A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 ห้องภาพสัตว์ป่าไทย 32 ท่ีปรึกษา บทความพเิ ศษ 9 สาระวิทย์ในศิลป์ 33 เปดิ โลกนิทานดาว 39 ณรงค์ ศริ เิ ลิศวรกลุ ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย 13 ออ๋ ! มันเป็นอยา่ งนี้นเี่ อง 44 จุฬารตั น์ ตนั ประเสรฐิ ปั�้น้ น้ำ��ำ เป็น็ ปลา 45 จุมพล เหมะคีรินทร์ หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก 18 Sci Quiz 46 ค�ำ คมนกั วิทย์ 49 บรรณาธกิ ารผู้พมิ พ์ผู้โฆษณา Sci Infographic 16 ร้อยพนั วทิ ยา 19 กุลประภา นาวานเุ คราะห์ สภากาแฟ 26 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ ENdiototer’s นำ�ชยั ชวี วิวรรธน์ โอมิิครอน สั่่�นคลอนโลก บรรณาธกิ ารบริหาร โควิิดสายพัันธุ์�์ใหม่่ “โอมิิครอน” (Omicron) หรืือที่�หลายสื่ �อเรีียกว่่า “โอไมครอน” ที่�เริ่�มพบการแพร่่ระบาดใน หลายพื้้�นที่�ทั่�วโลกโดยเริ่�มมาจากในทวีีปแอฟริิกาก่่อน และขยายไปสู่�หลายประเทศจนทำำ�ให้้เกิิดความกัังวลว่่า ปริทัศน์ เทียนทอง จะต้้องมีีมาตรการเข้ม้ งวดออกมาอีกี ครั้�ง จนชะลอตััวการฟื้้�นฟููเศรษฐกิจิ และสังั คมของโลก กองบรรณาธิการ แต่โ่ อมิิครอนดููเหมือื นว่่าจะเกิดิ อาการไม่ร่ ุุนแรงในผู้้�ป่ว่ ยที่่�มีภี ูมู ิพิ อสมควรจากวััคซีนี หรืือเคยติิดเชื้�อมาก่่อน แต่่ถ้า้ ไวรััสเข้้าถึึงผู้�ที่�ไม่่มีีภููมิิคุ้�มกัันมากพอ หรืือกลุ่�มเปราะบางอาจพบอาการรุุนแรงได้้ คุุณผู้้�อ่่านสามารถติิดตาม รักฉัตร เวทวี ุฒาจารย์ อ่า่ นบทความ “ว่า่ ด้ว้ ยโควิดิ สายพันั ธุ์ใ์� หม่่ โอมิคิ รอน” ในคอลัมั น์ส์ ภากาแฟของอาจารย์ป์ ๋ว๋ ย อุ่�นใจ เพื่่อ� ทำำ�ความรู้้�จัก วชั ราภรณ์ สนทนา กับั โควิดิ สายพันั ธุ์ใ�์ หม่่ “โอมิิครอน” ให้้มากยิ่�งขึ้�น ในนิติ ยสารสาระวิิทย์์ฉบับั นี้้ไ� ด้้ อาทิตย์ ลมลู ปล่ัง วีณา ยศวงั ใจ ในส่่วนของ ไบโอเทค-สวทช. ได้้เชิิญชวนคนไทยร่่วมกัันสนัับสนุุนเงิินทุุนทดสอบ \"วััคซีีนโควิิด 19 แบบพ่่นจมููก ภทั รา สัปปนิ ันทน์ NASTVAC (แนสแว็็ก)” ในมนุุษย์์ ซึ่�งทีีมวิิจััยมุ่�งหวัังผลัักดัันให้้วััคซีีนต้้นแบบนี้้น� ำำ�ไปทดสอบวิิจััยทางคลิินิิกในอาสา สมััครต่่อไป นักเขียนประจำ� โดยร่ว่ มบริจิ าคเงินิ ผ่า่ นบัญั ชีธี นาคารกรุุงเทพ สาขาอุุทยานวิทิ ยาศาสตร์ป์ ระเทศไทย ชื่อ� บัญั ชีี “เงินิ บริจิ าคกองทุุน รวศิ ทศั คร เพื่่อ� การพัฒั นาวิทิ ยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยี”ี เลขที่่�บัญั ชีอี อมทรัพั ย์์ 080-0-13324-1 พร้อ้ มระบุุข้อ้ ความ “บริจิ าค พงศธร กจิ เวช วััคซีีนโควิิด-19” ในสลิิปการโอนเงิิน และส่่งหลัักฐานมาที่� line@: @nastvacforthai (หรืือคลิิก https://lin.ee/ ป๋วย อุน่ ใจ วรศิ า ใจดี ☺Rlcy2C7) ผู้�บริิจาคสามารถใช้ห้ ลักั ฐานการบริิจาคเพื่่อ� “ลดหย่อ่ นภาษีีได้้ 2 เท่า่ ” บรรณาธกิ ารศลิ ปกรรม แล้ว้ พบกัับนิติ ยสารสาระวิิทย์ไ์ ด้ใ้ หม่ใ่ นฉบัับต้้อนรัับปีใี หม่่ พ.ศ. 2565 ครับั จฬุ ารตั น์ น่มิ นวล ปริิทัศั น์์ เทีียนทอง บรรณาธิิการ ศิลปกรรม เกิดศริ ิ ขันตกิ ติ ตกิ ุล ผูผ้ ลติ ฝา่ ยสร้างสรรคส์ ื่อและผลิตภณั ฑ์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม 111 อุทยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดตอ่ กองบรรณาธิการ โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 อเี มล [email protected]
Cover Story ฝา่ ยสรา้ งสรรคส์ ่ือและผลิตภณั ฑ์ สวทช. ThaiSC บริิการ Supercomputer ผลักั ดัันวิิจัยั เชิิงลึกึ หนุุนแก้้ปัญั หาวิกิ ฤตประเทศ โลกทุุกวัันนี้้�ขับั เคลื่อ่� นด้ว้ ยข้อ้ มูลู ขนาดใหญ่่ หรืือ big data องค์์กรชั้้�นนำำ�ทั่่ว� โลกต่่างใช้้เทคโนโลยีี คำ�ำ นวณในการวิิเคราะห์์ข้้อมููลและจำ�ำ ลองแบบเพื่�่อการวิิจััยและพััฒนางานที่่�มีีความท้้าทายสููง เพื่�่อ ทลายขีีดจำ�ำ กัดั ของกรอบงานเดิมิ ในบางกรณีีสามารถลดเวลาในการพััฒนาผลิติ ภัณั ฑ์จ์ าก 6 เดืือน เหลืือเพีียง 2 สัปั ดาห์เ์ ท่า่ นั้้น� อย่า่ งไรก็ต็ ามที่่ผ� ่า่ นมามีีองค์ก์ รเพีียงส่ว่ นน้อ้ ยที่่ว� ิจิ ัยั โดยใช้แ้ บบจำ�ำ ลอง ที่่�แม่่นยำ�ำ สมจริิง หรืือนำำ� big data มาใช้้งานได้้อย่่างเต็็มประสิิทธิิภาพ เนื่่�องด้้วยระบบซููเปอร์์- คอมพิิวเตอร์์ (supercomputer) ที่่ต� อบโจทย์์เหล่า่ นี้้ไ� ด้อ้ ย่่างรวดเร็ว็ ด้้วยเทคนิคิ การประมวลผล สมรรถนะสูงู (High Performance Computing: HPC) มีีราคาเครื่�อ่ งสููงตั้้�งแต่่หลักั สิิบล้้านไป จนถึงึ หลัักหมื่น�่ ล้้านบาท อีีกทั้้ง� ต้้องมีีผู้้�เชี่่ย� วชาญเฉพาะทางในการดูแู ลรัักษาระบบ จึงึ เป็น็ การยาก แก่่การลงทุุนเพื่่�อใช้ง้ านในเฉพาะองค์ก์ ร ธนั วาคม 2564 3
Cover Story ดร.มนัสั ชัยั คุุณาเศรษฐ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ การท�ำ งานดา้ น HPC แกภ่ าครฐั และเอกชน น�ำ รอ่ งหนว่ ยงานภายนอกแลว้ บางสว่ น ท่ี เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ม่งุ เสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน ผ่านมามีผู้ใชง้ านประมาณ 250-300 คน เลง็ เหน็ ถงึ ความส�ำ คญั ดงั กลา่ ว และไดร้ บั ของประเทศ ต่อปี ให้บริการไปแล้ว 55 ล้านช่ัวโมง ภารกิจในการยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ดร.มนัสชัย คุณาเศรษฐ หัวหน้า คำ�นวณ (core-hour) เทยี บเทา่ กบั การใช้ ด้านการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ ทีมวิจัยศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพ่ือ คอมพวิ เตอรท์ ่วั ไปประมาณ 680 ปี และ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ การคำ�นวณขั้นสูง (ThaiSC) สวทช. คาดวา่ ในปี พ.ศ. 2565 ThaiSC จะสามารถ (National S&T Infrastructure: NSTI) จงึ กลา่ ววา่ ThaiSC ได้ด�ำ เนินงานใหบ้ รกิ าร เปิดให้บริการเฟสที่สองแก่ภาครัฐและ ได้จัดต้ัง “ศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ในเฟสแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 โดยให้ เอกชนท่วั ประเทศ เพอื่ การค�ำ นวณขนั้ สงู (NSTDA Super- บริการซูเปอร์คอมพิวเตอร์ระบบ TARA “โดยระบบซูเปอร์คอมพิวเตอร์ท่ีจะ computer Center: ThaiSC)” ขน้ึ ในปี ทม่ี ี CPU 4,320 cores, GPU NVIDIA V100 นำ�มาให้บริการในเฟสที่สองร่วมกับระบบ พ.ศ. 2562 ภายในพน้ื ทอี่ ทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ 28 ยูนิต, high performance storage TARA คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์รุ่นที่ดี ประเทศไทย ส�ำ หรบั ใหบ้ รกิ ารทรพั ยากรเพอ่ื ขนาด 700 TB แกบ่ ุคลากร สวทช. และ ทสี่ ุดของ Hewlett Packard Enterprise ธันวาคม 2564 4
Supercomputer Cover Story (HPE) หรอื “HPE Cray EX supercom- puter” ที่ประกอบด้วย CPU รุ่นล่าสุด จาก AMD EPYCTM เจนเนอเรชันที่ 3 (Milan) จ�ำ นวน 496 CPUs/31,744 cores และมี 704 NVIDIA A100 GPU ที่ได้ ประสทิ ธภิ าพการประมวลผลในทางทฤษฎี (peak performance) ถึง 13 petaflop ซึ่งจะเป็นระบบซูเปอร์คอมพิวเตอร์ท่ีมี ประสทิ ธภิ าพการค�ำ นวณสงู สดุ ในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากการจดั อนั ดบั ประสิทธิภาพซูเปอร์คอมพิวเตอร์ โดย top500.org และมีขีดความสามารถ การคำ�นวณที่สูงกว่าระบบคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสูงท่ี สวทช.มีอยู่เดิม (ระบบ TARA) ถงึ 30 เทา่ และมรี ะบบจดั เกบ็ ขอ้ มลู ความเร็วสูงอย่าง Cray ClusterStor E1000 ท่ีมีความจุรวม 12 เพตะไบต์ (petabytes) เชอื่ มตอ่ ดว้ ย HPE Slingshot Interconnect ท่ีความเร็ว 200 กิกะบิต ตอ่ วนิ าที (Gbps) โดยระบบระบายความ รอ้ นของซเู ปอรค์ อมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งนจ้ี ะใช้ เป็นระบบระบายความร้อนด้วยของเหลว (liquid cooling) ที่ใหป้ ระสทิ ธิภาพในการ ใช้พลังงานไฟฟ้า (PUE) ที่ดีทสี่ ดุ อกี ดว้ ย เทคโนโลยีใหม่นี้จึงมีประสิทธิภาพสูง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และช่วยลด การใชพ้ ลังงานไดเ้ ป็นอยา่ งมาก” ดร.มนัสชัยเสริมว่านอกจากการให้ บรกิ ารทรพั ยากรคอมพวิ เตอรแ์ ลว้ ThaiSC ยังมีทีมนักวิจัยและวิศวกรผู้เช่ียวชาญ ทางดา้ นเทคโนโลยี HPC (HPC Applica- tion Specialist) ท่ีสามารถให้คำ�แนะนำ� เรือ่ งการใชง้ านเทคโนโลยี HPC แกผ่ ู้ใช้ บริการใน 4 ด้านหลัก คือ การคำ�นวณ ธันวาคม 2564 5
Cover Story หน้้าจอแสดงการทำำ�งานของเครื่�่อง Supercomputer ปัญญาประดิษฐ์ ท่ีต้องใช้ระบบ HPC ในข้ันตอนการสอน (training) AI โมเดล หรือประมวลผลทางด้านชีวสารสนเทศ และการแพทย์ ทตี่ อ้ งจดั เกบ็ และวเิ คราะห์ ท่ีมีความซับซ้อนและแม่นยำ�สูง โดยใช้ (bioinformatics), วิศวกรรม, เคมี-ฟสิ กิ ส์ ขอ้ มลู รหสั พนั ธกุ รรมปรมิ าณมหาศาลของ ข้อมูลขนาดใหญ่ในการพัฒนา ก้าวข้าม และ AI (artificial intelligence) ขนั้ สูง คน พืช สัตว์ และจลุ ินทรีย์ เพ่ือน�ำ ข้อมูล การพัฒนาโมเดลขนาดเล็กสู่เทคโนโลยี ที่ได้ไปใชต้ อ่ ยอดในงานวจิ ยั หรอื การพฒั นา และการประยกุ ต์ใชข้ น้ั สงู ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ThaiSC ขัับเคลื่่อ� นตอบโจทย์์ อาทิ การพัฒนาระบบการแพทย์แม่นยำ� เช่น digital twins, smart city, AI ด้าน การวิจิ ััย 5 ด้้าน และการยกระดบั ผลติ ภณั ฑท์ างการเกษตร การแพทย์ เพ่ือตอบสนองการพัฒนาเศรษฐกิจ “ด้านที่ 3. อุตสาหกรรมการผลิตที่ ดร.มนัสชัยอธิบายว่าจากข้อมูลการ ฐานชีวภาพตามโมเดลเศรษฐกิจบีซีจี เกย่ี วกบั วสั ดศุ าสตร์ เคมภี ณั ฑ์ และสารสกดั ใหบ้ รกิ ารในเฟสแรก ท�ำ ใหเ้ หน็ ถงึ แนวโนม้ (BCG Economy Model) ซึ่งเป็นวาระ จากธรรมชาติ ซ่งึ จะมกี ารท�ำ แบบจำ�ลอง ความตอ้ งการใชง้ านเทคโนโลยี HPC ของ แห่งชาติในปัจจุบัน 2. เทคโนโลยี ในระดับอะตอมเพื่อคาดการณ์ลักษณะ ประเทศไทยใน5ดา้ นหลกั 1.ชวี สารสนเทศ ทางเคมีและชีวภาพ เช่น การพัฒนายา วคั ซนี อตุ สาหกรรมเคมชี วี ภาพ แบตเตอรี่ และการพัฒนาวัสดุล้ำ�ยุคต่างๆ 4. การ ทำ�แบบจำ�ลอง (simulation) ในภาค อุตสาหกรรม เพื่อจำ�ลองการทำ�งาน หรือทดสอบประสิทธิภาพของระบบและ ผลติ ภณั ฑ์ เชน่ การทดสอบประสทิ ธภิ าพ ของยานยนต์ในด้านความเร็วและความ ปลอดภัย เพอ่ื ลดการลงทนุ สรา้ งต้นแบบ เทคโนโลยี ชว่ ยลดระยะเวลาในการทดสอบ ธนั วาคม 2564 6
Cover Story และสดุ ท้ายคือ 5. การใชป้ ระโยชน์เพอ่ื ดร.มนัสชัยกล่าวว่า ตัวอย่างสำ�คัญ ใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์เพ่ือการดำ�เนิน สังคม เช่น การค�ำ นวณคาดการณ์สภาพ เช่น ในช่วงภาวะวิกฤตโรคโควิด 19 โครงการถอดรหัสจีโนมไวรัสสายพันธุ์ อากาศ การจ�ำ ลองภยั พบิ ตั ิ หรอื คาดการณ์ ระบาดในไทย ThaiSC ได้ใหก้ ารสนบั สนนุ SARS-CoV-2 ท่ีระบาดในประเทศไทย ระดับค่ามลพิษของประเทศ เพื่อแจ้งให้ การทำ�วิจัยแก่หน่วยงานวิจัยต่างๆ เพื่อ โดยใชซ้ เู ปอรค์ อมพวิ เตอร์ในการประมวล ประชาชนและหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งไดร้ บั รับมือกับปัญหา อาทิ การสนับสนุน ผลยืนยันสายพันธ์ุไวรัส SARS-CoV-2 ทราบสถานการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนล่วงหน้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการดำ�เนิน ลดเวลาในการค�ำ นวณจาก 1 สปั ดาห์ เหลอื และสามารถรับมือกับเหตุการณ์ได้มี โครงการคัดสรรสารออกฤทธ์ิต้านไวรัส เพยี ง 2 ชวั่ โมง ท�ำ ใหส้ ามารถสง่ มอบขอ้ มลู ประสทิ ธิภาพมากขนึ้ ” โคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 ด้วยเทคนิค สายพันธ์ุไวรัส SARS-CoV-2 ที่กำ�ลัง ทางเคมีคำ�นวณข้ันสูง เพื่อใช้ซูเปอร์- ระบาดให้แก่หน่วยงานทางการแพทย์ ThaiSC แก้ป้ ัญั หาเร่ง่ ด่่วน คอมพวิ เตอร์ในการคดั กรองสารออกฤทธ์ิ สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการวางแผนรับมือ ระดัับชาติิ ทมี่ อี ยใู่ นยารกั ษาโรคทม่ี กี ารใชง้ านอยเู่ ดมิ การระบาดของโรคไดท้ ันการณ์ วา่ สามารถน�ำ มาใช้ในการยบั ยง้ั การท�ำ งาน “ล่าสุด ThaiSC ยังได้ร่วมกับกรม อีกหน่ึงเป้าหมายสำ�คัญในการให้ ของไวรัส SARS-CoV-2 หรือไวรัส ควบคุมมลพิษในการดำ�เนินโครงการ บริการของ ThaiSC คือ การสนับสนุน ก่อโรคโควิด 19 ได้หรือไม่ เพื่อช่วยลด ระบบการคาดการณ์สถานการณ์มลพิษ การแกป้ ญั หาระดบั ประเทศดว้ ยเครอื่ งมอื ระยะเวลาในการผลติ ยา (ขณะนน้ั ยงั ไม่มี ทางอากาศ เพื่อใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ส�ำ หรบั วเิ คราะหป์ ญั หาขนาดใหญท่ ต่ี อ้ งการ ยารักษาโรคโควิด 19 ที่มีประสิทธิภาพ) ในการคาดการณ์ปริมาณ PM2.5 ซ่ึง การประมวลผลด้วยความรวดเร็วและ และได้ใหบ้ รกิ ารแก่กล่มุ วจิ ยั COVID-19 สามารถประมวลผลได้เรว็ ข้ึนถึง 15 เทา่ แม่นยำ�สูง เพ่ือนำ�ไปสู่การตัดสินใจแก้ Network Investigations (CONI) ในการ จากเดมิ ใชเ้ วลาค�ำ นวณ 11.5 ชว่ั โมงตอ่ วนั ปัญหาได้อยา่ งทันท่วงที ธันวาคม 2564 7
Cover Story ลดลงเหลือเพียง 45 นาทีต่อวัน ทำ�ให้ HPC ในภมู ภิ าครว่ มกบั สหภาพยโุ รป (EU) มี ค ว า ม ค า ด ห วั ง ว่ า จ ะ ไ ด้ ส นั บ ส นุ น กรมควบคุมมลพิษสามารถคาดการณ์ ผา่ นกจิ กรรม EU-ASEAN HPC School การก้าวข้ามขีดจำ�กัดการทำ�งานของ สถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในพ้ืนท่ีท่ีมีความ ท่ีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพเม่ือเดือน คนไทย และมีส่วนในการช่วยยกระดับ เส่ียงสงู อาทิ 9 จังหวัดในภาคเหนอื ของ กรกฎาคมทผี่ า่ นมา ซงึ่ นอกจากจะสง่ ผลดี ขีดความสามารถการแข่งขันของไทย ประเทศ กรงุ เทพมหานคร และปรมิ ณฑล ในดา้ นการยกระดบั การท�ำ วจิ ยั และพฒั นา สู่ระดับสากล ได้ล่วงหน้าถึง 3 วัน เพื่อให้หน่วยงาน ของอาเซยี นแลว้ ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ที่เก่ียวข้องและประชาชนรับมือได้ทัน ในการทำ�วิจัย การพัฒนากำ�ลังคนด้าน ตอ่ สถานการณ์” HPC ของประเทศ และการแบง่ ปนั ขอ้ มลู ดร.มนัสชัยท้ิงท้ายว่า นอกจากการ การท�ำ วิจัยระหว่างประเทศ ซง่ึ จะสง่ ผลดี ใหบ้ รกิ ารโครงสรา้ งพน้ื ฐานแกค่ นไทยแลว้ ต่อการพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในอนาคต ปัจจุบัน ThaiSC ยังเป็นจุดเชื่อมต่อ อกี ดว้ ย ระหว่างนานาชาติกับประเทศไทยในการ ศนู ยท์ รพั ยากรคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การ สรา้ งความรว่ มมอื และเครอื ขา่ ยผเู้ ชย่ี วชาญ ค�ำ นวณขั้นสงู (ThaiSC) สวทช. มแี ผน ด้านซูเปอร์คอมพิวเตอร์ของโลก เช่น จะเปิดให้บริการแก่ผู้ ใช้งานท่ัวประเทศ การร่วมกับตัวแทนจากชาติในภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2565 ผูท้ ีส่ นใจสามารถศกึ ษา อาเซยี น (ASEAN HPC Taskforce) เพ่ือ รายละเอียดเพิ่มเติมและติดต่อขอใช้ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน HPC ใน บรกิ ารไดท้ ี่ https://thaisc.io/ หรอื อเี มล ระดับภูมิภาค หรือการพัฒนาบุคลากร [email protected] ศูนย์ ThaiSC ธนั วาคม 2564 8
บทความพเิ ศษ ภัทรา สปั ปนิ ันทน์ ทำำ�ความรู้จ้� ักั กับั เทคโนโลยีแี ห่่งอนาคต HPC และ Cloud ปจั จุบันโลกขับเคล่ือนด้วยข้อมูลปริมาณมหาศาลหรือ โดยทั่วไปเทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผล big data จะมี ทเ่ี รยี กกันว่า big data1 องค์กรช้นั น�ำ ทั่วโลกจึงตา่ ง อยู่ 2 เทคโนโลยีหลัก คือ เทคโนโลยี “High Performance ใช้เทคโนโลยีการคำ�นวณข้ันสูงในการประมวลผล วิเคราะห์ Computing” หรอื “HPC” ซงึ่ เปน็ เทคโนโลยเี พอ่ื การค�ำ นวณและ และสร้างแบบจำ�ลองท่ีแม่นยำ�สมจริง เพ่ือทลายขีดจำ�กัดใน ประมวลผลดว้ ยความเรว็ สงู หากเปรยี บเทียบเปน็ รถก็คือรถ F1 การทำ�วิจยั พฒั นา และใหบ้ รกิ าร ซึ่งอุปกรณห์ ลักท่ีใช้ในการ ทเ่ี กดิ มาเพอื่ ใช้ในการแขง่ ขนั ท�ำ ความเรว็ ในสนามแขง่ โดยเฉพาะ ท�ำ งานประเภทนกี้ ค็ อื เครอ่ื ง supercomputer หรอื คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงการใช้งานระบบ HPC อาจไมไ่ ด้งา่ ยหรอื สะดวกสบายส�ำ หรบั สมรรถนะสูงท่ีมีราคาตั้งแต่หลักสิบล้านบาทไปจนถึงมากกว่า คนทว่ั ไปนกั เพราะเทคโนโลยนี มี้ กี ารพฒั นาขน้ึ เพอื่ กลมุ่ เปา้ หมาย หมน่ื ล้านบาท ทเี่ ป็นนักวิจัยหรอื นักพัฒนาในภาคสว่ นต่างๆ โดยเฉพาะ สว่ นอีก 1 big data คือื ข้อ้ มููลที่ม่� ีีปริิมาณมาก (volume) มีีการเปลี่�่ยนแปลงอย่่างรวดเร็ว็ (velocity) และมีีประเภทหรือื แหล่ง่ ที่ม�่ าที่่ห� ลากหลาย ธนั วาคม 2564 9
บทความพเิ ศษ เทคโนโลยีที่หลายคนอาจคุ้นชินกับช่ือและใช้เคร่ือง super- มาใช้ในการวเิ คราะหท์ างวศิ วกรรม (computer aided engineering) computer2 ในการประมวลผลเช่นกันก็คอื ระบบ “Cloud” หรือ และการคำ�นวณพลศาสตร์ของไหล (computational fluid เทคโนโลยี cloud computing ซ่ึงเกดิ มาเพอ่ื การทำ�งานค�ำ นวณ dynamics) เพื่อลดเวลาและต้นทุนในการพัฒนายานยนต์ และประมวลผล big data เชน่ เดยี วกบั HPC แต่จะเนน้ ในเรือ่ ง สมรรถนะสูงท้ังในด้านความเร็วและความปลอดภัย ซึ่งปัจจุบัน การออกแบบระบบให้มีความเป็นมิตรกับผู้ใช้งานท่ัวไปมากกว่า มีการนำ�มาใช้ทดแทนการทำ�งานแบบเดิมท่ีต้องสร้างต้นแบบ ทำ�ใหผ้ ู้ใชง้ านทั่วไปร้สู กึ วา่ สามารถใชง้ านไดส้ ะดวกสบาย รถยนต์เพ่ือนำ�มาทดสอบสมรรถนะหลายครั้งคราจนกว่าจะได้ เมื่อพูดถึงคำ�ว่า supercomputer หรือเทคโนโลยีการ ผลงานออกแบบตามเป้าหมาย ทำ�ให้ต้องใช้เวลาในการพัฒนา ประมวลผลสมรรถนะสงู อย่าง HPC และ Cloud อาจเป็นสิง่ นานและส้ินเปลืองทรัพยากรและงบประมาณปริมาณมหาศาล ที่ใครหลายคนรู้สึกว่าไกลตัว แต่รู้หรือไม่ว่าเทคโนโลยีเหล่าน้ี นอกจากนนี้ วตั กรรมทกี่ �ำ ลงั เปน็ ทจี่ บั ตาในปจั จบุ นั อยา่ ง “ยานยนต์ ใกลต้ ัวกว่าที่เราคิด ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (autonomous vehicle)” ก็มีการใช้ HPC อาจไม่ได้ใกล้ตัวในแง่ของการท่ีคนทั่วไปเป็นผู้ใช้งาน เทคโนโลยี HPC เพ่ือพัฒนาความฉลาดของ AI ซ่ึงทำ�หน้าท่ี เทคโนโลยี แต่หลายผลิตภัณฑ์หรือบริการใกล้ตัวท่ีคนทั่วไปใช้ ควบคุมการขับเคลอ่ื นของยานยนต์ดว้ ยเช่นกนั กนั อยู่ในปจั จบุ นั ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยี HPC ในการท�ำ งาน ตวั อยา่ ง แรกคือการพัฒนายานยนต์ ผู้ผลิตจะมีการนำ�เทคโนโลยี HPC 2 supercomputer ที่�่ได้ช้ ื่่อ� ว่่าเป็็นพระเอกของยุุคนี้้� คือื “Fugaku” เครื่่�องสัญั ชาติญิ ี่ป่� ุ่่น� ซึ่่ง� มีีการตั้้�งชื่่อ� เรีียกตามภููเขาไฟฟููจิิ เป็็นผลงานการพััฒนาร่ว่ มกันั ระหว่่างศูนู ย์์วิจิ ััยแห่่งชาติิ RIKEN กัับบริิษััท Fujitsu เครื่่�องนี้้�โดดเด่น่ ด้ว้ ยการมีีประสิิทธิภิ าพด้้าน LINPACK (สนามแข่ง่ ทางตรงของ supercomputer) ที่�่ 442.01 PetaFLOPS มีี processor ที่ป�่ ระหยััดพลังั งานแต่่ทำำ�งานได้ร้ วดเร็ว็ กว่า่ รุ่�นเดิมิ ถึึง 2.5 เท่า่ โดยเครื่่อ� งนี้้�ได้้สร้้างผลงานที่ส่� ำำ�คััญมาแล้้วคืือการช่่วยพัฒั นา ความฉลาดให้้ AI สามารถจำำ�ลองรูปู แบบการเกิิดสึึนามิไิ ด้ถ้ ึงึ 20,000 รูปู แบบ ธันวาคม 2564 10
บทความพเิ ศษ ตวั อยา่ งทสี่ องคอื ผลติ ภณั ฑน์ วตั กรรมทม่ี สี ว่ นประกอบเปน็ โรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคอุบัติใหม่ รวมถึงการพัฒนายา จำ�เป็น สารจากธรรมชาติ เชน่ เวชส�ำ อาง อาหารทางเลือก อาหารสัตว์ ต้องใช้การวิเคราะหแ์ ละการค�ำ นวณขอ้ มูลปริมาณมหาศาล เช่น และชีวภัณฑ์ท่ีใช้ในภาคการเกษตร ก็มีการใช้เทคโนโลยี HPC การถอดรหสั พนั ธกุ รรมหรอื จโี นมกิ ส์ (genomics) ของผปู้ ว่ ยหรอื เพอ่ื การวเิ คราะหด์ า้ นชวี สารสนเทศ (bioinformatics)3 เพอ่ื คน้ หา กลุ่มประชากร เพื่อใช้ในการพัฒนาระบบการรักษาแบบแม่นยำ� สารสำ�คัญมาใช้ในการยกระดับผลิตภัณฑ์ และใช้ประโยชน์จาก (precision medicine) หรือในกรณีของการพบโรคอุบัติใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยให้เกิดประโยชน์ อย่างโควิด 19 ประเทศไทยก็มีการนำ�เทคโนโลยี HPC มาใช้ สงู สดุ 4 เพอ่ื ตอบสนองการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานชวี ภาพตามโมเดล ในการประมวลผลเพ่ือยืนยันสายพันธุ์ของไวรัส ซ่ึงช่วยลดเวลา เศรษฐกิจบีซีจี (BCG Economy Model) ซ่ึงเป็นวาระแห่งชาติ ในการคำ�นวณจาก 1 สัปดาห์ (คอมพิวเตอร์ทั่วไป) เหลือเพียง ในปัจจุบัน 2 ช่ัวโมง ทำ�ให้หน่วยงานทางการแพทย์สามารถใช้ข้อมูลใน สว่ นในภาคการบรกิ าร ตวั อยา่ งทส่ี �ำ คญั คอื อตุ สาหกรรมการ การวางแผนรบั มอื การระบาดของโรคได้อยา่ งทันท่วงที แพทย์ เพราะในการจะรกั ษาคนไข้ไดแ้ บบตรงจดุ การศกึ ษาเกย่ี วกบั 3 เทคโนโลยีีชีีวสารสนเทศ (bioinformatics) คือื เทคโนโลยีีที่่�ใช้ค้ อมพิิวเตอร์์สมรรถนะสูงู ในการเก็็บ รวมรวม และคำ�ำ นวณหรืือวิเิ คราะห์์ข้้อมููลที่�เ่ กี่ย่� วกับั สิ่�งมีีชีีวิิตซึ่่�งมีีปริิมาณมหาศาล เพื่่อ� ช่่วยลดระยะเวลาและทลายขีีดจำำ�กััดในการทำำ�วิจิ ัยั 4 ประเทศไทยมีีความหลากหลายทางชีีวภาพสูงู ติิดอันั ดัับ 1 ใน 10 ของโลก ทำำ�ให้ไ้ ทยมีีความมั่่�นคงด้้านอาหารและสามารถนำำ�ทรััพยากรชีีวภาพมาใช้้ต่อ่ ยอด สร้้างมูลู ค่า่ เพิ่่ม� ทางเศรษฐกิิจได้้อย่า่ งหลากหลาย ธันวาคม 2564 11
บทความพเิ ศษ อกี ตวั อยา่ งภาคการบรกิ ารทใ่ี กลต้ วั ทกุ คนคอื การใชเ้ ทคโนโลยี (Internet of Things) เชน่ การควบคมุ และสงั่ การท�ำ งานเครอื่ งใช้ HPC เพอ่ื การค�ำ นวณคาดการณส์ ภาพอากาศ การจ�ำ ลองภยั พบิ ตั ิ ไฟฟา้ ผ่านแอปพลิเคชัน หรอื คาดการณร์ ะดบั คา่ มลพษิ ของประเทศ เพอ่ื แจง้ ใหป้ ระชาชน หากสนใจความรเู้ กย่ี วกบั เทคโนโลยี Supercomputer ตดิ ตาม และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบสถานการณ์ท่ีจะเกิดขึ้น ได้ที่ เฟซบ๊กุ ThaiSC (@thaisupercomputer) ล่วงหน้า และสามารถรับมือกับเหตุการณ์ได้มีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึ้น สว่ นทางดา้ นเทคโนโลยี Cloud ท่ีใกลต้ วั คนท่ัวไปมากทส่ี ุด ก็คือระบบบริการทางออนไลน์รวมถึงแอปพลิเคชันต่างๆ เช่น ระบบจัดเก็บข้อมูลทางออนไลน์ อาทิ Google Drive, Apple iCloud, Dropbox และ OneDrive ระบบบรกิ ารธรุ กรรมทางการเงนิ แบบออนไลน์ผ่าน internet banking หรือ mobile banking ระบบใหบ้ รกิ ารจ�ำ หนา่ ยสนิ คา้ ทางออนไลนผ์ า่ นแอปพลเิ คชนั ตา่ งๆ เชน่ Shopee, Lazada และ Amazon ระบบโซเชียลมเี ดยี อาทิ Facebook, Twitter และ Instagram หรือระบบสตรีมมิง อาทิ YouTube, Netflix และ Spotify ตัวอย่างสุดท้ายคือระบบ IoT ทมี่ าและรายละเอียดเพมิ่ เติม 1) HPC TECH TALK เปิิดโลก HPC นำ�ำ วิจิ ััยไทยสู่่�สากล (https://bit.ly/3InSmd4) 2) ThaiSC บริกิ าร Supercomputer ผลัักดัันวิิจัยั เชิงิ ลึึก หนุุนแก้้ปััญหาวิิกฤตประเทศ (https://bit.ly/3lDVU1d) 3) HPC คือื อะไร? (https://bit.ly/3pupAiu) 4) 4 Industry ที่ใ�่ ช้ร้ ะบบ Supercomputer ในการตอบโทย์ว์ ิจิ ััยทางธุุรกิิจ (https://bit.ly/3pziCsz) 5) Cloud Computing เทคโนโลยีีเบื้้อ� งหลัังความสำ�ำ เร็จ็ ของโลกออนไลน์์ (https://bit.ly/3GhTfSH) 6) นวััตกรรม e-banking ที่ช่� าว SMEs ควรรู้้� (https://bit.ly/3lGfNVw) 7) Bioinformatics คือื อะไร? (https://bit.ly/3IzhzBE) 8) Big Data คือื อะไร สำำ�คัญั อย่่างไร (https://bit.ly/3pzODAM) 9) ทำำ�ความรู้้�จััก Supercomputer Fugaku (https://bit.ly/31yscDE) ธันวาคม 2564 12
นัักศึึกษา มธ. คว้า้ ที่่� 3 จากเวทีี APAC ผพู้ ฒั นาอธบิ ายถงึ สาเหตทุ เ่ี ลอื กหวั ขอ้ นใ้ี นการแขง่ ขนั วา่ มาจากการ HPC-AI 2021 ทป่ี ระเทศไทยและอาเซยี นมปี ระชากรเปน็ เกษตรกรจ�ำ นวนมาก จงึ อยาก จะชว่ ยยกระดบั รายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกร ผลงาน AGRI Connect ของทมี Youth Forward สามารถควา้ รางวลั ชนะเลศิ จากเวที ASEAN Data Science Explorers นักศกึ ษาสาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ ำ�ปาง คว้ารางวลั ที่ 3 จากเวที APAC HPC-AI 2021 ซ่งึ เปน็ การแขง่ ขนั ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ท่ีจัดขึ้นโดย HPC-AI Advisory Council และ The National Supercomputing Centre (NSCC) Singapore ในการแข่งขันผู้เข้าร่วมต้องแก้โจทย์ 2 ข้อโดยใช้เทคโนโลยี HPC และ AI ในการค�ำ นวณและประมวลผลงานที่มีความซบั ซ้อนสูง ด้วยความรวดเรว็ ท่ีมาของเน้อื หาและภาพ และรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ : Thai PBS (https://bit.ly/3pvBlF9) ทมี่ าของเนื้อหาและภาพ และรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ : เจลลีีสัับปะรด เครื่อ�่ งดื่ม�่ เพื่�่อสุุขภาพ https://bit.ly/3GlkD2p นกั วจิ ยั คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าฯ รว่ มกบั นกั วจิ ยั คณะแพทยศาสตร์ เด็็กไทยคว้้าแชมป์อ์ าเซียี น พััฒนาแอปฯ มข. พฒั นา “เจลลี นาตา โพรไบโอตกิ ส”์ เครอ่ื งดื่มเจลลแี ปรรูปจาก เชื่อ่� มชาวนาขายข้า้ วถึงึ บ้้าน นำ้�สับปะรด ที่ผลิตข้ึนจากการนำ�นำ้�สับปะรดไปหมักด้วยจุลินทรีย์ที่ สามารถสรา้ งใยอาหารได้ ท�ำ ให้ไดเ้ จลลสี บั ปะรดทม่ี ปี ระโยชนต์ อ่ ระบบ นกั เรยี นโรงเรยี นเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ทมี Youth Forward ยอ่ ยอาหารและระบบภมู คิ มุ้ กันของร่างกาย พฒั นาแอปพลเิ คชนั \"AGRI Connect\" เพอ่ื เชอ่ื มโยงชาวนากบั ผบู้ รโิ ภค โดยไมต่ อ้ งผา่ นพอ่ คา้ คนกลาง เพอ่ื ใหช้ าวนาไดร้ บั ผลประโยชนส์ งู สดุ ที่สำ�คัญในการผลิตยังมีการเติมสารโพรไบโอติกส์ที่มีงานวิจัย รองรบั วา่ สามารถชว่ ยลดความเครยี ดสะสมในรา่ งกายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กลไกการท�ำ งานทส่ี �ำ คญั ของแอปพลเิ คชนั คอื การแสดงผลพน้ื ท่ี ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์นี้มีสรรพคุณที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุซ่ึงเป็น เพาะปลูกของชาวนาโดยจัดเรียงตามระยะทางท่ีใกล้กับผ้ตู ้องการซ้อื กลมุ่ เสย่ี งทีจ่ ะมคี วามเครียดสะสมในรา่ งกายอกี ดว้ ย สนิ คา้ มากทส่ี ดุ กอ่ น กอ่ นจะแสดงผลเจา้ อน่ื ๆ ทอ่ี ยไู่ กลออกไปเพอ่ื เปน็ ตวั เลอื ก การแสดงปรมิ าณผลผลติ ทค่ี าดวา่ จะได้ในรอบการผลติ นน้ั ๆ ทีม่ าของเนือ้ หาและภาพ และรายละเอียดเพ่ิมเตมิ : และการแสดงวนั ทท่ี ค่ี าดวา่ ผลผลติ จะพรอ้ มจ�ำ หนา่ ย ซง่ึ ลกู คา้ สามารถ Thai PBS (https://bit.ly/3lBrkVM) เลอื กไดว้ า่ จะรบั สนิ คา้ ทพ่ี น้ื ทเ่ี พาะปลกู หรอื ใหจ้ ดั สง่ ทบ่ี า้ น ธนั วาคม 2564 13
แชมพูู -ครีีมอาบน้ำำ�� “อนุุภาคนาโนขลู่่�” ได้ดีในสภาพนำ้�น้อย ด้วยความแข็งแรงของข้าวสายพันธ์ุนี้จึงช่วยให้ ต้้านอนุมุ ูลู อิสิ ระ เกษตรกรสามารถลดปริมาณการใช้สารเคมีในการป้องกันและกำ�จัด โรคได้เปน็ อยา่ งดี นักวิจัยนาโนเทค สวทช. นำ�ของดีเมืองกระบี่อย่าง “ต้นขลู่” มาสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นผลิตภัณฑ์แชมพูและครีมอาบนำ้�อนุภาคนาโน จากการปลูกทดสอบในพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานี อำ�นาจเจริญ ทม่ี ฤี ทธิ์ต้านอนมุ ูลอสิ ระสงู เหมาะแกผ่ ดู้ ูแลสขุ ภาพ และศรีสะเกษ พบว่าได้ผลผลิตเฉล่ียประมาณ 530 กิโลกรัมต่อไร่ (ความช้ืน 14%) สูงกว่าข้าวพันธ์ุขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในแปลง โดยนักวิจัยได้ออกแบบกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนให้ผลิตได้ เดียวกนั ประมาณ 2.1 เทา่ งา่ ย เหมาะแกก่ ารถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หแ้ กค่ นในชมุ ชน เพอื่ ใช้ในการ ผลติ และจ�ำ หนา่ ยเปน็ สนิ คา้ นวตั กรรมทอ้ งถนิ่ นอกจากนยี้ งั สามารถน�ำ เกษตรกรที่สนใจสามารถลงทะเบียนขอรับพันธุ์ข้าวไปทดลอง ผลิตภัณฑ์ไปใชส้ รา้ งจดุ ขายให้กับภาคบรกิ าร ผา่ นการน�ำ ไปให้บรกิ าร ปลูกได้ท่ี https://bit.ly/3GlIyyJ ที่โรงแรมและสปาไดอ้ กี ดว้ ย ทมี่ าของเนื้อหาและภาพ และรายละเอียดเพม่ิ เติม : สวทช. (https://bit.ly/3GlIyyJ) ท่ีมาของเนอ้ื หาและภาพ และรายละเอียดเพม่ิ เตมิ : 'Omicron' ระบาดแล้้ว 40 ประเทศ ! สวทช. (https://bit.ly/3DpEX0y) เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายนทผี่ ่านมา องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไบโอเทค สวทช. พััฒนาพัันธุ์์�ข้้าวเจ้้านาปีี ได้กำ�หนดให้ไวรัส SARS-CoV-2 หรือไวรัสก่อโรคโควิด 19 “หอมสยาม” ผลผลิติ สููง ต้า้ นทานโรคไหม้้ สายพันธ์ุ B.1.1.529 เป็นสายพันธ์ุท่ีน่ากังวลเนื่องจากมีการ กลายพันธหุ์ ลายต�ำ แหน่ง โดย WHO ได้ตง้ั ชอ่ื ให้กบั สายพันธ์ุใหม่ นว้ี า่ \"Omicron\" (โอมคิ รอน/โอไมครอน) ล่าสุดในวันที่ 6 ธันวาคม สำ�นักข่าวต่างประเทศรายงานข่าวว่า พบการแพรร่ ะบาดของไวรสั สายพนั ธน์ุ แี้ ลว้ ใน 40 ประเทศทว่ั โลก และ ในวนั เดยี วกนั มรี ายงานขา่ วในประเทศไทยวา่ พบชาวอเมรกิ นั ทเี่ ดนิ ทาง เขา้ ไทยในรูปแบบ Test & Go ติดไวรัสสายพันธุ์น้ี ไบโอเทค สวทช. และพันธมิตร ร่วมกันพัฒนาพันธุ์ข้าวนาปี ทีม่ าของเนอ้ื หาและภาพ และรายละเอียดเพ่มิ เตมิ : “หอมสยาม (Hom Siam)” ข้าวเจา้ หอมพน้ื นุ่ม ผลผลติ สูง ตน้ เตยี้ 1) WHO (https://bit.ly/3EyZjWn) ทนการหักล้ม ต้านทานโรคไหม้และโรคไหม้คอรวง สามารถปรับตัว 2) VOA Thai (https://bit.ly/3dqL8GW) 3) ไทยรฐั (https://bit.ly/3y1fwRS) ธนั วาคม 2564 14
เนื้้�อวากิิวจากสเต็็มเซลล์์ ดาวเทีียมจิ๋๋�วกำ�ำ ลัังเปลี่่ย� นแปลงโลก นกั วทิ ยาศาสตรช์ าวญป่ี นุ่ พฒั นาเนอ้ื วากวิ ทข่ี นึ้ ชอื่ เรอื่ งสมั ผสั และ “คิวบ์แซต (CubeSat)” เป็นดาวเทียมขนาดเล็กท่ีพัฒนาโดย ศาสตราจารย์บ็อบ ทวิกก์ส ในปี พ.ศ. 2542 เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ รสชาตขิ องญี่ปนุ่ โดยใชเ้ ครอ่ื งพมิ พช์ ีวภาพ 3 มติ แิ ละสเต็มเซลล์จาก ทางการศึกษาให้แก่นักศึกษา ซ่ึงหลังจากผ่านไปกว่า 20 ปี มีผู้คน วัว เน้ือที่ผลิตไดม้ ีรปู ลกั ษณ์เหมือนเน้อื จริง และอาจมรี สชาตทิ ีค่ ล้าย ผลิตคิวบ์แซตข้ึนอีกหลายร้อยดวง และดาวเทียมจำ�นวนหนึ่งก็กำ�ลัง เนอ้ื จรงิ อีกดว้ ย โคจรรอบโลกเพอื่ สรา้ งนานาประโยชน์ เช่น การเก็บหลักฐานการตัดไม้ทำ�ลายป่าเพื่อนำ�มาใช้หาทาง อยา่ งไรกต็ ามนกั วจิ ยั อธบิ ายวา่ การผลติ ในปจั จบุ นั ยงั ท�ำ ไดช้ า้ คาด หยุดยั้งกระบวนการทำ�ลายป่าไม้ การใช้แกะรอยสัตว์ป่าท่ีเสี่ยง วา่ จะสามารถผลิตเนือ้ ชนิดนเ้ี พอ่ื เสริ ์ฟบนโต๊ะอาหารได้ในอีก 5 ปีข้าง สูญพันธุ์ผ่านการติดตามแท็กท่ีติดไว้ที่ตัวสัตว์ การใช้เปิดโปงการ หน้า ซึ่งในอนาคตหากสามารถผลิตได้อย่างรวดเร็วแล้ว เทคโนโลยี ค้าทาสผ่านการสอดส่องคุณภาพชีวิตของแรงงาน การใช้ประโยชน์ น้ีก็จะเป็นประโยชน์ต่อการรับมือเรื่องปัญหาการขาดแคลนอาหาร ในการซ่อมกังหันลมโดยการใช้ติดตามความเสียหายของกังหันลม ประเภทโปรตนี ต่อไป เพอ่ื แจง้ ไปยงั ผูด้ ูแล การใช้ในการกำ�จดั ขยะอวกาศ โดยใช้ควิ บแ์ ซต จำ�ลองเป็นขยะเพ่ือทดสอบการกำ�จัดขยะอวกาศท่ีมีขนาดเล็กและ เคลอื่ นทเี่ รว็ ตวั อยา่ งสดุ ทา้ ยคอื การใช้ในการส�ำ รวจอวกาศเพอ่ื ทดสอบ ผลกระทบของการแผ่รังสีในอวกาศที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและศึกษา แหล่งนำ�้ ส�ำ รองท่ขี ัว้ ใต้ของดวงจันทร์ ทม่ี าของเนอ้ื หาและภาพ และรายละเอียดเพ่มิ เตมิ : VOA Thai (https://bit.ly/3lE2BAw) ทม่ี าของเนือ้ หาและภาพ และรายละเอยี ดเพิม่ เติม : 1) BBC News Thai (https://bbc.in/3EzlMmf) 2) NASA, Public domain, ISS-51 CubeSat deployment - A pair of CubeSats, via Wikimedia Commons ธนั วาคม 2564 15
Sci Infographic ธันวาคม 2564 16
Sci Infographic ธันวาคม 2564 17
Sci Infographic ธันวาคม 2564 18
รวอ้ ทิ ยยพานั รวศิ ทศั คร รวศิ ทศั คร เคยเปน็ กรรมการบริหารและสมาชิกทีมบรรณาธกิ ารวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยทำ�งานเป็นนักเขยี น ประจำ�นิตยสาร UpDATE นติ ยสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบรษิ ัทซีเอด็ ยูเคชั่น (มหาชน) จำ�กดั ปจั จุบันรบั ราชการ เป็นอาจารย์ประจำ�สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ดาวองั คาร บ้านใหม่ของมนุษยชาติ ตอนท่ี 3 อุตุ สาหกรรมอาหารจะเป็น็ อย่่างไร เมื่อ�่ มนุุษย์ม์ ุ่่�ง หน้้าสู่่�หมู่่�ดาว ในบทความสองตอนท่ีแล้ว เราพูดถึงการตั้งอาณานิคมมนุษย์ บนดาวอังคาร หรือที่ใกล้ความเป็นจริงที่สุดในอนาคตอันใกล้น้ีคือ นครบนดวงจันทร์และสถานีอวกาศขนาดยักษ์ที่จะเป็นนิคมอวกาศ บนวงโคจรรอบโลก ซง่ึ เราอาจจะสง่ อาหารที่ผลิต ปลูก และแปรรปู จากบนโลกข้นึ ไปหล่อเล้ยี งชวี ิตมนุษย์ที่ใช้ชวี ิต ทำ�งาน และอาศัยอยู่ บนวงโคจรใกล้โลกได้ แตถ่ ้ามนุษย์จะตอ้ งเดินทางระยะยาวส่กู ารต้ัง ธนั วาคม 2564 19
รวอ้ ทิ ยยพานั ถ่ินฐานบนดาวเคราะห์อื่นในระบบสุริยะ ลักษณะของใบผกั กาดหอม ท่รี ะดบั ความเข้มแสงต่างๆ กนั จะเห็นว่าท่ี ความเขม้ แสงสงู ๆ เราคงไม่สามารถขนเสบียงจากโลกไปได้ ใบจะหนาและแข็งข้ึน ท่มี า: [1] ตลอด มนุษย์เราจะต้องหาทางออกแบบ พฒั นาระบบปลกู ผลติ และแปรรปู อาหาร อาหารสดสำ�หรับมนุษย์ ในนิคมอวกาศ กรณขี องมสั ตาร์ดแดง เปน็ ระบบทห่ี ลอ่ เลย้ี งตวั เองได้ในสถานที่ ไดร้ บั ความสนใจทจ่ี ะน�ำ มาศกึ ษาในงานวิจัย พวกเขายังพบว่าการเก็บเก่ียวแบบ ตา่ งๆ เหลา่ น้นั อยู่หลายช้ิน ทั้งที่ทดลองบนโลกและใน spread harvesting จะสามารถเพ่ิม เพราะหากพิจารณาภารกิจตา่ งๆ บน สภาพเกอื บไรน้ ำ้�หนกั บนวงโคจรโลก ผลผลิตของผักได้ 3–4 เท่าในกรณีของ สถานอี วกาศนานาชาติ (ISS) ในปัจจุบัน หนง่ึ ในงานทน่ี า่ สนใจคอื การศกึ ษาทท่ี �ำ ผักกาดหอมสายพันธ์ุต่างๆ และผักโขม แล้ว จะตอ้ งมีการนำ�สง่ ทั้งอาหารสดและ โดยMeinenและคณะ[1] ซง่ึ ศกึ ษาการปลกู ผกั (spinach) และจะเพ่ิมขึ้น 1–2 เท่าใน อาหารแปรรูปท่ีบรรจุหีบห่อเรียบร้อย และผลไมห้ ลายชนดิ ทสี่ ถานวี จิ ยั ขว้ั โลกใต้ กรณขี องผกั สวสิ ชารด์ มสั ตารด์ แดง และ แล้วข้ึนไปให้นักบินอวกาศบริโภคเป็น Neumayer III โดยปลกู พชื เหลา่ นนั้ ในชว่ ง ร็อกเก็ต สำ�หรับกรณีพวกพืชท่ีให้ผล ประจำ�โดยคิดเป็นพลังงาน 2800 kcal อุณหภูมิ 21–25 องศาเซลเซียส ที่ความ เชน่ มะเขือเทศ แตงกวา พบว่าปรมิ าณ ต่อคนต่อวัน หรือเทียบเท่ากับน้ำ�หนัก เข้มแสงสว่าง 200–600 µmol m-2 s-1 เน้ือของผลผลิตจะเพิ่มข้ึนร้อยละ 8–15 คาร์โบไฮเดรตแหง้ 700 กรมั ตอ่ คนตอ่ วนั และได้ทำ�การปรับสภาพแสงเพ่ือจำ�ลอง เมื่อความเข้มแสงเพิ่มขึ้นจาก 300 เป็น ซึ่งค่าใช้จ่ายของอาหารท่ีบรรจุหีบห่อ แสงในช่วงเวลาเช้าตรู่และเวลาพลบคำ่� 600 µmol m-2s-1 ซงึ่ มะเขอื เทศนา่ จะชอบ สำ � เ ร็ จ ใ น ภ า ร กิ จ ด้ า น อ ว ก า ศ ท่ี ไ ป ยั ง ท่ี พวกเขาพบว่าผักกาดหอม (lettuce) แสงเปน็ พเิ ศษ เพราะมนั ใหท้ ง้ั จ�ำ นวนผลที่ ห่างไกลจากโลก เช่น ดวงจันทร์ หรือ และมัสตาร์ดแดง (red mustard) ตอบ เพมิ่ ขนึ้ และน�้ำ หนกั ทเี่ พมิ่ ขนึ้ ดว้ ย ในขณะ ดาวองั คาร จะเพมิ่ ข้ึนตามระยะเวลาของ สนองได้ดีกับความเข้มแสงท่ีสูงข้ึนจาก ที่แตงกวามีจำ�นวนผลที่ลดลง แต่ขนาด ภารกิจน้นั ถา้ ต้องการขนอาหารไปเพ่มิ ก็ 200 ไปเป็น 600 µmol m-2 s-1 ซ่ึง ผลใหญ่มากขึ้นเม่ือแสงจ้าขึ้น ซึ่งจาก ต้องการเชอ้ื เพลงิ เพมิ่ โดยเชือ้ เพลงิ เปน็ ทำ�ให้ผักสองชนิดน้ี ได้ผลผลิตมากข้ึน ขอ้ มลู ดงั กลา่ วอาจท�ำ ใหม้ นษุ ยเ์ ราสามารถ ค่าใช้จ่ายหลักของภารกิจสำ�รวจอวกาศ มากกว่าเดิมถึงร้อยละ 35-90 แต่ หาสภาวะที่เหมาะสมท่ีสุดในการปลูกพืช ดังนนั้ การผลิตอาหาร ณ สถานที่ทีน่ ักบนิ อย่างไรก็ตามคุณภาพของผักใบเขียว เหล่านี้ไว้รับประทานสดๆ ในยานอวกาศ อยู่จงึ เปน็ การลดค่าใช้จ่ายลงนนั่ เอง กลับลดลง เพราะมันจะมีใบท่ีแข็งและ สถานีอวกาศ หรือนิคมอวกาศบนดาว หนามากขนึ้ โดยใบจะเรม่ิ แข็งหนาตง้ั แต่ เคราะหต์ า่ งๆ ได้ในอนาคต ซ่ึงผู้ศึกษายงั การปลููกพืื ชในอวกาศ เพื่�่ อ ที่ความเข้มแสงถึง 450 µmol m-2 s-1 ให้เหตผุ ลด้วยว่า การปลูกและเก็บผักจะ เป็น็ อาหารของมนุุษย์์ ซ่ึงรวมถึงผักร็อกเก็ต (rocket) และ สง่ ผลเชงิ บวกตอ่ สภาพจติ ใจของผปู้ ฏบิ ตั ิ สวิสชาร์ด (swiss chard) ด้วย ยกเวน้ แต่ งานในอวกาศได้อกี ดว้ ย ในแง่ของข้ันการปลูก การทดลอง ปลูกพืชในระบบปิดที่มีการควบคุมสาร อาหาร วธิ กี ารจดั การกบั รอบการเกบ็ เกย่ี ว ผลผลิต อณุ หภมู ิ ความชน้ื และการปรบั แสงท่ีให้แก่พืชโดยอาศัยแสงจากแหล่ง ก�ำ เนดิ แสงประดษิ ฐม์ มี านานแลว้ แตส่ �ำ หรบั ยคุ ปจั จบุ นั การศกึ ษาหาสภาวะทเี่ หมาะสม ในการปลูกพืชระบบปิดเพื่อเป็นแหล่ง ธันวาคม 2564 20
รวอ้ ทิ ยยพานั แนวทางแบบใหม่ใ่ นการผลิิต หรือ Micro-Ecological Life Support ทีร่ ะบบพยงุ ชพี แบบตา่ งๆ กันมีต่อภารกจิ System Alternative (MELiSSA) ท่อี าศัย ในห้วงอวกาศ โดยแปลงค่าเป็น “มวล” อาหารในอวกาศโดยไม่ต่ ้้อง สาหรา่ ยขนาดจว๋ิ อยา่ งสาหรา่ ยเกลยี วทอง สมมตใิ นหนว่ ยเมตรกิ ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารประเมนิ พันธ์ุ Spirulina platensis เป็นหลัก ซึ่ง ที่คิดค้นข้ึนมาโดยองค์การนาซา มีปัจจัย ปลููกพืื ช ระบบนี้เป็นระบบนิเวศจำ�ลองท่ีใช้เพ่ือ 5 อยา่ งทน่ี �ำ มาคดิ ไดแ้ ก่ มวลของระบบ ดงึ เอาอาหาร น�ำ้ และออกซเิ จน กลบั ออก พยงุ ชพี (mass, kg) ปริมาตรที่ต้องการ อย่างไรก็ตามยังมีนักวิชาการอีก มาจากของเสีย (เชน่ อุจจาระ ปสั สาวะ) ในการตดิ ตงั้ ระบบพยุงชพี (volume, m3) กลุ่มหนง่ึ [2] มองว่า สิง่ มชี ีวติ ท่สี ังเคราะห์ คาร์บอนไดออกไซด์ และเกลือแร่ ความต้องการพลังงานของระบบพยุงชีพ แสงทั้งหลายน้ัน แม้ว่าจะเล้ียงโดยใช้ เพื่อใช้เป็นระบบพยุงชีพสำ�หรับภารกิจ (Power, kW) ความต้องการในการทำ� สภาวะเงื่อนไขต่างๆ ท่ีเหมาะสมท่ีสุด สำ�รวจอวกาศระยะยาวในอนาคต (ผู้ท่ี ความเยน็ ของระบบพยงุ ชพี (cooling, kW) ในห้องเพาะเลี้ยง ก็ยังมีปัจจัยท่ีอาจไป สนใจเข้าไปอ่านเกี่ยวกับโครงการน้ีได้ใน และเวลาของลูกเรือท่ีต้องใช้ไปกับการ จำ�กัดผลผลิตของมันได้ เช่น ความไม่มี https://www.melissafoundation.org/) ดแู ลระบบพยงุ ชพี (crew time, ช่ัวโมง/ ประสิทธิภาพของพลังงานการแผ่รังสีใน กลุ่มนักวิจัยของ Alvarado และ คน-สัปดาห์) แล้วแปลงพารามิเตอร์ การสงั เคราะห์แสง การขาดแรงโนม้ ถ่วง คณะ[2] ศึกษาเทียบวิธีต่างๆ ในการผลิต เหล่านี้ท้ังหมดให้เป็นหน่วย “กิโลกรัม” ซ่ึงอาจทำ�ให้พืชประสบปัญหาเก่ียวกับ อาหารในอวกาศ โดยใชก้ ารวเิ คราะหด์ ว้ ย โดยใช้สูตรท่ีกำ�หนด[3] ซึ่งเม่ือเปรียบ ระบบราก กิ่ง หรือการออกดอกได้ ซึ่ง เทคนคิ Equivalent System Mass (ESM) เทียบกันแล้ว วิธีพยุงชีพแบบไหนท่ีมีค่า เหตุผลด้านความไม่มีประสิทธิภาพใน ซง่ึ เปน็ การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของระบบ ESM นอ้ ยท่ีสุด วิธีน้ันจะคมุ้ คา่ ทสี่ ุดและ ดา้ นการใชพ้ ลงั งานน้ี พวกเขากย็ งั หมาย พยุงชีพเพื่อดูเปรียบเทียบ “ผลกระทบ” เปน็ ภาระกบั ภารกจิ นน้ั ๆ นอ้ ยทสี่ ดุ นน่ั เอง รวมไปถึงระบบท่ีพัฒนาขึ้นโดยองค์การ อวกาศยโุ รป (ESA) ท่ีชือ่ วา่ โครงการทาง เลอื กระบบพยงุ ชพี เชงิ ระบบนเิ วศจลุ ภาค ธันวาคม 2564 21
รวอ้ ทิ ยยพานั พวกเขาประเมินว่าเทคนิคของการ แบคทีเรียชนิดออกซิไดซ์ไฮโดรเจน หลบภัยใต้ดิน ให้เป็นสารอาหารประเภท ผลิตอาหารโดยใช้แบคทีเรียออกซิไดซ์ หรือ HOB นี้ อันที่จริงมีการค้นพบมา โปรตีนเซลล์เดียว ที่อาจใช้ได้ทั้งในการ ไฮโดรเจน (Hydrogen Oxidizing Bacteria: ต้ังแต่ยุค 1960s แล้ว แต่เพิ่งได้รับ บรโิ ภคของมนษุ ยแ์ ละใช้ในการเลยี้ งสตั ว์ HOB) ซ่ึงให้ผลผลิตออกมาเป็นโปรตีน ความสนใจมากในช่วงไม่ก่ีปีที่ผ่านมา เชน่ แมลง สตั ว์น�ำ้ เพ่ือน�ำ สตั ว์เหลา่ นัน้ เซลล์เดยี ว (Single Cell Protein: SCP) เนื่องจากแบคทีเรียประเภทนี้มีศักยภาพ มาบริโภคอีกทอดหน่งึ หรอื โปรตนี ท่ีไดจ้ ากจลุ นิ ทรยี ค์ าร์โบไฮเดรต ช่วยผลิตทรัพยากรที่มีประโยชน์สำ�หรับ ขั้นตอนการผลิตท้ังหมดในการผลิต รวมถึงไขมันนั้น มีค่า equivalent mass มนุษย์ ทั้งพลาสติกชีวภาพ สารอาหาร โปรตีนเซลล์เดียวจาก HOB มีลักษณะ น้อยกว่าอาหารท่ีบรรจุหีบห่อสำ�เร็จราว และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในขณะท่ีต้องการ เป็นกระบวนการผลิตครบวงจร หาก 2.8 เท่า และน้อยกว่าการเล้ียงสาหร่าย เพียงแค่ไฮโดรเจน ออกซิเจน และ มีแหล่งพลังงานทดแทนบนโลกหรือ จิ๋วราว 5.5 เทา่ จงึ มคี ่าใช้จ่ายถูกกว่า โดย คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นวัตถุดิบในการ ในนิคมอวกาศ ทั้งจากกังหันลม เซลล์ ประสิทธิภาพในการเปล่ียนไฟฟ้าเป็น เลย้ี งพวกมนั ใหเ้ จรญิ เตบิ โตในถงั ปฏกิ รณ์ แสงอาทิตย์ หรือแม้แต่ไฟฟ้าจากเครื่อง ชีวมวลของ HOB โดยเฉพาะสายพันธุ์ ชีวภาพ โดยมีหลักการทำ�งานอย่างง่าย ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ท่ีอาจมีใช้งานบนยาน Cupriavidus necator มีค่าอย่างน้อย ตามภาพประกอบด้านล่างน้ี ซ่ึงสามารถ หรืออาณานิคมต่างๆ ก็สามารถนำ�มา รอ้ ยละ 15 ในขณะทสี่ าหรา่ ยจวิ๋ มคี า่ เพยี ง สแกนชมคลิปอธิบายได้ใน QR code ปอ้ นให้ระบบทำ�งาน เพ่ือแยกนำ�้ ท่ีได้จาก รอ้ ยละ 7 เท่านนั้ และมีคา่ ใช้จา่ ยถูกกว่า จะเห็นว่า HOB มีความสามารถใน บรรยากาศในยาน จากแท็งก์เก็บนำ้�บน อาหารบรรจุหีบห่อท่ีทำ�มาสำ�เร็จแล้ว การเปลย่ี นคารบ์ อนไดออกไซดท์ เ่ี ปน็ ของ ยาน จากดินบนดวงจันทร์บริเวณหลุม อีกด้วย รวมถงึ มีค่าใชจ้ า่ ยในการใช้ไฟฟ้า เสยี จากกระบวนการการหายใจของมนษุ ย์ อุกกาบาตที่ไม่โดนแสงอาทิตย์ จากดาว เพ่ือผลิตอาหารที่ถูกกว่าเม่ือเทียบกับ ท่ีอยู่บนยานอวกาศ สถานีอวกาศ นิคม องั คาร หรอื แมแ้ ตจ่ ากแหลง่ อนื่ ทอ่ี าจเปน็ สาหรา่ ยจว๋ิ โดยเฉพาะสาหรา่ ยเกลยี วทอง อวกาศ รวมท้งั ในพน้ื ที่หา่ งไกลบนโลกซงึ่ สายพนั ธ์ุ Spirulina platensis M2 มีความอดอยากแร้นแค้นหรือแม้แต่หลุม คลิปิ หลักั การทำ�ำ งานอย่า่ งง่า่ ยของระบบเลี้�ยง แมว้ า่ จะไดเ้ ปรยี บกวา่ ในดา้ นการผลติ HOB ซึ่�งนอกจากคาร์์บอนไดออกไซด์ท์ ี่่ป� น แตผ่ ู้วจิ ัยยังกลา่ ววา่ HOB อาจตอ้ งเสริม การทำำ�งานของถัังเลี้�ยง HOB ที่่�ดึึงเอา อยู่่�กัับอากาศที่่ล� ููกเรืือหายใจออกมาแล้้ว ด้วยแหล่งอาหารอื่นๆ เพื่อให้มีคุณค่า คาร์บ์ อนไดออกไซด์จ์ ากอากาศ มารวมกัับก๊๊าซ ก๊า๊ ซออกซิิเจนและไฮโดรเจนที่่จ� ะป้้อนเข้้า ทางโภชนาการครบอกี ดว้ ย เชน่ แหลง่ อาหาร ออกซิิเจนและไฮโดรเจน เพื่�่อผลิิตโปรตีีนเซลล์์ ถังั เลี้�ยง อาจได้จ้ ากการแยกสลายโมเลกุลุ น้ำ�ำ � ทเี่ ปน็ โปรตนี ที่ไดจ้ ากแบคทเี รยี ชนดิ elec- เดีียวสำำ�หรัับใช้เ้ ป็็นอาหารเลี้�ยงสััตว์์ เช่่น ด้้วยวิิธีไี ฟฟ้้าเคมีีโดยการจ่่ายกระแสไฟฟ้า้ troactive bacteria (EAB SCP) หรอื โปรตนี สััตว์์น้ำ�ำ � แมลง, นำ�ำ มาบริโิ ภค หรืือศึึกษาเพื่่�อหา เข้า้ ไป ที่ได้จากแบคทีเรียที่ใช้มีเทน (methane ทางแปรรูปู เป็น็ อาหารมนุษุ ย์โ์ ดยตรง ที่่ม� า : [4] SCP) อาหารที่สังเคราะห์ข้ึนโดยไม่ต้อง อาศัยกระบวนการทางชีวภาพ (non- biologically synthesized food) อาหาร ที่ต้องการกระบวนการสังเคราะห์แสงที่ เลยี้ งดว้ ยแสงประดษิ ฐห์ รอื ทเ่ี ลย้ี งในเรอื น กระจก หรอื อาหารทผ่ี ลติ และบรรจหุ บี หอ่ มาแล้วกอ็ าจมบี ทบาทรว่ มด้วยเช่นกนั ธันวาคม 2564 22
รวอ้ ทิ ยยพานั ไฟฟ้้าจากแหล่่งพลังั งานทดแทน เช่น่ โซลาร์์เซลล์์ กัังหัันผลิิตไฟฟ้า้ หรืือแม้แ้ ต่จ่ ากเตาปฏิิกรณ์์ และมีกลุ่มวิจัยอื่นๆ นำ�ไปศึกษาเพิ่มเติม นิวิ เคลีียร์ข์ องยานอวกาศ มีหี น้้าที่่�สามอย่่าง คืือ 1) จ่่ายให้ข้ั้�วไฟฟ้า้ เพื่่�อสลายน้ำ�ำ �ในถังั ปฏิิกรณ์ช์ ีวี ภาพ ดว้ ย เชน่ ในปนี ี้ (พ.ศ. 2564) เรมิ่ มรี ายงาน ให้เ้ ป็็นก๊๊าซไฮโดรเจนและก๊๊าซออกซิเิ จน 2) เดิินระบบจัับก๊า๊ ซคาร์์บอนไดออกไซด์ค์ ืืนจากบรรยากาศ การศกึ ษาการผลติ สารอาหารเฉพาะชนดิ จาก และ 3) จ่่ายให้ก้ ระบวนการแปรรููป ทั้�งการแยกโปรตีีนเซลล์์เดียี วออกจากส่่วนผสมในถังั การฆ่่าเชื้�อ HOB ไดแ้ ก่ น�ำ้ ตาลทรฮี าโลส (trehalose) ด้ว้ ยกระบวนการพาสเจอไรเซชันั และการอบแห้้ง จนได้เ้ ป็น็ ผงโปรตีีนเซลล์เ์ ดียี ว โดยกลุ่มนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคนิค ออกมาเพื่อ่� นำ�ำ ไปใช้้ประโยชน์์ ที่่�มา: [5] เมอื งมวิ นคิ ประเทศเยอรมน[ี6]ดว้ ยการตดั แตง่ พนั ธกุ รรมของ Cupriavidus necator ซง่ึ เปน็ น�ำ มาได้ในอนาคต เชน่ มหาสมทุ รบนดวง กับเน้ือสัมผัสของผงโปรตีนเซลล์เดียว HOB ทนี่ ยิ มน�ำ มาศกึ ษามากทส่ี ดุ ใหผ้ ลิต จนั ทรย์ โู รปา วตั ถุทอ้ งฟา้ ในแถบคยุ เปอร์ ที่ได้ ที่ปกติแล้วประกอบด้วยโปรตีนราว ทรีฮาโลสไดด้ ขี น้ึ อนั ที่จรงิ Cupriavidus ออกเป็นออกซิเจนและไฮโดรเจน แค่ รอ้ ยละ 50 มคี าร์โบไฮเดรตอยรู่ าวรอ้ ยละ necator ก็มีความสามารถในการผลิต นี้ก็สามารถสร้างอาหารออกมาได้อย่าง 25 รวมถึงไขมันอีกจำ�นวนหน่ึง และ ทรฮี าโลสอยแู่ ลว้ เมอ่ื อยภู่ ายใตภ้ าวะเครยี ด สะดวกสบาย เปล่ียนแปลงเนื้อสัมผัสได้เม่ือสภาวะ ในสภาพแวดล้อมทม่ี เี กลือมาก แมจ้ ะมกี ารคน้ พบมานาน แตเ่ ทคโน- ตา่ งๆ เปลย่ี นไป พวกเขาไดศ้ กึ ษาไปเรอ่ื ยๆ ทรีฮาโลสคือไดแซ็กคาไรด์ชนิดหน่ึง โลยีในการใช้ประโยชน์จาก HOB เพ่ิง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุงแนวคิด ท่ีเกิดขึ้นเองในธรรมชาติ ประกอบด้วย พฒั นาข้ึนมาเม่อื ไมน่ านมานี้ โดยผู้ที่เป็น เก่ียวกับเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพและการ น�้ำ ตาลกลโู คสสองโมเลกลุ ทเ่ี ชอ่ื มกนั ดว้ ย หัวหอกรุ่นบุกเบิกในการพัฒนาคือกลุ่ม ควบคมุ กระบวนการ โดยท�ำ นายเอาไว้วา่ พันธะไกลโคไซด์ที่ตำ�แหน่ง alpha-1,1 นักวิจัยร่วมระหว่างมหาวิทยาลัย Lap- เทคโนโลยีน้ีอาจต้องใช้เวลากว่าทศวรรษ ซึ่งส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่รวมท้ังคนเราย่อย peenranta University of Technology ถึงจะมีแบบท่ีมีประสิทธิภาพให้นำ�มาใช้ มันเป็นพลังงานได้ ในทางอุตสาหกรรม (LUT) กับศูนย์วิจัย VTT Technical ในวงกว้างและผลิตระดับเชิงพาณิชย์ได้ อาหารนอกจากเปน็ อาหารโดยตรงแลว้ ยงั Research Centre ในประเทศฟินแลนด์ เนอ่ื งจากขณะนน้ั เครอ่ื งปฏกิ รณข์ นาดเลก็ ใช้ในการเป็นสารลดจุดเยือกแข็งสำ�หรับ เมื่อปี พ.ศ. 2560[5] ในขณะนั้นพวกเขา เทา่ ถว้ ยกาแฟ ใชเ้ วลาประมาณสองสปั ดาห์ อาหารแช่เยือกแข็ง ใช้เพื่อยืดอายุการ ก�ำ ลงั ศกึ ษาวา่ การเปลย่ี นชนดิ ของจลุ นิ ทรยี ์ กวา่ จะผลิตโปรตีนออกมาไดห้ น่ึงกรมั บรโิ ภคของอาหาร ชว่ ยปกปอ้ งอาหารจาก หรือปรับสายพันธุ์ของมันจะมีผลอย่างไร แมก้ ระนน้ั เทคนคิ นก้ี ็ไดร้ บั ความสนใจ ภาวะทแ่ี หง้ แขง็ โดยสญู เสยี ความชน้ื ใหแ้ ก่ อากาศ ชว่ ยรกั ษาผลติ ภณั ฑจ์ ากแปง้ ไมใ่ ห้ มีรสชาติเนื้อสัมผัสที่ให้ความรู้สึกไม่สด (stale) และรักษาผักผลไม้มิให้เปล่ียนสี เป็นตน้ กลมุ่ ของอดตี นกั วจิ ยั จากสถาบนั วจิ ยั แห่งชาติของประเทศฟินแลนด์ยังพัฒนา เทคนิคของพวกเขาไปเรื่อยๆ โดยหลัง จากทง่ี านขน้ั แรกส�ำ เรจ็ Dr. Pasi Vainikka ก็ได้แรงบันดาลใจตั้งบริษัทสตาร์ตอัป ชอื่ Solar Foods (เวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั คือ https://solarfoods.fi/) โดยตั้งโรงงาน ธันวาคม 2564 23
รวอ้ ทิ ยยพานั ของบริษัทใกล้กับกรุงเฮลซิงกิ ซ่ึงใน สงั เขปของระบบนี้ สามารถสแกนดใู น QR ในปจั จบุ นั แมแ้ ตก่ ารน�ำ มาใช้บนโลกกจ็ ะ ปจั จบุ นั พวกเขาไดท้ �ำ ผงโปรตนี เซลลเ์ ดยี ว code ขา้ งลา่ งไดเ้ ลยครับ ช่วยส่ิงแวดล้อมด้วยการลดปริมาณของ ท่ีมีโปรตีนได้ถึงร้อยละ 65 ซึ่งมากกว่า ด้ ว ย ก า ร ริ เ ร่ิ ม ข อ ง ก ลุ่ ม วิ จั ย จ า ก คารบ์ อนไดออกไซด์ในบรรยากาศของโลก เดมิ ในปี พ.ศ. 2560 และพรอ้ มทจี่ ะเปิด ฟินแลนด์ เทคนิค HOB จึงได้รับความ และยังผลิตสารอาหารออกมาได้ในเวลา โรงงานผลิตได้ในปี พ.ศ. 2566 ที่จะถึง สนใจจากหลายบริษัทและหลายกลุ่มวิจัย เดียวกัน ซ่ึงทีมงานของ Dorian Leger นี้ โดยมุ่งใช้ผงโปรตีนเซลล์เดียวนี้เป็น ส่วนผสมท่ีเติมเข้าไปในผลิตภัณฑ์อาหาร หลักั การโดยสังั เขปของระบบของโครงการ คลิปิ การสัมั ภาษณ์์ Dr. Pasi Vainikka อยา่ งขนมปัง เส้นพาสตา เนื้อเทียมจาก Neocarbonfood เดิมิ ของมหาวิทิ ยาลัยั LUT พืช หรือสารทดแทนผลิตภัณฑ์จากนม กับั ศูนู ย์ว์ ิจิ ัยั VTT รวมถึงอาจใช้เป็นแหล่งอาหารวัตถุดิบ สำ�หรับป้อนให้แก่การเพาะเล้ียงเน้ือสัตว์ ในห้องปฏิบัติการ ซ่ึงเป็นที่พูดถึงอย่าง มากในแง่ของการนำ�ไปใช้ผลิตอาหารใน อวกาศและผลิตอาหารเลี้ยงพลโลกใน อนาคตอีกด้วย[7] เขาตั้งชอ่ื ให้โปรตีนท่ีได้ นี้วา่ Solein ซงึ่ เมอื่ อา่ นมาถึงตรงน้ี หาก ใครสนใจชมคลปิ การสัมภาษณ์ Dr. Pasi Vainikka หรอื ชมคลปิ อธบิ ายหลกั การโดย ธันวาคม 2564 24
รวอ้ ทิ ยยพานั จากสถาบนั วจิ ยั Max Planck Institute of พ้นื ที่ถึง 10 ตารางกิโลเมตร พดู ง่ายๆ คือ สร้างโรงงานแปรรูปอาหาร หรือแม้แต่ Molecular Plant Physiology ในประเทศ SCP จาก HOB ใชพ้ น้ื ทเี่ พียงหนงึ่ ในสบิ โรงงานผลิตผลติ ภัณฑ์ทางเคมตี า่ งๆ บน เยอรมนี[8], [9] ได้ประเมินเอาไว้ว่า การ ของการปลูกถ่ัวเหลืองเทา่ นัน้ สภาพแวดลอ้ มบนดาวเคราะหท์ ม่ี แี รงโนม้ ผลติ SCP เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แหล่งอาหารเลี้ยง อย่างไรก็ตามวิธีการผลิตอาหารด้วย ถ่วงต่ำ�กว่าโลกอย่างดวงจันทร์หรือดาว พลเมืองโลก ใชพ้ นื้ ท่ีนอ้ ยมาก โดยไดย้ ก HOB แม้เปน็ หน่ึงในวธิ ีทม่ี คี า่ Equivalent อังคาร กระบวนการแปรรูปต่างๆ เหล่า ตวั อยา่ งในการใหส้ มั ภาษณแ์ กน่ กั ขา่ วจาก System Mass ต�่ำ ทส่ี ดุ ทจ่ี ะน�ำ ไปใช้ในการ น้ันต้องมีการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ วารสาร New Scientist วา่ หากใชร้ ะบบน้ี ผลิตอาหารในอวกาศ เมื่อเทียบกับการ อยา่ งไรจงึ จะเหมาะกบั การตงั้ ถน่ิ ฐานของ ทเี่ รยี กอกี ชอ่ื หนง่ึ วา่ Photovoltaic-Driven เลย้ี งสาหรา่ ยเกลยี วทองหรอื การปลกู พชื มนษุ ย์ในอนาคต อยา่ ลมื ตดิ ตามกนั นะครบั Microbial Protein Production (PV-SCP) แต่ก็ไม่ใช่วิธีเดียวท่ีมีอยู่ โดยบทความใน สวัสดคี รบั ในการผลติ SCP ต้องใชพ้ นื้ ที่ตดิ ตงั้ แผง ตอนหนา้ เราจะมาส�ำ รวจแนวคดิ อนื่ ๆ เชน่ โซลาร์เซลล์รับพลังงานแสงอาทิตย์เพ่อื การสังเคราะห์อาหารขึ้นมาโดยตรงจาก ผลติ ไฟฟา้ เลีย้ งระบบ 1 ตารางกิโลเมตร การใช้กระบวนการทางเคมี ซ่ึงน่าสนใจ ในขณะท่ีหากปลูกถ่ัวเหลือง จะต้องใช้ ไมแ่ พก้ นั รวมถงึ ลองมองดวู า่ หากตอ้ งการ แหลง่ ข้อมลู 1. Meinen, E., Dueck, T., Kempkes, F., Stanghellini, C., 2018. Growing fresh food on future space mission: Environmental conditions and crop management. Scientia Horticulture. 235, 270 – 278. 2. Alvarado, K.A., Martínez, J.B.G., Matassa, S., Egbejimba, J., Denkenberger, D., 2021. Food in space from hydrogen-oxidizing bacteria. Acta Astronautica. 180, 260 – 265. 3. Levri, J. A., Vaccari, D. A., & Drysdale, A. E., 2000. Theory and Application of the Equivalent System Mass Metric. SAE Technical Paper Series. doi:10.4271/2000-01-2395 4. Pander, B., Mansfield, R., Krabben, P., Mortimer, Z., Maliepaard, J., Rowe, P., … Woods, C., 2020. Hydrogen oxidising bacteria for produc- tion of single cell protein and other food and feed ingredients. Engineering Biology. doi:10.1049/enb.2020.000 5. https://futurism.com/a-team-of-scientists-just-made-food-from-electricity-and-it-could-be-the-solution-to-world-hunger 6. Löwe, H., Beentjes, M., Pflüger-Grau, K., & Kremling, A., 2020. Trehalose production by Cupriavidus necator from CO2 and hydrogen gas. Bioresource Technology. 124169. doi:10.1016/j.biortech.2020.124169 7. https://edition.cnn.com/2020/01/20/europe/solar-foods-solein-scn-intl-c2e/index.html 8. https://www.newscientist.com/article/2281730-we-can-make-food-from-air-and-electricity-to-save-land-for-wildlife/ 9. https://www.pnas.org/content/118/26/e2015025118 10. https://aim2flourish.com/innovations/making-food-out-of-thin-air 11. https://www.foodingredientsfirst.com/news/solar-foods-alternative-protein-from-air-and-electricity-nets-another-%E2%82%AC43m-funding.html 12. https://www.bbc.com/news/science-environment-51019798 ธันวาคม 2564 25
สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อุ่นใจ ผศ. ดร.ป๋วยอนุ่ ใจ | http://www.ounjailab.com นักวจิ ัยชวี ฟิสิกส์และอาจารย์ประจำ�ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล นักสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์ นกั เขียน ศลิ ปินภาพสามมติ ิ และผู้ประดษิ ฐ์ฟอนต์ไทย มีความสนใจทง้ั ในดา้ นวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี งานศิลปะและบทกวี แอดมินและผ้รู ว่ มก่อต้งั เ พจ FB: ToxicAnt เพราะทกุ สงิ่ ลว้ นเปน็ พิษ ว่่าด้้วยโควิิดสายพัั นธุ์�์ใหม่่ ทอล์์กออฟเดอะทาวน์์ในช่่วงนี้้�คงไม่่พ้้ น เรื่่�องโควิิดสายพัั นธุ์์�ใหม่่ “โอมิิครอน” หรืือที่่�หลายคนเรีียกว่่า “โอไมครอน” ที่่� หลัังจากเปิิดตััวอย่่างเปรี้้�ยงปร้้างก็็ทำำ� เอาเศรษฐกิิจปั่�่นป่่วนไปหมดแล้้วทั่�่วโลก เป็็นเหมืือนตััววงแตกที่่�ทำ�ำ ให้้การเปิิด ประเทศ การฟื้� น้ ตััวของเศรษฐกิิจที่่�กำ�ำ ลััง ค่่อยๆ ฟููขึ้้�นอย่่างช้้าๆ ต้้องชะงัักกึึกราว ต้อ้ งมนต์น์ ะจัังงัังไปอีีกรอบ ธนั วาคม 2564 26
สภากาแฟ และจากการประกาศลา่ สดุ ชดั เจนวา่ ประเทศแอฟริกาใต้ท่ีแจ้งพบผลตรวจ Prevention) ใหข้ อ้ มลู “แตก่ ารคน้ พบไวรสั ในเวลานี้โอมิครอนก็เข้ามาเย่ียม อาร์ทีพีซีอาร์แปลกๆ ในผู้ติดเช้ือก่อโรค ชนิดหรือสายพันธ์ุใหม่ ไม่ได้หมายความ เยือนพี่ไทยเป็นทีเ่ รียบร้อย… โควดิ 19 ทม่ี าจากจงั หวดั กวั เตง็ และเมอื ง ว่ามันจะมีต้นก�ำ เนิดมาจากทน่ี น่ั ” ซึ่งน่ันทำ�ให้หลายคนเริ่มกังวลและ โยฮันเนสเบิร์ก เรายังบอกไม่ได้ว่าไวรัสนี้เกิดมาจาก ตระหนก แตด่ ้วยขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่อยา่ งจ�ำ กดั ดร.แอลลสิ นั กลาส (Allison Glass) ที่ไหน เป็นไปได้ว่าอาจจะอุบัติข้ึนมาสัก คงจะเร็วเกินไปท่ีจะบอกได้ว่าสายพันธ์ุนี้ นักวิทยาศาสตร์ของแลบเเลนเซ็ต เผย ระยะแล้วกว่าท่ีเราจะหามันเจอ ยิ่งไป จะระบาดได้รวดเร็วและร้ายแรงเพียงใด วา่ การคน้ พบครง้ั น้ีดจู ะมาพร้อมๆ กบั การ ระบาดอยใู่ นพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารส�ำ รวจจโี นมนอ้ ย แต่เท่าที่มีการประมาณการคร่าวๆ จาก ติดเชอ้ื ท่พี ่งุ สงู ขน้ึ ในแอฟรกิ าใต้ ในเดอื น และไมค่ รอบคลมุ ยงิ่ หาเจอไดย้ าก จ�ำ นวนผตู้ ดิ เชอื้ ทต่ี รวจพบ คดิ วา่ เชอ้ื โควดิ ทีผ่ ่านมา “เราน่าจะพอประมาณไดก้ ว้างๆ จาก สายพันธ์ุโอมิครอนนี้น่าจะแพร่กระจาย “โอมิครอนเคสแรกท่ีเราตรวจพบมา ความหลากหลายที่พบในตัวอย่างจีโนม ได้ง่ายกว่าสายพันธุ์เดลตาท่ียึดหัวหาด จากบอตสวานา (Botswana) และตอ่ มาก็ ไวรัสนี้น่าจะอุบัติข้ึนมาช่วงกลางเดือน อยูใ่ นตอนนีอ้ ยูพ่ อสมควร เจอในแอฟรกิ าใต”้ ดร.จอหน์ เกน็ กาซอง ตลุ าคม (เดาแบบกวา้ งๆ) เราเชอ่ื วา่ มนั นา่ จะ ส า ย พั น ธ์ุ โ อ มิ ค ร อ น น้ี เ จ อ ค รั้ ง แ ร ก (John Nkengasong) ผู้อำ�นวยการศูนย์ เพง่ิ เกิดได้ไมน่ าน” ดร.ครสิ เตียน แอน- จากรายงานของแลนเซต (Lancet) แลบ็ ควบคมุ และปอ้ งกนั โรคแหง่ แอฟรกิ า (the เดอร์สัน (Kristian G. Anderson) จาก เอกชนในเมืองพรีทอเรีย (Pretoria) ใน Africa Centres for Disease Control and สถาบนั วจิ ยั สครปิ ส์ (Scripps Research) ในแคลฟิ อรเ์ นยี ทวตี ธันวาคม 2564 27
สภากาแฟ ซึ่งทวีตของแอนเดอร์สันนั้นถือว่า วิจัยจากสถาบันโรคติดต่อแห่งแอฟริกา เกือบทั้งหมดในประเทศมาจากสายพันธ์ุ ค่อนข้างใกล้เคียงกับความเห็นของ (Africa's Institute for Communicable เดลตานั้นน้อยกว่า 1 และจำ�นวนเคสก็ ดร.เทรเวอร์ เบดฟอร์ด ผ้เู ช่ียวชาญดา้ น Diseases) เผยว่า “ที่จรงิ แล้ว การส�ำ รวจ มีแนวโน้มจะลดลงเร่ือยๆ” นพ.ริชาร์ด ระบาดวิทยาจากมหาวิทยาลัยวอชิงตัน นำ้�เสียได้เตือนให้เรารู้ล่วงหน้าแล้วว่ามี เลสเซลส์ (Richard Lessels) แพทย์โรค (University of Washington) ทีเ่ หน็ พอ้ ง เคสเกิดใหม่เกิดขึ้นสักพักแล้วในเมือง ติดเชื้อจากมหาวิทยาลัยควาซูลูนาทัล ตอ้ งกนั หลงั จากดขู อ้ มลู จโี นมและการระบาด พรีทอเรีย ผลการตรวจพันธุกรรมไวรัส (Kwazulu-Natal University) ประเทศ คร่าวๆ แล้วว่า “สายพันธ์ุโอมิครอน ในนำ้�เสียในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึง แอฟริกาใต้ เผย “ทว่าในช่วงก่อนที่จะมี น้ันน่าจะถือกำ�เนิดขึ้นมาก่อนหน้าที่เรา ต้นเดือนพฤศจิกายนจากเมืองพรีทอเรีย การค้นพบไวรัสสายพันธ์ุใหม่ โอมิครอน จะรู้จักมันอยู่นานแล้ว น่าจะต้ังแต่ช่วง น้ันบ่งช้ีชัดว่ามีปริมาณไวรัสเพ่ิมข้ึน ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2564 ตน้ ๆ ตลุ าคมโน่นเลย” อยา่ งรวดเร็วในท้องที่” สถานการณ์การติดเชื้อก็เริ่มกลับมาน่า “การจะไปขดุ คยุ้ หาผปู้ ว่ ยคนแรกหรอื “ในชว่ งตน้ ไตรมาส คดิ วา่ สถานการณ์ กังวลอีกครั้ง ตัวเลขจำ�นวนผู้ติดเช้ือใน patient zero นั้นคงทำ�ได้ยาก” จอห์น การระบาดกำ�ลังดูเร่ิมจะค่อยๆ ดีขึ้น ค่า ประเทศเรมิ่ พงุ่ ทะยานขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ กล่าว อัตราการระบาดหรือค่า R ในกัวเต็งใน ส่งผลให้ค่า R ท่ีเคยน้อยกว่า 1 ในกวั เตง็ ดร.มเิ ชลล์กรมู (MichelleGroome)นกั เดือนกันยายน 2564 ในชว่ งท่กี ารติดเชื้อ กลบั เพิม่ ขึน้ ไปแตะเลข 2 อกี รอบ” ธนั วาคม 2564 28
สภากาแฟ คา่ R เทา่ กับ 2 นนั่ หมายความวา่ คน การติดเชื้อท่ีพุ่งข้ึนอย่างรวดเร็วจึงน่าที่ ทอมประมาณการว่าโอมิครอนน่าจะ ป่วยหนึ่งคนจะแพร่เชื้อไปติดคนรอบข้าง จะมาจากการติดเช้ือซำ้�และการติดเช้ือ ระบาดแพร่เชื้อได้ไวกว่าเดลตาราวๆ เพิ่มได้อีกสองคน ชัดเจนว่ากัวเต็งกำ�ลัง ทะลุภูมิ 3-6 เทา่ ผจญกับการระบาดระลอกใหม่ที่กำ�ลัง สภาวะแบบนถ้ี า้ มองในมมุ ววิ ฒั นาการ แต่หลายฝ่ายก็ยังคงไม่ยอมไม่ปักใจ ค่อยๆ ขยายวงออกไป ซึ่งเป็นที่น่าตกใจ เพราะภูมิที่มีคือแรงคัดเลือกที่จะช่วย เช่อื ในตัวเลขพวกนี้ เพราะถา้ ว่ากันแฟร์ๆ เพราะการเพิ่มของค่า R ในช่วงเดือน กดี กนั ไมใ่ ห้ไวรสั สายพนั ธเุ์ ดมิ ๆ ทย่ี ดึ ครอง การตคี วามจากขอ้ มลู ทม่ี จี �ำ กดั จากเมอื งที่ พฤศจิกายนน้ันช้ีชัดว่าโอมิครอนมาแล้ว พ้ืนที่อยู่เดิมทั้งเดลตา แอลฟา บีตา ไม่ ก�ำ ลงั ระบาดกนั อยแู่ คเ่ มอื งเดยี วนนั้ กอ็ าจ และท่ีน่าตกใจย่ิงกว่า มาแรงกว่าเดลตา สามารถระบาดติดเช้ือได้กว้างขวางอย่าง จะใหข้ อ้ สรปุ ทนี่ า่ กงั วลจนเกนิ จรงิ กเ็ ปน็ ได้ ดว้ ย อย่างน้อยกใ็ นพนื้ ทกี่ ัวเตง็ ทเ่ี คย จงึ เหมาะมากทจี่ ะบม่ เพาะสายพนั ธ์ุ ท้ายท่ีสุดจึงยังต้องรอดูต่อไปอย่างระมัด การระบาดในแอฟริกาใต้อาจจะบ่งช้ี ไวรัสที่จะหลบหลีกภูมิได้ และเป็นไปได้ ระวังและตงั้ การด์ ได้ ในระดับหนึ่งถึงความสามารถในการ ว่าโอมิครอนก็เป็นหน่ึงในตัวที่กลายพันธุ์ หลายประเทศเรมิ่ ประกาศปดิ ประเทศ หลบหลีกภูมิของโอมิครอน เพราะแม้ แล้วแจ็กพอตเลยได้โอกาสได้อุบัติขึ้นมา แบนนกั เดนิ ทางจากพน้ื ทเ่ี สย่ี ง หรอื แมแ้ ต่ จะฉีดวัคซีนกันไปแค่ราวๆ ย่ีสิบกว่า จากการคัดเลือกแบบนี้ ล็อกดาวน์กันอีกรอบ เพื่อรอให้มรสุม เปอรเ์ ซน็ ต์ แตแ่ อฟรกิ าใตเ้ จอการระบาด “การกลายพันธ์ุน้ีนี่เป็นผลดีอย่าง โอมคิ รอนเริม่ ซาลงก่อน หรอื อยา่ งนอ้ ยก็ อย่างหนักหน่วงมาแล้วหลายรอบ จึง มหาศาลกบั ไวรสั แตไ่ มใ่ ชก่ บั เรา” ดร.ทอม ให้ข้อมูลสำ�หรับการประเมินโอกาสและ อาจเช่ือได้ว่าประชากรในแอฟริกาใต้ เวนเซลเลียร์ (Tom Wenseleers) จาก ความเส่ียงเร่ิมท่ีจะชัดเจนขึ้น จะได้ออก สว่ นใหญน่ า่ จะเคยตดิ เชอ้ื กอ่ โรคโควดิ 19 มหาวิทยาลัยคาทอลิก ลิวเวน (Catholic ยุทธศาสตร์ป้องกันได้ถูก ด้วยเข็ดขยาด สายพนั ธกุ์ อ่ นๆ กนั มาบา้ งแลว้ จงึ นา่ จะพอ University of Leuven) ประเทศเบลเยยี ม กลัวประวัติศาสตร์จะซำ้�รอยหนักหนา มภี มู คิ มุ้ กนั หมอู่ ยใู่ นระดบั หนงึ่ จ�ำ นวนเคส กล่าว สาหัสเหมือนตอนที่เจอกับอู่ฮั่น แอลฟา และเดลตามาแลว้ หลายระลอก ธันวาคม 2564 ในยคุ ทขี่ อ้ มลู รวดเรว็ ทนั ใจ อกี ไมน่ าน กต็ อ้ งรชู้ ดั เพราะถา้ โอมคิ รอนมนั รา้ ยกาจจรงิ 29 ดังที่กลัวกัน จำ�นวนเคสติดเช้ือทะลุภูมิ จะต้องเริ่มกลับมาเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว เป็นระลอกใหม่อีกรอบในหลายประเทศ ที่เพ่ิงอิมพอร์ตมันเข้าไป และยังไม่มี มาตรการในการป้องกันโรคท่ีเหมาะสม อาจจะเป็นดังที่พรีพรินต์ที่ออกมาแล้ว โดยทมี วจิ ยั จากสถาบนั โรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ (National Institute of Commumicabla Diseases) ประเทศแอฟริกาใต้ และ มหาวิทยาลัยวิทวอเทอร์สแรนด์ (The University of the Witwatersrand) ต้งั แต่ วนั ท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ใน MedRxiv ไดเ้ ตือนเอาไว้
สภากาแฟ ในมุมนักวิจัย แอบอ้ึงเล็กๆ กับ ไปแล้ว หรือไม่ก็เป็นพวกที่เคยประสบ อีกอย่างท่ีนักวิทยาศาสตร์รู้แล้ว ผลงานวจิ ยั เพราะเรว็ มาก แคไ่ มถ่ งึ สปั ดาห์ พบเจอ หรือติดเชื้อมาแล้วรอบนึงจาก เก่ียวกับโอมิครอนก็คือลำ�ดับพันธุกรรม หลงั การเปดิ ตวั ของโอมคิ รอน พรพี รนิ ตก์ ็ สายพนั ธอ์ุ นื่ ๆ ซงึ่ ถา้ ตดิ อาการกจ็ ะเบากวา่ ทงั้ หมดของมนั แตจ่ ะบอกวา่ แคเ่ หน็ จโี นม ออกมาจองถนน น่าจะเตรียมเขียนส่งไป พวกกลมุ่ เสยี่ งอยดู่ ี คงตอ้ งตดิ ตามดขู อ้ มลู โอมิครอนเข้าไป หัวใจก็หวาดหว่ัน ด้วย ตพี มิ พเ์ ปน็ เปเปอรเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ ขอชนื่ ชม การระบาดของโอมคิ รอนอกี สกั ระยะกวา่ ท่ี จำ�นวนการกลายพันธ์ุที่มีแบบมากมาย ว่าทำ�งานไวจนนักวิจัยประเทศอื่น…ถึง จะฟนั ธงไดว้ า่ ความรนุ แรงของการตดิ เชอื้ ในจีโนม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนของ ข้นั องึ้ สายพนั ธกุ์ ลายโอมคิ รอนนน้ั หนกั หรอื เบา โปรตีนหนามที่เป็นเป้าหมายสำ�คัญของ ส่วนเร่ืองของอาการป่วยก็เช่นกัน รุนแรงหรอื หน่อมแนม้ การกระตุ้นภูมิคุ้มกันจากวัคซีน และ ในเวลาน้ียังเร็วไปที่จะบอกว่าโอมิครอน แต่ท่ีเห็นในตอนน้ีโดยรวมน่าจะไม่ ยาชีววัตถุหลายตัว ถ้าให้ประเมินจาก จะทำ�ให้คนติดเช้ือป่วยหนักหรือเบากว่า ต่างจากอาการของโควิดท่ีเป็นที่รู้กัน แบบแผนการกลายพันธ์ุ โอมิครอนน่า สายพนั ธอ์ุ นื่ ๆ เพราะคนทตี่ ดิ เชอ้ื โอมคิ รอน อยแู่ ล้ว จะหลบภูมคิ ุ้มกนั ไดแ้ บบไม่ธรรมดา ในเวลานสี้ ว่ นใหญม่ กั จะเปน็ กลมุ่ อายนุ อ้ ย ทปี่ กตติ อ่ ใหต้ ดิ เชอื้ อาการกจ็ ะไมค่ อ่ ยหนกั อยู่แล้ว หรือไม่ก็เป็นพวกท่ีได้รับวัคซีน ธันวาคม 2564 30
สภากาแฟ การกลายพนั ธขุ์ องโอมคิ รอนสะเทอื น ศ.พอล เบียนิแอสซ์ (Paul Bieniasz) ทน่ี า่ ตกใจกค็ อื ลสิ ตข์ องการกลายพนั ธ์ุ เลื่อนลั่นขนาดท่ีทำ�ให้บริษัทผู้ผลิตวัคซีน นักไวรัสวิทยาจากมหาวิทยาลัยร็อกกี มากมายของโอไมครอนดนั แจก็ พอตไปตรง หลายเจ้า ท้ังโมเดอร์นา ไฟเซอร์ และ เฟลเลอร์ (Rockefeller University) ท่ีได้ กับที่พอลเขียนไว้ ในเปเปอร์ของเขาอยู่ แอสตาเซเนกา ตา่ งกเ็ รง่ ออกมาแถลงการณ์ ตีพิมพ์เผยแพร่แบบแผนของจุดกลาย คอ่ นขา้ งมาก และยงั ตรงกบั อกี หลายงาน ในเรื่องประสิทธิภาพวัคซีนและจะรีบทำ� พันธุ์หลายจุดบนโปรตีนหนามท่ีทำ�ให้ ท่ีออกมาบ่งชี้หรือทำ�นายจุดกลายพันธุ์ การศกึ ษาโดยดว่ นวา่ การกลายพนั ธแ์ุ บบท่ี ไวรัสสามารถดื้อต่อภูมิจากวัคซีนและ บนโปรตีนหนามดื้อภูมิคุ้มกันท่ีมีออกมา พบในไวรัสใหม่นี้จะเพ่ิมความสามารถให้ การตดิ เชื้อธรรมชาตไิ ด้แบบสมบูรณ์ออก มากมายอย่างตอ่ เน่อื งอกี ด้วย ไวรัสสามารถหลบเล่ียงภูมิจากวัคซีนได้ มาในวารสาร nature การกลายพนั ธทุ์ พี่ อล แม้จะยังไม่สามารถหาหลักฐานชัดๆ มากเพียงไร โดยส่วนใหญ่บอกว่ารออีก เจอน้ันน่ากลัวมาก เพราะหลบภูมิเก่ง มายืนยันได้ว่าโอไมครอนมีอิทธิฤทธิ์มาก นิดดดดด กำ�ลังรีบวิจัยอยู่ แล้วจะรีบ ขนาดที่ต้องบอกว่าแม้จะมีระดับแอนติ- แค่ไหน แบบแผนการกลายพันธ์ุที่เรา เอาผลมาให้ดใู นอีกไม่กีส่ ปั ดาห์ บอดีสูงล่ิวชนทะลุเพดานไปสามช้ัน เห็นได้จากจีโนมของมันที่ไปพ้องกับการ แ ต่ มี ข้ อ มู ล ท่ี น่ า ส น ใ จ อี ก อ ย่ า ง ท่ี แอนติบอดีมากมายเหล่าน้ันก็ไม่ระคาย กลายพันธุ์แสบๆ ก็ได้สร้างความกังวลใจ ออกมาเม่ือเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดย โปรตนี หนามกลายพนั ธเ์ุ หลา่ นน้ั แมแ้ ตน่ อ้ ย ใหน้ กั วิทยาศาสตร์มากมายไปแลว้ อย่างไรก็ตาม ยังมีเรื่องราวอีกมาก มายที่เรายังไม่รู้สำ�หรับโอมิครอน เพราะ สายพันธุ์น้ีมันใหม่มาก อย่างน้อยคง ต้องรออีกสักสองสามสัปดาห์จึงจะเร่ิมมี ข้อสรุปเก่ียวกับโอมิครอนท่ีพอจะเชื่อถือ ไดจ้ รงิ ๆ (และไมไ่ ดม้ าจากการคาดเดาหรอื ตคี วาม) ออกมา ในตอนนี้ พวกเรากค็ งตอ้ ง ใจเย็นๆ ค่อยๆ รับข้อมูลแบบฟังหูไว้หู ต่อไป ท่ีสำ�คัญ อย่าเพ่ิงตีตนไปก่อนไข้ แตก่ ต็ ้องไม่ประมาท เตรยี มพรอ้ มทกุ เมอื่ ที่จะกลับมาตั้งการ์ดและเฝ้าระวังตัวเอง และครอบครัวกันอีกรอบ เพื่อจะได้ไม่ เจอเร่ืองเซอร์ไพรสแ์ บบไม่พงึ ประสงค์ ! ขอใหส้ ุขภาพดีกนั ทกุ คนครบั ธนั วาคม 2564 31
หอ้ งภาพสตั วป์ า่ ไทย ประทีป ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทิงิ เมย Bos gaurus กระทิิงเป็็นวััวป่่าหนึ่่�งในสองชนิิดของประเทศไทย มีีลำ�ำ ตััวสีีดำำ�เข้้ม ขาทั้้ง� สี่่ข� ้้างมีีขนสีีขาวปกคลุมุ ตั้้�งแต่ห่ ััวเข่า่ ลงไปถึงึ กีีบ อาศัยั หากิิน รวมกัันเป็็นฝููงขนาดใหญ่่ พบได้้ในผืืนป่่าอนุุรัักษ์์ขนาดใหญ่่ ทั่่ว� ประเทศไทย ธันวาคม 2564 32
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วรศิ า ใจดี สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ 25 วรศิ า ใจดี (ไอซี) เด็กสาย(พนั ธ)์ุ วทิ ย์สานศิลป์ ชอบเรียนคณติ ศาสตรแ์ ละฟิสกิ ส์ สนใจเรอื่ งเกยี่ วกบั อวกาศ และสตั วเ์ ลีย้ งตัวจ๋วิ เวลาว่างชอบทำ�งานศลิ ปะ กำ�ลังคน้ หาสูตรผสมทล่ี งตัวระหวา่ งวิทย์กับศลิ ป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ภาพโดย : วริศา ใจดี Arecibo Message จากดาวโลกสู่ห้วงอวกาศ ธันวาคม 2564 33
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ “ใครอยากคุุยกับั มนุษุ ย์์ต่า่ งดาวยกมืือขึ้�้น” ฉันคนหนึ่งแหละที่อยากคุย จินตนาการถงึ ความเป็นไปไดข้ องมนุษย์ ปฏบิ ตั กิ ารหนง่ึ ในอดตี ทใ่ี นมนษุ ยเ์ ราเคยสง่ ตราบใดท่ีไม่ใชก่ ารประกาศ ต่างดาวบนอวกาศอันไกลโพ้นล้วนชวน ข้อความไปหามนุษย์ต่างดาวด้วภาษาท่ี สงครามนะและถ้าได้คุยกันรู้เร่ืองละก็ ให้ทุกคนท้ังสงสัย ท้ังกลัว และท้ัง ประดษิ ฐข์ น้ึ มาเพอ่ื ใหส้ อื่ เขา้ ใจตรงกนั และ ฉนั เหน็ แตข่ อ้ ดที งั้ นน้ั อยา่ งเชน่ อารเ์ ทอร์ อยากรอู้ ยากเหน็ ไปพรอ้ มๆ กนั จรงิ ๆ แลว้ เรยี กขอ้ ความนนั้ วา่ “Arecibo Message” เดนต์ ในหนงั สอื Hitchhiker’s Guide to เบ้ืองหลังของแนวคิดจินตนาการพวกน้ี เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2563 the Galaxy ทรี่ อดชวี ิตจากวนั ส้นิ โลกได้ มาจากไหนกนั นะ หรอื เคยมีใครไดค้ ยุ กบั เช่ือว่าหลายๆ คนคงได้ยินข่าวของ ก็เพราะฟอร์ด พรเี ฟกต์ เพอ่ื นตา่ งดาว มนษุ ย์ตา่ งดาวมากอ่ นหรอื ยงั ? กล้องโทรทรรศน์วิทยุอาร์ซิโบ กล้องที่ มาช่วยไว้ทัน หรือที่ดอกเตอร์ในซีรีส์ ว่าแต่หากติดต่อถึงกันได้แล้ว ฉัน ครองตำ�แหน่งกล้องโทรทรรศน์วิทยุ Doctor Who พาโรส คหู่ เู ดนิ ทางของเขา ควรจะใช้ภาษาอะไรดีนะ ถ้านับแค่ภาษา ท่ีใหญ่ที่สุดในโลกมาได้ถึง 53 ปี ถล่ม ไปรว่ มปารต์ ต้ี า่ งดาวชมเหตกุ ารณส์ ดุ แสน ท่ีมนุษย์เราใช้กันบนโลกก็ปาเข้าไปกว่า ลงมาหลังจากการใช้งานอันยาวนาน แฟนตาซีของวันดวงอาทิตย์ระเบิด 6,500 ภาษาแล้ว ถ้าต้องสื่อสารถึงดาว ร่วม 57 ปี กล้องน้ีตั้งอยู่ท่ีหอดูดาว อีกท้ังเร่ืองราวคลาสสิกของมิตรภาพ อน่ื อกี คงตอ้ งปวดหวั กนั วนุ่ และหากเกดิ อาร์ซิโบ (Arecibo Observatory) ซึ่งมี อันสุดซึ้งระหว่างอีทีกับเอลเลียตใน แปลไมต่ รงกันข้ึนมาละ่ จะเกิดการเข้าใจ บทบาทสำ�คัญในการศึกษาเอกภพและ E.T. the Extra-Terrestrial ฉันเช่ือ ผิด จากคำ�ทักทายจะกลายเป็นค�ำ ท้าทาย สร้างผลงานเด่นๆ ไว้หลายช้ินตั้งแต่ ว่าหลายๆ คนคงเคยได้อ่านได้ชมเรื่อง จนเกดิ สงครามอวกาศไหมนะ ? แลว้ อะไร ยุคบุกเบิกวงการดาราศาสตร์ รวมถึง ราวเหล่าน้ีกันมาบ้างแล้ว และอีก คือภาษาสากลท่ีควรใช้กันในจักรวาล ?! “Arecibo Message” หนง่ึ ในภารกจิ ส�ำ คญั หลายๆ ตัวอย่างในภาพยนตร์ไซไฟที่ หลังจากนั่งคิดอยู่นาน ฉันก็นึกข้ึนได้ถึง ของหอดดู าวอารซ์ โิ บทช่ี ว่ ยตอบขอ้ ขอ้ งใจ เร่อื งบทสนทนาจากต่างดาว หอดูดู าวอาร์์ซิโิ บและอุปุ กรณ์ท์ ี่่�ติดิ ตั้�งไว้้ ธนั วาคม 2564 34
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ หอดูดู าวอาร์์ซิิโบหลังั จากโครงสร้้างอุุปกรณ์ท์ ี่่�ติดิ ตั้�งไว้ถ้ ล่่มลงมา สัญลักษณ์ต่างๆ) มาจนถึงภารกิจสำ�คัญ แทนท่ีจะตรวจจับดักฟังมนุษย์ต่างดาว กลอ้ งโทรทรรศนว์ ทิ ยอุ ารซ์ โิ บประกอบ กระจุกดาวทรงกลม M13 (Messier 13) คยุ กนั แตก่ ลายเปน็ การทมี่ นษุ ย์โลกอยาก ด้วยแท่นอุปกรณ์หลัก ขึงโยงด้วยสาย ที่อยหู่ ่างออกไปสองหม่ืนกวา่ ปแี สง เป็น จะคุยให้มนษุ ย์ตา่ งดาวฟงั บ้าง มนุษย์เรา เคเบิลให้อยู่สูงข้ึนไปเหนือจานสะท้อน ส่วนหนึ่งของปฏิบัติการค้นหาสิ่งมีชีวิต จงึ เปน็ ฝา่ ยสง่ สญั ญาณออกไปนอกโลกซะ รูปครึ่งทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง นอกโลก (Search for ExtraTerrestrial เอง หรือที่รจู้ ักกนั ในชือ่ ภารกจิ “Arecibo 305 เมตร ลึก 51 เมตร ซึ่งทำ�หน้าที่ Intelligence: SETI) โพรเจกต์ SETI มี Message” ส ะ ท้ อ น สั ญ ญ า ณ ขึ้ น ไ ป ยั ง อุ ป ก ร ณ์ ภารกิจท่ีหลากหลาย ตั้งแต่การตรวจจับ “Arecibo Message” หรอื ข้อความ ด้านบน หัวใจสำ�คัญก็คือเจ้าจานสะท้อน คล่ืนสัญญาณจากต่างดาว อย่างท่ีเรา อาร์ซโิ บ ออกแบบโดยคุณ แฟรงค์ เดรก น่ีแหละ ที่ยิ่งมีขนาดใหญ่เท่าไหร่ กล้อง ได้ดูกันในภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เรื่อง (Frank Drake) นกั ดาราศาสตรช์ าวอเมรกิ นั โทรทรรศน์วิทยุก็จะย่ิงรับรู้รายละเอียด Contact (นวนิยายเรื่อง Contact เขียน ผู้เร่ิมพัฒนาการส่ือสารที่ไร้ข้อจำ�กัดด้าน ได้มากขึ้น และยิ่งใช้เวลาน้อยลงในการ โดยคุณคาร์ล เซแกน (Carl Sagan) หน่งึ ภาษา เขาออกแบบวิธกี ารแปลงข้อความ เก็บข้อมูลแต่ละคร้ัง อุปกรณ์ทั้งหมดน้ี ในทีมงานท่ีคิดค้นข้อความอาร์ซิโบ เน้ือ สู่รหัสลับท่ีผู้คนท่ัวโลกก็สามารถถอด ตั้งอยู่ที่เครือรัฐปวยร์โตรีโก ในตำ�แหน่ง เรอื่ งกลา่ วถงึ การแปลงสญั ญาณคลน่ื วทิ ยุ ข้อความออกมาได้ใกล้เคียงหรือตรงกัน ท่ีมีหลุมยุบธรรมชาติพอดิบพอดีกับ ประหลาดจากอวกาศเป็นข้อความ เพื่อ เรียกว่า Drake’s puzzle ซ่ึงภายหลัง การติดต้ังจานคร่ึงทรงกลมน้ีเข้าไป เม่ือ ส่ื อ ส า ร กั น ร ะ ห ว่ า ง ม นุ ษ ย์ โ ล ก กั บ สิ่ ง มี ไดน้ �ำ มาเปน็ ตน้ แบบของขอ้ ความอารซ์ โิ บ เวลาผา่ นไปนานเข้า สายเคเบลิ ขาดออก ชีวิตนอกโลก ซึ่งภายหลังได้นำ�ไปสร้าง ดว้ ยความชว่ ยเหลอื ของคณุ คารล์ เซแกน และโครงสร้างกถ็ ลม่ ตามลงมา เป็นภาพยนตร์ นอกจากเร่ือง Contact และทีมปฏิบัติการ SETI ภาพพิกเซล วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 แล้วยงั มีภาพยนตรเ์ รอื่ ง Arrival ท่แี สดง หน้าตาประหลาดดังภาพประกอบท่ีจะ กล้องโทรทรรศน์วิทยุอาร์ซิโบส่งคล่ืน ให้เห็นว่ามนุษย์ต่างดาวสามารถสื่อสาร แสดงน้ี จึงไดร้ บั การสรา้ งสรรคข์ ึ้น สัญญาณท่ีทรงพลังที่สุดสู่อวกาศ ไปยัง กับมนุษย์ด้วยการเปลี่ยนรูปร่างเป็น ธนั วาคม 2564 35
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพพิกิ เซลแสดงข้อ้ ความอาร์์ซิโิ บ ภาพพิกเซลหน้าตาประหลาดน้ีมี เอาละ เราลองมาถอดรหัสข้อความ “Arecibo Message” ขอ้ ความเกย่ี วกบั โลกของเราซอ่ นอยู่ และ อาร์ซิโบกันดู เมื่อดูจากรูปภาพจะเห็น กอ่ นจะอา่ นผลการถอดรหสั ฉันอยากจะ ได้ว่าข้อความอาร์ซิโบนั้นแบ่งออกเป็น ให้ทุกคนลองคิดในใจดูว่าเม่ือเห็นภาพ ทั้งหมด 7 ส่วนท่ีส่ือถึงใจความสำ�คัญ แสดงข้อความอาร์ซิโบแล้วนึกถึงอะไร 7 ประการด้วยกัน ในการถอดความหมาย บ้าง ลองจินตนาการหากเราเป็นมนุษย์ เราจำ�เป็นต้องแปลงส่วนสีดำ�ให้เป็นเลข ต่างดาวท่ีได้รับข้อความนี้ เราจะแปล 0 สว่ นสีอนื่ ๆ เป็นเลข 1 ใหห้ มดเสียก่อน ความออกมาเปน็ อยา่ งไรนะ และสุดท้ายเราจะได้ภาพที่ดูแล้วชวน ข้อความท่ีว่านี้มีความยาว 3 นาที ตาลายดงั ภาพประกอบ ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย เ ล ข ฐ า น ส อ ง ทั้ ง ส้ิ น 1,679 หลกั แปลงไปอยใู่ นรปู ภาพพกิ เซล ข้อ้ ความอาร์์ซิิโบแบบรููปภาพทั้้�ง 7 ส่่วน (ซ้้าย) 1,679 บิต โดยสีดำ�แทนเลข 0 สีอ่ืนๆ เทียี บกับั ภาพที่่แ� ปลงออกมาเป็น็ ตัวั เลขฐานสอง (ขวา) แทนเลข 1 เรียงกันไปตามตารางขนาด 73 แถว 23 คอลมั น์ หากสังเกตใหด้ ีจะ พบว่า เลข 73 และ 23 เปน็ ตวั ประกอบ เฉพาะของ 1,679 และยังเป็นการจัด เรียงหนึ่งเดียวที่คุณเดรกค้นพบผ่านการ ทดลองบีบอัดแถวรหัสจนเกิดรูปภาพ แบบนขี้ นึ้ มา การวางตวั ของพกิ เซลแตล่ ะ หน่วยนั้นอยู่ในรูปแบบท่ีสื่อสัญลักษณ์ เชิงศิลปะ จากรหัสสุดงงได้กลายมาเป็น โปสการ์ดแผ่นแรกที่ส่งไปในห้วงอวกาศ ลองมาเดากันไหมว่าในโปสการ์ดอวกาศ แผ่นนี้มขี ้อมลู อะไรซอ่ นอย่บู า้ ง ? หนงั สอื Extraterrestrial Languages ได้รวบรวมวิธีการแปลข้อความอาร์ซิโบ เอาไว้แบบเข้าใจได้ง่าย ทำ�ให้ฉันเรียนรู้ เพ่ิมว่าแค่รู้เลขฐานสองเท่าน้ันยังไม่พอ ยังมีหลักการอ่ืนๆ เพ่ิมเติมด้วย ไม่ใช่ ตัวเลขทุกหน่วยจะแปลความหมายตรงๆ ได้ เพราะบางหนว่ ยตอ้ งท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ แถว คั่นระหว่างข้อความ คล้ายระบบการเว้น วรรคท่ชี ่วยเราแยกประโยคออกจากกัน ธันวาคม 2564 36
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ต่อไปเราลองมาไล่เรียงดูที่ละส่วน สว่ นที่ 3 ขอ้ มลู ในแถวที่ 11 ถงึ 30 แสดงการแปลความหมายส่ว่ นที่่� 4 กันนะ นี้ เป็นสูตรโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ ส่วนท่ี 1 แสดงตัวเลข 1-10 ในรูป โครงสร้างพื้นฐานของกรดนวิ คลีอกิ โดย ส่วนท่ี 5 ในส่วนน้ีเราจะเห็นว่าภาพ ของเลขฐานสอง มีการจัดเรียงตำ�แหน่งตามการจับคู่กันใน วาดออกมาดูตรงไปตรงมา แต่กลับนับ ถดั มาในสว่ นท่ี 2, 3 และ 4 จะเน้นไป เกลียวดีเอน็ เอด้วย เปน็ สว่ นทถี่ อดความไดย้ ากทส่ี ดุ เพราะถงึ ที่ดีเอ็นเอหรือรหัสพันธุกรรมของมนุษย์ แม้จะได้ข้อมูลตัวเลขท่ีแปลงออกมาจาก เป็นหลัก ตั้งแต่ธาตุประกอบพื้นฐาน แสดงการแปลความหมายส่่วนที่่� 3 เลขฐานสอง แต่ยังต้องนำ�ไปคำ�นวณกับ สตู รโมเลกลุ และการวางโครงสรา้ ง ดังนี้ ความยาวคล่ืนของข้อความอีกที เพื่อให้ ส่วนท่ี 4 รูปเกลียวสีน้ำ�เงินท่ีเรา ได้ความสูงเฉล่ียของมนุษย์ออกมา ส่วน แสดงตัวั เลข 1-10 ในรูปู ของเลขฐานสองของ เห็นน้ันก็คือเกลียวดีเอ็นเอหรือรหัส รูปทางขวามือที่คลา้ ยแผนท่ี แสดงขอ้ มลู ส่ว่ นที่่� 1 (ฉันั แยกแถวคั่น� ด้ว้ ยการไฮไลต์์ให้ม้ ัันเป็น็ พันธุกรรมของมนุษย์ ตรงกลางมีแถบสี จำ�นวนประชากร แต่ต้องอ่านจากขวา สีีชมพููจางๆ) ขาวที่สามารถถอดรหัสเลขฐานสองออก ไปซา้ ย ดงั นน้ั คงจะยากมากแนๆ่ ทม่ี นษุ ย์ มาได้เป็นตัวเลขแสดงจำ�นวนคู่เบสของ ต่างดาวจะเข้าใจถูก น่ีอาจจะเป็นเหตุผล ส่วนที่ 2 ช่ือธาตุสำ�คัญพร้อมเลข ดีเอน็ เอทีว่ ดั ได้ในสมัยนนั้ (ซง่ึ ค่าน้ีจะผิด ท่ีรปู ตอ้ งมีความชดั เจน เพอื่ ช่วยให้เขา้ ใจ อะตอม ได้แก่ ไฮโดรเจน คาร์บอน ไปจากปัจจุบันที่นับได้ เพราะข้อความนี้ ง่ายข้ึน แทนการหวังพึ่งเลขฐานสอง ไนโตรเจน ออกซเิ จน และฟอสฟอรสั โบราณมากและยังอิงความรู้เดิมสมัยท่ี อย่างเดยี ว เรายงั เขา้ ใจทฤษฎเี กา่ อยู)่ แสดงตัวั เลข 1-10 ในรููปของเลขฐานสองของ ส่วนตอ่ ไปในส่วนท่ี 5 และ 6 จะเปน็ แสดงตัวั เลข 1-10 ในรููปของเลขฐานสองของ ส่่วนที่่� 2 (ฉัันแยกแถวคั่�นด้ว้ ยการไฮไลต์์ให้้มัันเป็น็ เรื่องรายละเอียดท่ัวไปเกี่ยวกับมนุษย์บน ส่ว่ นที่่� 5 (ฉัันแยกแถวคั่น� ด้้วยการไฮไลต์ใ์ ห้ม้ ันั เป็น็ สีีชมพูจู างๆ) โลก และความรพู้ นื้ ฐานทเ่ี รามตี อ่ จกั รวาล สีชี มพูู) ท่ีเราอยู่ ธันวาคม 2564 37
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ส่วนท่ี 6 แถบสีเหลืองแสดงภาพ แสดงตัวั เลข 1-10 ในรูปู ของเลขฐานสองของ ท้ัง 1,679 หลกั น้ีออกมาได้ และแน่นอน ระบบสุริยะ โดยมดี วงอาทิตยป์ รากฏเปน็ ส่ว่ นที่่� 7 (ฉัันแยกแถวคั่น� ด้ว้ ยการไฮไลต์ใ์ ห้ม้ ันั เป็็น ว่าข้อความนี้สร้างข้ึนเพ่ือให้มนุษย์อย่าง ดวงแรก และมีขนาดใหญ่สุด ตามด้วย สีชี มพู)ู เราๆ นี่แหละเปน็ คนถอดรหสั ดาวพุธ ศุกร์ โลก อังคาร พฤหัส เสาร์ จนถึงวันน้ีเราก็ยังไม่อาจรู้ได้ว่าใคร ยูเรนัส เนปจนู ซึง่ จะสังเกตได้ว่าดาวโลก คณิตศาสตร์ทำ�ให้ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น กต็ ามทอ่ี ยใู่ นกระจกุ ดาว M13 นน้ั จะไดร้ บั อยู่สูงเด่นกว่าดาวอ่ืนๆ แสดงให้รู้ว่า รูปร่างที่สอดคล้องตรงกับข้อความที่ ขอ้ ความนห้ี รอื ไม่ เพราะกวา่ ทข่ี อ้ ความจะ ขอ้ ความนีส้ ่งมาจากโลกนะ ! และจ�ำ นวน ตอ้ งการสอื่ ถงึ การด�ำ รงอยขู่ องมนษุ ย์โลก เดนิ ทางไปถงึ กใ็ ชเ้ วลากวา่ สองหมน่ื ปแี สง จุดพิกเซลที่แทนดาวแต่ละดวงนั้นส่ือ เมื่อฉันได้เห็นรหัสอาร์ซิโบเป็นคร้ังแรก แก่นกลางของกระจุกดาวนั้นก็คงเคลื่อน ถึงขนาดของดวงดาว เม่ือเปรียบเทียบ ฉันรู้สึกทั้งงงและขบขันไม่น้อย เพราะ ตำ�แหน่งไปแล้ว หรืออาจจะมีมนุษย์จาก กนั จะเหน็ ไดว้ า่ ดาวพฤหสั กบั ดาวเสารย์ าว สัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีใช้ในข้อความล้วนข้ึน ดาวอ่ืนในบริเวณน้ันได้รับข้อความน้ีแล้ว ตั้ง 3 หน่วยแน่ะ นอกจากนี้เราจะเห็น อยู่กับการรับรู้ตามความเข้าใจและการ แต่แปลไม่ออก หรือไม่แน่ เขาอาจจะ ดาวพลูโตท่ียังรวมในระบบสุริยะอยู่เลย แปลความของแต่ละคนว่าจะเข้าใจไป แปลไปคนละทิศคนละทางจากท่ีมนุษย์ เพราะข้อมูลทั้งหมดในน้ีทำ�ไว้ต้ังแต่ ในทิศทางใด ฉันเลยไม่แปลกใจที่การคิด เราตง้ั ใจไว้ หรอื อาจก�ำ ลงั งนุ งงและแตกตน่ื ปี พ.ศ. 2517 นนู่ ประดิษฐ์ข้อความไม่ได้หยุดอยู่แค่ตัวเลข อย่กู ็เป็นได้ใครจะรู้ แ ต่ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ คิ ด เ ผื่ อ ไ ป ไ ก ล แสดงการแปลความหมายส่ว่ นที่่� 6 กว่าน้ัน โดยโยงศิลปะเข้ามาเก่ียว เผ่ือ ขอบคุณขอ้ มูลจาก: ว่ามนุษย์ต่างดาวจะไม่ได้เรียนรู้หลักการ สว่ นที่ 7 ส่วนสุดท้าย เป็นรปู กลอ้ ง ทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบเดียวกันกับ - เวบ็ ไซตข์ องหอดดู าวอารซ์ โิ บ www.naic.edu โทรทรรศน์อาร์ซิโบที่ใช้ส่งข้อมูลข้ึนไป มนุษย์เรา ภาษาภาพจึงกลายเป็นภาษา - หนังสือ Extraterrestrial Languages (The โดยสองแถวสุดท้ายยงั แอบอวดถงึ ขนาด สากลท่ีเหมาะสมท่ีสุดสำ�หรับผู้ท่ีใช้ภาษา ของกลอ้ งโทรทรรศนอ์ ารซ์ โิ บเอาไวอ้ กี ดว้ ย ต่างกัน หวังว่าทุกคนคงจะยังไม่ตาลาย MIT Press) โดย Daniel Oberhaus ในรปู ของเลขฐานสองทแ่ี ปลงออกมาเปน็ กันไปก่อนนะ หากเราพอเข้าใจหลักการ - https://www.seti.org/seti-institute/project/ เลขฐานสบิ ได้ 2,340 เมอ่ื น�ำ คา่ น้ีไปคณู กบั เร่ืองระบบเลขฐานสองมาก่อน เม่ือมอง ความยาวคลนื่ ของขอ้ ความซงึ่ มคี า่ เทา่ กบั รปู กพ็ อจะจบั ใจความไดอ้ ยบู่ า้ ง ส�ำ หรบั ฉนั details/arecibo-message 126 มลิ ลเิ มตร จะไดต้ วั เลข 306.18 เมตร ต้องหาคู่มือการถอดรหัสมาอ่านเพ่ิมเติม ทเ่ี ปน็ คา่ ประมาณเสน้ ผ่านศนู ย์กลางของ และใช้เวลาตั้งนานกว่าจะถอดข้อความ กลอ้ งโทรทรรศน์อารซ์ ิโบนนั่ เอง การออกแบบข้อความท่ีใช้ศิลปะ มาเชื่อมโยงเข้ากับการแปลความทาง ธนั วาคม 2564 38
เปดิ โลก นทิ านดาว พงศธร กิจเวช พงศธร กิจเวช (อัฐ) Facebook: คนดูดาว stargazer ดาวพฤหัสบดี ทมี่ าของวนั พฤหัสบดี กาลครงั้ หนง่ึ นานมาแลว้ ซสู (Zeus) ราชาแหง่ เทพเจา้ กรกี ได้แอบราชินเี ฮรา (Hera) ไป หานางไม้ชื่อ คัลลิสโต (Callisto) จนมีลูกชายชื่อ อาร์คัส (Arcas) ธันวาคม 2564 39
เปดิ โลก นทิ านดาว ประติิมากรรมหิินอ่อ่ นซููส ปัจั จุุบัันอยู่�ในพิพิ ิธิ ภััณฑ์์ ภาพวาดเทวรููปซููสที่่�เมืืองโอลิมิ เปียี ประเทศกรีีซ ประติิมากรรมหิินอ่่อนเฮรา ประมาณคริิสต์์ ลูฟู วร์์ (Louvre) ประเทศฝรั่�งเศส (Statue of Zeus at Olympia) สููง 13 เมตร ศตวรรษที่่� 2 ปััจจุุบันั อยู่�ในพิิพิธิ ภัณั ฑ์ล์ ูฟู วร์์ ที่่�มาภาพ Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Zeus เป็็นหนึ่่�งในเจ็็ดสิ่�งมหััศจรรย์์ของโลกยุคุ โบราณ ประเทศฝรั่ง� เศส (Seven Wonders of the Ancient World) ที่่ม� าภาพ Wikipedia https://en.wikipe- สร้้างเมื่่อ� 435 ปีกี ่อ่ นคริสิ ตกาล ต่อ่ มาถููกทำ�ำ ลาย dia.org/wiki/Hera ลงเนื่อ�่ งจากไฟไหม้้ใหญ่่ในปีี ค.ศ. 475 (พ.ศ. 1018) ปัจั จุบุ ันั ไม่เ่ หลืือซากเทวรููป ภาพวาดโดย Quatremère de Quincy นักั โบราณคดีชี าวฝรั่�งเศสเมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2358 ที่่ม� าภาพ Wikipedia https://en.wikipedia. org/wiki/Statue_of_Zeus_at_Olympia ตอ่ มาเฮราไดท้ ราบเรื่องนี้ เฮราโกรธมากจงึ สาปคลั ลิสโตให้ ภาพวาดจููปิเิ ตอร์ก์ ัับคัลั ลิิสโต ประมาณต้้นคริิสต์์ศตวรรษที่่� 17 กลายเป็นหมี และคิดจะสาปอาร์คัสเช่นกัน แต่ซูสได้พาอาร์คัส โดย Karel Philips Spierincks จิติ รกรชาวดััตช์์ ไปซอ่ น ชว่ ยใหอ้ าร์คัสรอดพ้นจากการทจี่ ะถกู เฮราสาป ที่่ม� าภาพ Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Callisto_(mythology) อาร์คัสได้เติบโตเป็นหนุ่มและกลายเป็นกษัตริย์ของเมือง อารเ์ คเดยี (Arcadia) ในประเทศกรซี และยงั เปน็ นายพรานทเ่ี กง่ ที่สุดในอาร์เคเดยี วันหน่ึงอาร์คัสเดินทางเข้าป่าล่าสัตว์ ได้เจอหมีตัวใหญ่ ตัวหน่ึงเดินเข้ามาหา และยกแขนสองข้างทำ�ท่าเหมือนจะกอด อาร์คัสจึงยกธนูขึ้นง้างเตรียมยิงป้องกันตัว โดยไม่รู้เลยว่าหมี ตัวนน้ั ความจริงคอื คัลลิสโตแม่ของตัวเองที่โดนสาป ซสู เหน็ เหตกุ ารณเ์ ขา้ พอดี จงึ รบี เสกใหห้ มคี ลั ลสิ โตมหี างยาว (ปกติหมมี หี างสั้น) แลว้ จับหางโยนขึน้ บนท้องฟ้า กลายเป็นกล่มุ ดาวหมใี หญ่ (Ursa Major) ธนั วาคม 2564 40
เปดิ โลก นทิ านดาว ดาวพฤหัสั บดีจี ะเห็็นจุุดใหญ่่และเส้น้ เข็ม็ ขัดั เมฆ ถ่่ายโดย กล้อ้ งโทรทรรศน์์อวกาศฮับั เบิลิ (Hubble Space Telescope) เมื่อ�่ ปีี พ.ศ. 2557 ที่่ม� าภาพ https://esahubble.org/images/ heic1410a/ จุุดแดงใหญ่่บนดาวพฤหััสบดีี ถ่่ายโดยยานอวกาศจููโน เมื่�่อปีี พ.ศ. 2561 ที่่�มาภาพ NASA https://www.jpl.nasa.gov/images/jupiters-great-red-spot-spotted ดวงจันั ทร์์คัลั ลิิสโต ถ่า่ ยโดยยานอวกาศ เพ่ือให้แม่กับลูกได้อยู่ด้วยกัน ซูสจึง ทางเหนือของทวีปยุโรป อาจเทียบได้กับ กาลิิเลโอเมื่�่อปีี พ.ศ. 2544 เสกอาร์คสั ใหก้ ลายเปน็ หมี แล้วใหอ้ ย่บู น ซูสของกรีกหรือจูปิเตอร์ของโรมันที่มี ที่่�มาภาพ NASA https://photojournal. ทอ้ งฟา้ เปน็ กลมุ่ ดาวหมเี ลก็ (Ursa Minor) สายฟา้ เปน็ อาวธุ jpl.nasa.gov/catalog/PIA03456 กลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กต่าง ภาพวาดยานอวกาศจูโู น เคลอ่ื นทว่ี นหากนั โดยมดี าวเหนอื (Polaris) ใบปิิดภาพยนตร์์เรื่่�อง Thor (ธอร์์ เทพเจ้้าสายฟ้้า) ที่่�มาภาพ NASA https://www.nasa.gov/mission_ ตรงปลายหางกลุ่มดาวหมีเล็กเป็นจุด ปีี พ.ศ. 2554 ศูนย์กลาง ที่่�มาภาพ Internet Movie Poster Awards http:// pages/juno/multimedia/pia13746.html คนแต่ละชาติอาจเรียกดาวต่างกัน www.impawards.com/2011/thor_ver2.html ตวั อยา่ งเชน่ คนไทยเหน็ ดาวในกลุ่มดาว หมใี หญม่ ีรูปร่างเหมอื นจระเข้ จงึ เรียกว่า “ดาวจระเข้” คนอเมริกันเรียกว่า “Big Dipper (กระบวยใหญ่)” ฯลฯ คนโรมันเรียกเทพเจา้ ซสู ว่า จปู เิ ตอร์ (Jupiter) คำ�น้ีในภาษาอังกฤษแปลว่า “ดาวพฤหสั บด”ี ทมี่ าของชอื่ วนั พฤหสั บดี ภาษาอังกฤษ คือ Thursday หมายถึง Thor’sDayวนั ของทอร์ เทพเจา้ แหง่ สายฟา้ ของชาวไวกิง (Viking) หรือชาวนอร์ส (Norse) ในสแกนดเิ นเวยี (Scandinavia) ธันวาคม 2564 41
เปดิ โลก นทิ านดาว ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ ภาพจำำ�ลองท้อ้ งฟ้้าวันั ที่่� 20 ธันั วาคม พ.ศ. 2564 เวลา 19:00 น. โดยแอป Celestron SkyPortal ทส่ี ดุ ในระบบสรุ ยิ ะใหญก่ วา่ โลก11เทา่ หมนุ (ดาวน์โ์ หลดฟรี)ี ช่ว่ งเดืือนธันั วาคม พ.ศ. 2564 ตอนหัวั ค่ำ��ำ ดาวพฤหัสั บดีี (Jupiter) จะอยู่่�ทางทิศิ ตะวันั ตกเฉียี งใต้้ รอบตวั เองเรว็ มากใชเ้ วลาเพยี ง 10 ชวั่ โมง หาง่า่ ย โดยอาจหาดาวที่่ส� ว่า่ งที่่ส� ุดุ บนท้อ้ งฟ้้าก่่อนนั่่�นคืือดาวศุกุ ร์์ (Venus) จะอยู่�ต่ำ�� ใกล้ข้ อบฟ้า้ เลยสููงขึ้้�นไป และหมนุ รอบดวงอาทติ ย์ใชเ้ วลานาน 12 ปี จากดาวศุุกร์์เป็็นดาวเสาร์์ (Saturn) และถััดไปเป็น็ ดาวพฤหััสบดีี (สว่า่ งเป็็นที่่� 2 รองจากดาวศุกุ ร์์) ลักษณะเป็นดาวแก๊สไฮโดรเจนและ ภาพจำ�ำ ลองท้อ้ งฟ้้าวัันที่่� 20 ธัันวาคม พ.ศ. 2564 เวลา 05:00 น. โดยแอป Celestron SkyPortal แสดงให้้ ฮีเลียม เอกลักษณ์ของดาวพฤหัสบดีคือ เห็น็ กลุ่�มดาวหมีใี หญ่่ (Ursa Major) และกลุ่�มดาวหมีีเล็ก็ (Ursa Minor) ทางทิิศเหนืือ ในกลุ่�มดาวหมีีใหญ่่ จุดแดงใหญ่ (Great Red Spot) เปน็ พายุ จะเห็็นกระบวยใหญ่่ (Big Dipper) เส้้นสีสี ้้ม หรืือคนไทยเรียี กว่า่ ดาวจระเข้้ ขนาดใหญ่กว่าโลก มดี วงจนั ทรเ์ ปน็ บรวิ ารมากถงึ 79 ดวง กาลิเลโอ (Galileo Galilei) นักดารา- ศาสตรช์ าวอติ าลี เปน็ คนแรกทส่ี อ่ งกลอ้ ง โทรทรรศน์ค้นพบดวงจันทร์ 4 ดวงใหญ่ ของดาวพฤหัสบดี หนึ่งในดวงจันทร์ท่ีกาลิเลโอค้นพบ ได้รับการต้ังชื่อว่า “คัลลิสโต” ตามชื่อ ภรรยานอ้ ยของซูส การคน้ พบของกาลเิ ลโอเปน็ การคน้ พบ ครั้งสำ�คัญที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ทำ�ให้เปลี่ยนความเช่ือจากเดิมเชื่อกันว่า โลกเปน็ ศนู ยก์ ลางจกั รวาล ดาวทกุ ดวงโคจร รอบโลก แต่กาลิเลโอพบว่าดวงจันทร์ ของดาวพฤหสั บดโี คจรรอบดาวพฤหสั บดี ไม่ได้โคจรรอบโลก ดังน้ันโลกจึงไม่ใช่ ศูนยก์ ลางจักรวาลอกี ต่อไป ธันวาคม 2564 42
เปดิ โลก นทิ านดาว เส้้นดาว (star trail) ที่่เ� กิิดจากการถ่่ายภาพเป็็นเวลานาน จะเห็น็ ดาวเคลื่่อ� นที่่�เป็็นเส้น้ วงกลม ดาวพฤหสั บดมี วี งแหวนบาง ๆ คน้ พบ รอบดาวเหนืือ ถ่า่ ยที่่ป� ระเทศเยอรมนีี โดย Mario Konang ครง้ั แรกโดยยานอวกาศ Voyager 1เมื่อปี ที่่�มาภาพ NASA https://apod.nasa.gov/apod/ap200407.html พ.ศ. 2522 ย า น อ ว ก า ศ ล่ า สุ ด ท่ี ไ ป สำ � ร ว จ ด า ว ภาพแสดงการหาดาวเหนืือ (Polaris) โดยใช้้ดาว 2 ดวงแรก พฤหัสบดีคือยานจูโน (Juno) ท่ีเดินทาง ของกระบวยใหญ่ห่ รืือ 2 เท้า้ หน้้าของดาวจระเข้ใ้ นกลุ่�มดาว ถงึ ดาวพฤหัสบดีต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2559 จูโน หมีใี หญ่่ (Ursa Major) ลากเส้้นสมมุตุ ิิไปเป็น็ ระยะทาง เป็นช่ือท่ีชาวโรมันเรียกเฮรา มเหสีของ 5 เท่่า ของความกว้้างของกระบวยใหญ่่หรืือลำ�ำ ตััวจระเข้้ ซสู เปรยี บเหมอื นภรรยาไปสอ่ งดคู วามลบั จะเจอดาวเหนืืออยู่�ตรงปลายกระบวยเล็็กในกลุ่�มดาวหมีเี ล็ก็ ของสามที ีแ่ อบซ่อนไว้ใต้เมฆหนา (Ursa Minor) อาจมีบี างคนเข้้าใจผิิดว่่าดาวเหนืือเป็น็ ดาว เราสามารถเห็นดาวพฤหัสบดีได้ด้วย ที่่�สว่า่ งมากที่่�สุุดบนท้้องฟ้้า ความจริงิ แล้ว้ ดาวเหนืือเป็น็ ดาว ตาเปล่าแม้ ในเมืองที่มีมลพิษแสงมาก ที่่�ไม่ส่ ว่่างมาก (อัันดัับความสว่่าง 2) อาจพอเห็น็ ได้ใ้ น อยา่ งกรงุ เทพฯ หรอื ถา้ ใชก้ ลอ้ งดดู าวก�ำ ลงั กรุุงเทพฯ บริิเวณชานเมืืองที่่�มืืดไม่่มีแี สงรบกวนมาก ขยายตัง้ แต่ 20 เท่าข้ึนไปจะสามารถเหน็ ดาวเหนืือจะอยู่่�สููงตามความสูงู ของละติจิ ููดของสถานที่่ท� ี่่ด� ูู ดวงจันทร์ 4 ดวง ของดาวพฤหัสบดีท่ี ตัวั อย่่างเช่น่ กรุงุ เทพฯ ละติจิ ูดู 14 องศา ดาวเหนืือก็จ็ ะอยู่� กาลิเลโอค้นพบด้วย สููงจากขอบฟ้า้ ทางทิศิ เหนืือ 14 องศา เช่่นกันั สำ�ำ หรับั ประเทศที่่�อยู่�ใต้้เส้น้ ศูนู ย์์สููตร เช่น่ ออสเตรเลีีย แอฟริิกาใต้้ อาร์์เจนตินิ า ฯลฯ จะไม่ส่ ามารถเห็็นดาวเหนืือได้้เลย เนื่่อ� งจากความโค้้งของผิิวโลก ที่่�มาภาพ Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Polaris ธนั วาคม 2564 43
มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง by อาจารย์เจษฎ์ https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/ ข่่าวปลอม ! กล้้วยหอมปนเปื�้้อน หนอนพิิ ษจาก ต่า่ งประเทศ มีการแชรค์ ลปิ วดิ ีโอของชายคนหนง่ึ ปอกเปลอื กกลว้ ยหอม แต่ไม่ได้ท�ำ ให้สมองตายอย่างที่แชร์กัน ซึ่งดูเนื้อด้านในแล้วมีอะไรบางอย่างดูคล้ายหนอนออก และถ้าดูตามในคลิป ส่ิงท่ีดูคล้ายหนอนนั้น ไม่ได้มีลักษณะ มาจากกล้วย พร้อมกับข้อความประกอบอ้างว่าเป็นกล้วยหอม อะไรท่ีเป็นลักษณะเฉพาะทางชีวภาพของหนอน ยกเว้นแค่มัน น�ำ เขา้ มาจากประเทศโซมาเลยี หนอนตวั นน้ั เรยี กวา่ helicobacter ดเู ปน็ เสน้ ยดื ๆ ยาวๆ ตามปกตกิ ็ไมม่ รี ายงานวา่ จะมหี นอนศตั รพู ชื (เฮลิโคแบคเตอร)์ ทจ่ี ะปลอ่ ยสารพิษออกมาในเนอื้ กลว้ ย และ ชนดิ ใดทเ่ี จาะเขา้ ไปอยใู่ นผลกลว้ ยทดี่ สู มบรู ณแ์ บบนนั้ ซงึ่ ทพี่ บกนั มนั สามารถท�ำ ใหค้ นทก่ี นิ เขา้ ไปมอี าการทอ้ งเสยี คลน่ื ไส้ ปวดหวั มกั จะเปน็ หนอนทเี่ จาะกอกลว้ ย เจาะล�ำ ตน้ กลว้ ย หรอื แมลงวนั ทอง ไปจนถึงเกิดอาการสมองตายไดภ้ ายใน 12 ช่ัวโมง !? ท่ีไปเจาะผลกล้วยหอมและวางไข่ได้ แต่มันไม่ใช่เรื่องจริงนะครับ !! ประเทศไทยเราไม่ได้นำ�เข้า สรุปก็คือเป็นคลิปข่าวม่ัว ข่าวปลอม อีกหนึ่งอันไม่ควรแชร์ กล้วยหอมจากประเทศโซมาเลีย และจริงๆ แล้ว เราเองก็ปลูก ต่อครบั กลว้ ยหอมและส่งออกดว้ ยซำ้� ขณะท่ี \"เฮลโิ คแบคเตอร์\" ก็ไมใ่ ช่ชอื่ ของหนอน แต่เปน็ ชื่อ ขอ้ มูลจาก ของเชื้อแบคทีเรีย เป็นจุลินทรีย์ท่ีตาเปล่ามองไม่เห็น ต้องแยก เชอื้ ไปเพาะเลยี้ งและสอ่ งดใู ตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนถ์ งึ จะมองเหน็ โดย fhrtotpms-:s//owmwawlia.t-hfaecqtu-cinhte.ccokm/news/webqoof/helicobacter-in-bananas- เช้ือเฮลิโกแบกเตอร์เป็นสาเหตุสำ�คัญของโรคกระเพาะอักเสบ ธนั วาคม 2564 44
ปน้ั น�ำ้ เปน็ ปลา ดร.ชวลิต วิทยานนท์ ปลาพัั งกัับ ปลาพังกับ Channa melasoma มีลักษณะรูปร่างอยู่ระหว่างปลาก้ัง C. gachua กับปลาช่อน C. striata ขนาดใหญ่กว่าปลาก้ัง แต่เล็กกว่า ปลาช่อน จะงอยปากมน หัวโต ลำ�ตัวทรงกระบอก เกล็ดเล็กมี 50-52 แถวตาม แนวเสน้ ขา้ งตวั ครบี อกมคี วามยาวเทา่ กบั สว่ นหวั ดา้ นหลงั ลกู ตา ตวั มสี คี ล�ำ้ อมน�้ำ ตาล หรอื เขยี วขม้ี า้ ดา้ นทอ้ งสจี าง ใตค้ างสคี ล�ำ้ มจี ดุ ประสจี าง ครบี หลงั ครบี อก ครบี กน้ และครบี หางสคี ล�ำ้ ครบี กน้ มขี ลบิ สจี าง ครบี ทอ้ งสจี าง ขนาด ใหญส่ ดุ 30 เซนติเมตร เคยมีรายงานว่าพบปลาพังกับเฉพาะท่ีมาเลเซียถึง เกาะบอร์เนียว แต่ต่อมาก็มีรายงานการพบปลาพังกับใน ประเทศไทยด้วย โดยพบได้เฉพาะในพ้ืนท่ีพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ชาวบ้านจับปลาชนิดนี้ได้โดยใช้ไซ ลอบ และเบ็ดธง เพื่อน�ำ มาบรโิ ภคในทอ้ งถ่ิน ธนั วาคม 2564 45
QSucizi บ้านนกั คดิ ฉบับั ที่่แ� ล้ว้ เหมีียวจดคำ�ำ ศัพั ท์ภ์ าษาอังั กฤษของคำ�ำ ที่่เ� กี่่ย� วกับั การเปลี่่ย� นเข้า้ สู่่�ฤดูหู นาวไว้แ้ ต่ห่ าไม่เ่ จอ เลยขอให้ค้ ุณุ ผู้้�อ่า่ นช่ว่ ยหาให้้ เรามาดูเู ฉลยกันั เลยฮะ 1. ลมมรสุุมที่่พ� ััดปกคลุมุ ประเทศไทยตอนกลางเดืือน ตุุลาคม Northeast Monsoon 2. ซีีกโลกฝั�่ง่ ที่่ป� ระเทศไทยตั้้ง� อยู่่� Tropical Zone 3. ประเทศที่่�ตั้้�งอยู่่�ในเขตนี้จ้� ะมีี 3 ฤดูู Northern Hemisphere 4. วัันที่่ก� ลางวัันสั้้น� ที่่�สุดุ และกลางคืืนยาวที่่�สุุดในรอบปีี Winter Solstice ผู้�้ได้้รัับรางวััลประจำำ�ฉบับั ที่�่ 104 รางวัลั ที่่� 1 ผ้า้ พัันคอผ้า้ ฝ้า้ ยทอมืือ ได้แ้ ก่่ คุณุ ศิริ ิวิ รรณ อิสิ สระวงศ์เ์ ทวา รางวัลั ที่่� 2 กิฟิ ต์เ์ ซต I love science (กระเป๋า๋ ซิปิ +สมุดุ โน้ต้ ) ได้แ้ ก่่ คุณุ วราภรณ์์ ภิญิ โญ คุณุ สมรลัักษณ์์ แจ่ม่ แจ้ง้ เผลอแป๊๊บเดีียวเข้้าสู่่�เดืือนธัันวาคมแล้้ว คุุณผู้้�อ่่านรู้้�สึึกเหมืือนเหมีียวไหมฮะว่่าปีีที่่� ผ่่านมานี้้�มีีเหตุุการณ์์มากมายสารพััดเรื่่�อง แถมแต่่ละเรื่�่องก็็มีีหลายแง่่หลายมุุม ข้อ้ มูลู มากมายมหาศาล แถมยัังมาไวไปไว สมกัับเป็น็ ยุคุ สมััยแห่ง่ การขับั เคลื่อ่� นโลก ด้้วยข้้อมููลอย่่างแท้้จริิง โชคดีีที่่�ตอนนี้้�เรามีีพระเอกอย่่าง “ซููเปอร์์คอมพิิ วเตอร์์” มาช่ว่ ยจััดการข้อ้ มูลู ปริมิ าณมหาศาลเหล่า่ นั้้น� ว่า่ แต่ว่ ่า่ เรานำ�ำ ซูเู ปอร์ค์ อมพิิ วเตอร์ม์ า ใช้้ประโยชน์์ด้้านใดและช่่วยทำ�ำ อะไรได้้บ้้าง คุุณผู้้�อ่่านยกตััวอย่่างให้้เหมีียวฟังั สััก 2 อย่่างได้้ไหมฮะ รางวัลประจ�ำ ฉบับที่ 105 รางวัลท่ี 1 รางวััลที่่� 2 รางวัลั พิิ เศษ กิฟต์เซต tumbler+ ผ้้าพัั นคอมััดย้้อม สวทช. หมอนผ้้าห่ม่ อพวช. จานรองแกว้ จำ�ำ นวน 1 รางวัลั จำ�ำ นวน 1 รางวััล จำ�นวน 1 รางวลั ส่งคำ�ตอบมารว่ มสนุกได้ที่ หมดเขตส่งค�ำ ตอบ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 กองบรรณาธกิ ารสาระวิทย์ ฝา่ ยสร้างสรรคส์ อื่ และผลิตภัณฑ์ คำ�ตอบจะเฉลยพรอ้ มประกาศรายชอ่ื ผไู้ ดร้ ับรางวลั ส�ำ นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหน่งึ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 ในสาระวทิ ย์ ฉบับท่ี 106 ส�ำ หรับของรางวลั หรอื สง่ ทางโทรสารหมายเลข 0 2564 7016 หรือทาง e-mail ท่ี [email protected] เราจะจดั ส่งไปให้ทางไปรษณีย์ อยา่ ลมื เขียนชอ่ื ทอ่ี ยู่ มาดว้ ยนะฮะ ธันวาคม 2564 46
รวมรายการ Podcast “Sci เข้าหู” Podcastรายการ“Sciเขา้ ห”ู โดยนติ ยสาร สาระวิทย์ รายการที่จะรวบรวมผู้คนในแวดวง วิทยาศาสตร์ มารว่ มพดู คยุ และใหค้ วามรใู้ นประเดน็ ที่น่าสนใจ เกาะติดกระแสวิทยาศาสตร์ไทยและ วิทยาศาสตรโ์ ลกไปพรอ้ มกนั พบกนั ไดท้ กุ วนั องั คาร ทางเพจ “นติ ยสารสาระวิทย์” หรือติดตามรายการย้อนหลังทุกตอนได้ ทางเวบ็ ไซต์ https://www.nstda.or.th/sci2pub/podcast-sci-in-ear/ Space Generation Advisory Council (SGAC) เป็น หากพูดถึงงานกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ องค์กรพัฒนาเอกชนและเครือข่ายวิชาชีพ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ประเทศ เชื่อได้ว่าหลายคนต้องรู้จักงาน “มหกรรมวิทยาศาสตร์ นำ�ความคิดเห็นของนักศึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านอวกาศรุ่นใหม่ และเทคโนโลยีแห่งชาติ” ซึ่งเป็นงานให้ความรู้ที่ใหญ่ติดอันดับต้น ไปสอู่ งคก์ ารสหประชาชาติ (UN) โดยเครอื ขา่ ยมงุ่ เนน้ ไปทน่ี กั ศกึ ษา งานหนึ่งของไทย ภายในงานมีการจัดนานากิจกรรมที่ช่วยเปิด ระดบั มหาวทิ ยาลยั และผเู้ ชย่ี วชาญรนุ่ ใหม่ในดา้ นอวกาศ อตุ สาหกรรม จินตนาการ สร้างความตน่ื เตน้ แรงบันดาลใจ และความตระหนัก อวกาศ ซึ่งมีอายุประมาณ 18-35 ปี ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้แก่เด็กและเยาวชนท่ัวประเทศ นิตยสารสาระวิทย์ สวทช. จงึ ไดช้ วน คุณพรี ะรัชต์ ศิริอมั พนั นติ ยสารสาระวทิ ย์ สวทช. ไดร้ บั เกยี รตจิ าก ดร.กรรณกิ าร์ เฉนิ หรือจีโน่ ซึ่งเป็นผู้จัดการร่วมในการจัด Workshop หัวข้อ Asia- หรอื พ่อี ้อย รองผ้อู �ำ นวยการ องค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ Pacific Space Generation Online Workshop 2021 ที่กำ�ลัง แห่งชาติ (อพวช.) NSM Thailand มารว่ มพูดคุย บอกเล่าถึงความ จะเกิดขึ้นในเดือนธันวาคมนี้ มาร่วมพูดคุยเพื่ออัปเดตกิจกรรม พเิ ศษทน่ี า่ สนใจในงาน “มหกรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ อวกาศต่างๆ ที่น่าสนใจ และเปิดพื้นที่ให้คนไทยโดยเฉพาะคนรุ่น ประจ�ำ ปี 2564” ซึ่งจะจัดข้นึ ระหวา่ งวนั ท่ี 9-19 พ.ย. 64 ณ อาคาร ใหม่ สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้อย่างไรบ้าง 9-12 อิมแพคอารนี า่ เมอื งทองธานี
หลังจากท่ี Facebook ผ้ใู หบ้ รกิ ารโซเชียลเนต็ เวิรก์ รายใหญ่ งานวจิ ยั อวกาศส�ำ หรบั คนไทยไม่ใชเ่ รอ่ื งไกลตัวอีกตอ่ ไป เม่อื ของโลก ไดเ้ ปล่ียนชอื่ บริษทั เป็น Meta และเผยถึงแนวทางการให้ สองนักวิจัยคนไทยได้มีโอกาสร่วมพัฒนาเทคโนโลยีสำ�หรับหน้าจอ บรกิ าร และธรุ กจิ ในอนาคต ทม่ี งุ่ หนา้ สโู่ ลกเสมอื นจรงิ \"Metaverse\" รนุ่ ใหม่ เพอ่ื ใช้งานบนยานอวกาศ สามารถตอบสนองการท�ำ งานใน เชื่อมผู้คนจากทั่วโลกเข้าหากัน ผ่านเทคโนโลยีแว่นตา VR และ สภาวะแรงโมถว่ งต�ำ่ ได้ดี เทคโนโลยีแว่นตา AR กา้ วข้ามการแสดงผลบนหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ นิตยสารสาระวทิ ย์ สวทช. ไดร้ ับเกยี รตจิ าก ผศ. ดร.ณัฐพร หรอื มอื ถอื แบบทว่ั ไปในทกุ วนั น้ี มงุ่ สโู่ ลกเสมอื นจรงิ ทท่ี กุ คนสามารถท�ำ ฉัตรแถม และ ผศ. ดร.อภิชาติ พัฒนโภครตั นา จากภาควิชาฟิสิกส์ และเปน็ ในส่งิ ท่ีเกินจนิ ตนาการไรข้ ดี จ�ำ กดั รวมถงึ โอกาสทางธุรกจิ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ สองนักวจิ ยั คนไทย ท่พี ลิกโฉมครงั้ ใหญ่ ท่ีได้มโี อกาสรว่ มเปน็ หนง่ึ ในทีมวิจัย โครงการ Observation and นติ ยสารสาระวทิ ย์ สวทช. ไดร้ บั เกียรติจาก ดร.มนตศ์ ักด์ิ Analysis of Smectic Islands in Space (OASIS) ของ Glenn โซ่เจริญธรรม หรือ ดร.หลง ผู้บรหิ ารข้อมลู ระดบั สูง สำ�นกั งาน Research Center ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในศนู ยว์ จิ ยั ส�ำ คญั 10 แหง่ ของ NASA พฒั นารฐั บาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) มารว่ มพูดคุย เพ่ือวเิ คราะห์ โดยมีภารกิจหลักในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อใช้ใน เจาะลึกถึง \"Metaverse\" โลกเสมือนจริง ซึ่งกำ�ลังเป็นกระแส การบนิ และอวกาศ มารว่ มแบง่ ปนั ประสบการณแ์ ละถา่ ยทอดเรอ่ื งราว ร้อนแรงท่ีพูดถึงกันทั่วโลก งานวิจยั สดุ ล�้ำ สำ�หรับนกั บินอวกาศ และการใช้ชวี ติ บนดาวเคราะห์ ดวงอน่ื ในอนาคต hhttttตppิss::ดิ ////wwตwwwwา..มffaaccสeebbาooรookkะ..ccคoommว//SSาaaมrraaรwwู้iiว้� ttNNิทิ SSTTยDDAAาศาสตร์์ สดใหม่ht่tpทัs้:้/ง� /wขw่wา่ .วfaceบboทokค.coวmา/SมaraPwiotNSdTDcAast และ hhttttppss::////wwwwww..ffaaFcceeabboocooekk..ccboommo//SSoaarrkaawwiittLNNSSivTTDDeAA ได้้ทาง นิติ ยสารสาระวิทิ ย์์
ค�ำ คม “แม้แต่สติปัญญา นกั วทิ ย์ ดร.น�ำ ชยั ชวี วิวรรธน์ ที่เฉียบแหลมที่สุด ก็ยังไม่สามารถ “Even the จินตนาการถึง brightest minds ผลที่ตามมาของ aren't able to การวิจัยทั้งหมดได้” imagine all the consequences of their research.” Serge Haroche, แซร์ฌ ฮาร็อช, Nobel Prize in Physics, นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ 2012 ประจำ�ปี พ.ศ. 2555 ภทาม่ี พา hhttttppss::////wcowmwm.faocnesb.woiokikm.ceodmia/.noorgb/ewlp/rinizdee/xp.hpohtpo?st/i1tl0e1=5F8ile6:2S3e4rg0e9_8H14a1ro0c3he_1_2012.jpg&oldid=498939349 แซร์ฌ ฮาร็อช (เกดิ 11 กันยายน พ.ศ. 2487) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำ�ปี พ.ศ. 2555 ในการคิดค้นวิธีการศึกษาพฤติกรรมเชิงกลควอนตัมของโฟตอน แต่ละตัว เขามีส่วนร่วมรับรางวัลกับนักฟิสิกส์ชาวอเมริกันชื่อ เดวิด ไวน์แลนด์ (David Wineland) ฮาร็อชสำ�เร็จปริญญาในสาขาฟิสิกส์ ปี พ.ศ. 2510 จาก École Normale Supérieure ในปารีส และปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2515 จาก มหาวิทยาลัยปารีส VI (ปัจจุบันคือ Université Pierre et Marie Curie) ในช่วงปี พ.ศ. 2525 ถึง พ.ศ. 2544 เขาเป็นศาสตราจารย์ที่ École Normale Supérieure, Paris ในปี พ.ศ. 2544 เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์ที่ Collège de France ในปารีส ซึ่งเขาดำ�รงตำ�แหน่งประธานสาขาฟิสิกส์ควอนตัม และดำ�รงตำ�แหน่งประธานวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2558 จากนั้นได้เกษียณอายุในตำ�แหน่งศาสตราจารย์กิตติคุณ ใบสมคั รสมาชกิ สิทธิพิเศษส�ำ หรับสมาชิก - ไดร้ บั “นิตยสารสาระวทิ ย”์ e-magazine รายเดอื นอย่างตอ่ เนอื่ งทางอีเมล https://www.facebook.com/SarawitNSTDA โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่าย - ซือ้ หนงั สอื ของ สวทช. ไดร้ ับสว่ นลด 20% hhttttppss::////wwwwww..ffaaนccิeeติ bbooยookkส..ccooาmmร//สSSaaาrraaรwwะiiวttิNNทิ SSยTT์DDAA์ ณ ศนู ย์หนังสอื สวทช. อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://bookstore.nstda.or.th/ สามารถสมคั รผ่านช่องทางออนไลน์ได้ทีล่ งิ ก์ ติดตอ่ กองบรรณาธกิ ารสาระวิทย์ https://forms.gle/jnj86w6J58Y9Nqqb8 ได้ทางอีเมล หรือ Scan QR Code [email protected] ทอ่ี ยู่ ฝา่ ยสรา้ งสรรคส์ ่ือและผลิตภัณฑ์ (MPC) สำ�นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 111 อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 สาระวทิ ยเ์ ป็นนิตยสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-magazine) รายเดือน มจี ุดประสงค์เพ่อื เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารและความรดู้ า้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท้งั ของไทยและต่างประเทศให้แก่กลมุ่ ผู้อา่ นทเ่ี ป็นเยาวชน ธนั วาคม 2564และประชาชนท่ัวไปท่สี นใจในเร่ืองดังกลา่ ว โดยสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีที่ www.nstda.or.th/sci2pub/ หรอื บอกรับเปน็ สมาชกิ ได้โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่ายใดๆ 49จัดท�ำ โดย ฝ่ายสร้างสรรค์สอื่ และผลิตภัณฑ์ ส�ำ นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ข้อความต่างๆ ที่ปรากฏในนติ ยสารอเิ ล็กทรอนิกส์ฉบบั นเี้ ป็นความเห็นโดยอิสระของผู้เขียน สำ�นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาตไิ ม่จำ�เปน็ ต้องเหน็ พอ้ งด้วย
Supercomputer เทคโนโลยีีแห่่งอนาคตที่่�กำำ�ลััง แทรกซึึมบทบาทสำำ�คััญในทุุกวงการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: