรู้ได้จากการท่ีเมื่อมีผู้ท�ำก็แสดงว่ามีผู้พอใจ บางคน รงั เกยี จความเลอะเทอะเหลวไหลของสงั คมปจั จบุ นั แต่ ขณะเดียวกันบางคนนิยมชมชอบ ซ่ึงก็รู้ได้จากการท่ีมี ผู้ปฏิบัติเช่นน้ันอยู่ ก็แสดงว่ามีผู้ชอบใจ ท้ังน้ีก็อยู่ที่ การปรุงของจิตใจเช่นเดียวกัน ปรุงให้เห็นเป็นดีงาม กป็ รงุ ใหช้ อบ ปรงุ ใหเ้ หน็ เปน็ ไมด่ ไี มง่ าม กป็ รงุ ใหไ้ มช่ อบ แต่ส�ำหรบั ตัวอย่างทย่ี กมากลา่ วขา้ งต้น การปรงุ ให้ชอบหรือไม่ชอบ ไม่เกิดผลดีแก่จิตใจตนเองท้ังสอง ประการ การปรงุ ใหช้ อบเรอื่ งโกงกนิ ทำ� ใจใหน้ ยิ มยนิ ดี ในการกระท�ำเพ่ือโกงกิน ย่อมเป็นผลเสียอย่างย่ิง ทั้ง แกจ่ ติ ใจตนเองและทงั้ แกส่ ว่ นรวม การปรงุ ใจใหไ้ มช่ อบใจ เมื่อได้ฟังเร่ืองโกงกินท�ำให้เกิดโทโส ก็เป็นการท�ำใจ ตนเองให้ร้อนเป็นทุกข์

66 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ วธิ ปี รงุ ทค่ี วรนำ� มาปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลในเรอ่ื งดงั กลา่ ว จงึ นา่ จะปรงุ ไปในทางทจ่ี ะสามารถทำ� ใจใหไ้ มไ่ ปนยิ มชม ชอบด้วยและไม่ไปโกรธขึ้งด้วย รักษาใจไว้ให้สงบ เยือกเย็นได้ ไม่ว่าในเรื่องใดก็ตามเป็นส่ิงส�ำคัญ ท้ังน้ี มไิ ดห้ มายความวา่ จะทำ� ใจใหไ้ มส่ นใจรบั รใู้ นเรอื่ งใดเสยี เลย ไมป่ ฏบิ ตั กิ ารใดๆ เพอ่ื ใหเ้ หมาะใหค้ วรตอ่ เรอื่ งใดๆ เสยี เลย





ฝึกจติ ให้มคี วามสงบ การบรหิ ารจติ คอื การฝกึ อบรมจติ ใหม้ คี วามสงบ เยอื กเยน็ เปน็ สขุ ขณะเดยี วกนั รวู้ า่ อะไรผดิ อะไรถกู อะไร ควรแกไ้ ข อะไรควรสง่ เสรมิ อยา่ งไร และเมอ่ื รแู้ ลว้ กค็ วร ปฏบิ ตั เิ พอื่ แกไ้ ข หรอื สง่ เสรมิ ใหเ้ หมาะใหค้ วร คอื ปฏบิ ตั ิ เพอื่ แกไ้ ขสงิ่ ทคี่ วรไดร้ บั การแกไ้ ข และสง่ เสรมิ สงิ่ ทคี่ วร ได้รับการส่งเสริม การบริหารทางจิตมิใช่เพียงเพ่ือฝึก อบรมจิตใจให้สงบเยือกเย็นเป็นสุขอย่างไม่รับรู้เลยว่า อะไรถกู อะไรผดิ อะไรควรแก้ไข อะไรควรส่งเสรมิ อนั จติ ทไ่ี ด้รับการฝึกอบรมในทางท่ีถูกนั้น ต้อง เปน็ จติ ทมี่ คี วามสงบเยอื กเยน็ เปน็ สขุ และมที ง้ั ปญั ญา ย่ิงข้ึน และปัญญาท่ีมีความสงบเป็นพื้นฐานนี้แหละ

70 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ที่จะท�ำให้มีความรู้ในสิ่งท่ีควรรู้ เห็นในส่ิงที่ควรเห็น เชน่ ความผดิ ถูก ความควรไมค่ วร รวู้ ธิ ปี ฏิบัติตอ่ สิง่ เหล่านัน้ อยา่ งถูกต้อง ผปู้ รารถนาความสงบ เยอื กเยน็ เปน็ สขุ และความ มปี ญั ญารเู้ หน็ อะไรๆ โดยชอบ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งบรหิ ารจติ และจ�ำเป็นต้องบริหารตามหลักของพระพุทธศาสนา จงึ จะไดผ้ ลสมดังปรารถนานัน้ ข้อว่า จิตท่ีได้รับการฝึกอบรมอย่างถูกต้อง จะ เปน็ จติ ทมี่ คี วามสงบเยอื กเย็นเปน็ สขุ และมปี ญั ญารใู้ น สง่ิ ทค่ี วรรู้ เหน็ ในสง่ิ ทคี่ วรเหน็ เชน่ รคู้ วามถกู ความผดิ ความควรความไมค่ วรและรวู้ ธิ ใี นสง่ิ เหลา่ นน้ั อยา่ งถกู ตอ้ ง หมายความว่ารู้วิธีปฏิบัติเพื่อแก้ไขหรือส่งเสริมเร่ือง ทง้ั หลาย โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชอ้ ำ� นาจอารมณก์ เิ ลส เชน่ ไม่จ�ำเป็นต้องโลภ จึงจะขยันหมั่นเพียรประกอบอาชีพ เพอื่ ใหไ้ ดท้ รพั ยส์ นิ เงนิ ทอง ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งโกรธ จงึ จะวา่ กลา่ วตกั เตอื น หรอื ลงโทษผทู้ กี่ ระทำ� ความผดิ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งหลง จงึ จะสามารถทำ� เหมอื นไมร่ ไู้ มเ่ หน็ สงิ่ ทไ่ี มค่ วร รู้ไมค่ วรเห็นเสยี ได้

ฝึกจิตให้มีความสงบ 71 ก�ำลงั ท่เี กดิ จากกเิ ลสคอื โลภะ หรอื โทสะ หรือ โมหะ ไมใ่ ชอ่ ยา่ งเดียวกับการปฏบิ ตั ิอยา่ งถูกต้องท่ีเกิด จากปัญญาอันเห็นถูกเห็นผิดในเร่ืองท้ังหลาย ทั้งยัง แตกตา่ งจากกนั เปน็ อนั มาก กำ� ลงั ทเ่ี กดิ แลว้ เพราะกเิ ลส ทำ� ใหก้ ารปฏบิ ตั ติ อ่ เรอ่ื งราวทง้ั หลายเปน็ ไปอยา่ งผดิ พลาด โดยมาก แต่ความรู้การควรไม่ควรที่เกิดจากปัญญา ทำ� ใหก้ ารปฏบิ ตั ติ อ่ เรอ่ื งราวทง้ั หลายเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง ไม่ผิดพลาด เม่ือต้องการปฏิบัติต่อเร่ืองราวที่เกิดข้ึน ทง้ั หลายใหไ้ ดถ้ กู ตอ้ งเสมอ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งบรหิ ารจติ ตาม หลักของพระพทุ ธศาสนา ใหก้ ิเลสลดน้อยลง อารมณ์ ลดน้อยลง จติ ใจสงบเยือกเยน็ และปญั ญาเจริญยิ่งข้นึ กเิ ลส คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง เปน็ โรครา้ ยทางใจ ทมี่ ิไดร้ ้ายนอ้ ยไปกว่าโรคร้ายทางกาย ที่ร้ายท่ีสุด เม่ือโรคร้ายเกิดข้ึนแล้วไม่ว่าจะทางกาย หรือทางใจ จ�ำเป็นจะต้องรักษา มิฉะนั้นก็จะก�ำเริบ ท�ำให้ถึงตายถ้าเป็นโรคทางกายและถึงท�ำให้เสียผู้ เสียคนถ้าเปน็ โรคทางใจ

72 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ คนที่เสียแล้วก็คือคนท่ีตายแล้วในทางชื่อเสียง และทางคณุ งามความดี จะกลา่ ววา่ โรครา้ ยทางใจมโี ทษ ร้ายแรงย่ิงกว่าโรคร้ายทางกายก็ไมผ่ ิด เพราะผู้ตายไป จรงิ ๆ ดว้ ยโรครา้ ยทางกายนน้ั ดกี วา่ ทผี่ ตู้ ายแลว้ ในทาง ชื่อเสียงและคุณงามความดีด้วยโรคร้ายทางใจ กิเลส คือความโลภ ความโกรธ ความหลง ที่ไม่ได้รับการ ขัดเกลาแก้ไข จะท�ำให้เสียผู้เสียคนหรือตายทั้งเป็น ได้จริง ผู้ที่ไม่ประสงค์จะได้ช่ือว่าเป็นคนตายท้ังเป็น คือเส่ือมเสียท้ังชื่อเสียงเกียรติยศคุณงามความดี จึง จำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ พอื่ ขดั เกลาแกไ้ ข ความโลภ ความโกรธ ความหลง ที่มอี ยู่ในใจของสามัญชนทกุ คน แตกตา่ งกันแต่เพียงมากหรือนอ้ ยเท่าน้ัน





สำ� คัญ ท่คี วามคิด ความโกรธเกิดจากเหตตุ ่างๆ กนั เปน็ ตน้ วา่ เกดิ จากความไมถ่ กู หู ไมถ่ กู ตา ไมถ่ กู ใจ ความไมถ่ กู ทง้ั สาม ประการนย้ี งั แยกออกไปอกี มากมายหลายอยา่ ง โอกาส ทคี่ วามโกรธจะเกดิ ขนึ้ จงึ มมี ากมาย ลองแยกความโกรธ ทเี่ กดิ จากเสียงไม่ถูกหเู ป็นประการแรก เคยได้ยินผู้บ่นว่า ได้ยินเสียงคนน้ันพูดคนนี้พูด ทีไรใจหงุดหงิดทุกที เสียงไม่ถูกหูเลย ทั้งๆ ท่ีก็ไม่ได้ โกรธเคอื งดว้ ยเรอ่ื งอะไร มนั ไมช่ อบฟงั จรงิ ๆ เมอื่ ไดฟ้ งั ก็หงุดหงิด ถึงกลายเป็นความโกรธก็มี บางคนเล่าว่า ไดย้ นิ เสยี งคนบบี แตรรถแลว้ เกดิ โกรธทกุ ที กำ� ลงั อารมณ์ ดอี ยกู่ อ็ ารมณเ์ สยี เพราะเสยี งแตรรถนนั่ เอง บางคนไดย้ นิ

76 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ เสยี งเดก็ รอ้ งไมไ่ ด้ หวั เสยี มาก บางคนไดย้ นิ เพอื่ นบา้ น เปดิ วทิ ยดุ งั ๆ แลว้ อยากจะเอาอะไรขวา้ งเพราะความโกรธ บางคนไดย้ นิ คนพดู ออ่ นหวานมากไปกห็ งดุ หงดิ รำ� คาญ หมนั่ ไสแ้ ละโกรธ บางคนไดย้ นิ เดก็ สมยั ใหมพ่ ดู กนั ดว้ ย ภาษาศพั ทส์ แลงสมยั ใหมไ่ มเ่ รยี บรอ้ ย กร็ ำ� คาญและโกรธ ยงั มเี สยี งไมถ่ กู หอู กี หลายประการ ซง่ึ แตล่ ะทา่ นอาจจะ นึกเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพราะทุกคนท่ีเป็นปุถุชน ย่อมจะมีเสียงที่ไม่ถูกหูของตนอยู่ด้วยกันท้ังนั้น และ ไม่ตรงกันก็มี เช่น เสียงที่ถูกหูคนหนึ่งกลับเป็นเสียง ทไี่ มถ่ กู หอู กี คนหนง่ึ ดงั ตวั อยา่ ง บางคนไดย้ นิ เสยี งเดก็ ร้องแล้วสนุกถึงกับอุตส่าห์ยั่วให้เด็กที่ไม่ร้องร้องจนได้ ขณะทบี่ างคนไดย้ นิ แลว้ หวั เสยี โกรธ บางคนเปดิ วทิ ยดุ งั ลน่ั แลว้ สบายใจ บางคนไดย้ นิ เสยี งวทิ ยนุ นั้ ลน่ั ๆ แลว้ เกดิ โทสะ บางคนได้ยินเสียงเด็กสมัยใหม่พูดกันแล้วสนุก ขบขัน ขณะที่บางคนรำ� คาญหูโกรธ พจิ ารณาตามตัวอย่างที่ยกมาน้ี จะเหน็ วา่ สาเหตุ เดียวกันแต่ก่อให้เกิดผลไม่เหมือนกัน คนหน่ึงชอบ คนหนึ่งไม่ชอบ จึงน่าจะพิจารณาให้ลึกลงไปว่า ท�ำไม จงึ เปน็ เชน่ นัน้

ส�ำคัญท่ีความคิด 77 ท�ำไมเสียงเดียวกัน จึงถูกหูคนหนึ่งและไม่ถูกหู อีกคนหน่ึง ถ้าพิจารณาให้ดีจะเห็นว่า เป็นเพราะใจ ของคนท้ังสองไม่เหมือนกัน จึงท�ำให้เสียงเดียวกัน มี ความหมายตรงกนั ข้ามไปได้ตามอำ� นาจของใจ และถา้ พจิ ารณาตอ่ ไปอกี กน็ า่ จะเหน็ วา่ ตามลำ� พงั เสยี งใดกต็ าม ย่อมไม่เป็นเหตุแห่งความชอบหรือไม่ชอบของผู้ใด ความชอบหรอื ไมช่ อบ ถูกหหู รือไมถ่ กู หู เกิดจากใจทมี่ ี การปรงุ คดิ ใจปรงุ คดิ วา่ ดี ใจกป็ รงุ วา่ นา่ ชอบและกช็ อบ ใจปรุงคิดว่าไม่ดี ใจก็ปรุงว่าไม่น่าชอบและก็ไม่ชอบ ความชอบหรือไม่ชอบท่ีใจปรุงคิดนี้แหละ ท่ีเป็นเหตุ อนั แท้จริงของความโกรธหรือไม่โกรธ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ความปรุงของใจเป็นสิ่ง ส�ำคัญ ท�ำความรู้ความเข้าใจในเรื่องความปรุงของใจ เสียก่อน ให้เห็นแน่ชัดเสียก่อนว่า ความโกรธหรือ ไมโ่ กรธ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากเสยี งภายนอกทม่ี ากระทบประสาท หู แตค่ วามโกรธหรอื ไมโ่ กรธ ชอบหรอื ไมช่ อบ เกดิ จาก ความปรงุ คดิ แทๆ้ ความปรงุ คดิ ของใจเรานแี้ หละ ทท่ี ำ� ให้ เกดิ ความชอบหรอื ไมช่ อบ ความโกรธหรอื ไมโ่ กรธ เมอ่ื

78 วิธีฝึกใจไม่ให้โกรธ ความชอบหรือไม่ชอบ โกรธหรือไม่โกรธเกิดได้เพราะ ความปรุงคิด จงึ มไิ ดเ้ กิดเพราะบุคคลภายนอก แตเ่ กิด จากตัวเองเท่าน้ัน ตัวเองนี้แหละเป็นเหตุให้ชอบหรือ ไม่ชอบ โกรธหรือไม่โกรธ เวลาเกิดความไม่ชอบหรือ ความโกรธจึงควรมีสติรู้ว่าตนเองเป็นผู้ท�ำให้เกิด ไม่มี ผู้อื่นมาท�ำ เมื่อใจไม่ส่งออกไปโทษผู้อื่นว่าเป็นเหตุ ใจรบั ความจรงิ วา่ ตนเองเปน็ เหตุ ความโกรธกจ็ ะลดนอ้ ย ถงึ หยดุ ลงได้ สำ� คญั ตอ้ งมสี ตริ วู้ า่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เกิดข้ึนเพราะความปรุงในจิตใจของเราเอง มไิ ด้เกดิ ข้นึ เพราะบุคคลหรอื วตั ถภุ ายนอก น่ีพูดถึงเมื่อความโกรธเกิดขึ้นแล้ว ให้ดับด้วย การมีสติรู้ความจริงว่าตนเองเป็นผู้ท�ำ แต่ถ้าพูดถึง การป้องกันมิให้ความโกรธเกิด จะต้องฝึกให้สติเกิด เร็วขึ้นอีก และดังกล่าวแล้วในตอนต้นๆ จะต้องฝึกให้ เกิดเหตุผลและปัญญา รวมทั้งเมตตากรุณาด้วย การ ฝึกในเรื่องเหล่าน้ีจ�ำเป็นต้องท�ำเม่ือความโกรธยังไม่ เกิดขนึ้ ในจิตใจ หรอื เมือ่ เกิดแลว้ แต่ดบั แล้ว

ส�ำคัญท่ีความคิด 79 เมตตากรุณาเป็นความรู้สึกตรงกันข้ามกับความ โกรธ ผทู้ ี่มีเมตตากรุณาในผู้ใดอยู่ ความโกรธในผูน้ น้ั จะเกิดไม่ได้เพราะเมตตาหมายถึงความปรารถนาให้ เปน็ สขุ กรณุ าปรารถนาจะชว่ ยใหพ้ ้นทุกข์ เมอื่ มีความ รู้สึกดังกล่าวอยู่ในใจ ความโกรธย่อมเกิดไม่ได้เป็น ธรรมดา การเจริญเมตตาจึงเป็นการแก้ความโกรธท่ี ได้ผล ผเู้ จรญิ เมตตาอยเู่ สมอ เปน็ ผไู้ มโ่ กรธงา่ ย ทง้ั ยงั มจี ติ ใจเยอื กเยน็ เปน็ สขุ ดว้ ยอำ� นาจของเมตตาอกี ดว้ ย ผใู้ ดรสู้ กึ วา่ จติ ใจเรา่ รอ้ นนกั เมอ่ื เจรญิ เมตตาจะไดร้ สู้ กึ ว่าเมตตามคี ณุ แก่ตนเองเพียงไร แม้เมื่อเจริญเมตตาจะปรารถนาให้ผู้อ่ืนเป็นสุข แต่ผู้จะได้รับผลแห่งความสุขก่อนใครท้ังหมด คือตัว ผู้เจริญเมตตาเอง เช่นเดียวกับการคิดดีพูดดีท�ำดีทุก อย่าง ผู้ที่ได้รับผลของความดีก่อนใครท้ังหมดคือตัวผู้ ท�ำเอง และผู้ได้รับผลของความดีมากกว่าใครท้ังหมด ก็คือตัวผู้ท�ำเอง จึงควรคิดดูว่าน่าจะคิดดีพูดดีท�ำดีกัน เพียงใดหรือไม่




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook