คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” พืชผักชดุ ...การเพาะปลูก
คมู่ อื เกษตรกร “รู้ไว้ ใช้จริง” ชดุ การเพาะปลกู พชื -ผัก พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 จ�ำ นวน 3,000 ชุด ปที ีพ่ มิ พ์ สงิ หาคม 2562 จัดพิมพ์โดย สถาบันสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทมุ วนั เขตปทมุ วนั กรงุ เทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0 2611 5009 โทรสาร : 0 2658 1413 Website : www.pidthong.org twitter : www.twitter.com/pidthong Facebook : www.facebook.com/pidthong Youtube : www.youtube.com/pidthongchannel #เช่อื มนั่ เศรษฐกิจพอเพยี ง
ความรู้ดา้ น การเพาะปลกู พืชผักประเภทตา่ งๆ หนังสือ “ความรู้ด้านการเพาะปลูกพืชผักประเภทต่างๆ” เล่มนี้ เป็น 1 ใน 5 เล่ม หนังสือชุดคู่มือเกษตรกร “รู้ไว้ ใช้จริง” ท่ีเกิดข้ึนจาก การรวบรวมเสียงความต้องการของพี่น้องเกษตรกรในพื้นที่ต้นแบบ 5 จังหวัด ดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสาน แนวพระราชดำ�ริ อันได้แก่ จังหวัดน่าน อุดรธานี กาฬสินธ์ุ อุทัยธานี และ เพชรบุรี ทั้งจากการพบปะโดยตรงและสะท้อนผ่านข้อเสนอแนะท้ายแบบ สอบถามในการศึกษาต่างๆ ท่ีต้องการทราบถึงขั้นตอน วิธีการป้องกันรักษา แก้ไขปญั หา ตลอดจนเทคนิคหรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ ในการเสรมิ ศกั ยภาพการเพาะปลูก ในพืชผักและไม้ผลชนิดต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้ันตอนไม่ยุ่งยาก และ น�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ไดจ้ ริง อาทิ การปลกู พืชอายสุ ั้นและสร้างรายได้เร็ว วธิ ีลดตน้ ทุน ในการเพาะปลูกและการเพิ่มผลผลิตโดยใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี ชนิดพืชท่ีเหมาะสมและให้ผลผลิตที่คุ้มค่าในการเพาะปลูกแต่ละฤดู วิธีแก้ไข ปัญหาสารพิษตกค้างและการตรวจวัดค่าอาหารในดิน รวมถึงการคงคุณภาพ ผลผลติ ใหอ้ ยูไ่ ด้นานหลังการเกบ็ เก่ียว เป็นต้น จากปัญหาและความต้องการข้างต้น จึงได้ทำ�การสำ�รวจและคัดกรอง ปัญหาและองค์ความรู้ท่ีเป็นท่ีต้องการ ท้ังในรูปวิชาการและภูมิปัญญาท้องถ่ิน จากครูปราชญ์และหน่วยงานต่างๆ ท่ีมีองค์ความรู้ในเรื่องน้ันๆ มานำ�เสนอ ใน เน้ือหารูปแบบของการ์ตูนประกอบภาพเพ่ือให้เข้าใจง่าย แต่มีข้อมูลท่ีครบถ้วน และเกษตรกรสามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ปรับใช้ได้อยา่ งแทจ้ ริง
สารบญั 5 10 12 มารูจ้ กั 7 จลุ ินทรีย์ สตู รน้ำ�หมักพชื รสจืดท�ำ งา่ ย เปยี กสลับแหง้ แกล้งข้าว ทีส่ �ำ คญั ต่อเกษตรอินทรยี ์ แกส้ ารพิษในดินได้ด้วยตัวเอง ปลูกขา้ วใชน้ �้ำ นอ้ ยแต่เพ่มิ ผลผลิต 15 18 20 รกั ษาความสดของผักได้ ปลูกผักตามฤดกู าล ปลกู ตน้ เหลียงแซมสวนยาง ดว้ ยเทคนคิ “นอ็ กเยน็ ” รู้ไว้ได้ประโยชน์ เสริมรายได้เกษตรกร 23 28 31 เปดิ สูตรความต้องการนำ้� เชื้อราไตรโคเดอรม์ ่า กอ้ นเห็ดเก่า ของ “ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์” ท�ำ ง่าย ไดป้ ระโยชน์ มีประโยชน์ อยา่ ทง้ิ 34 38 ต่อยอดมะเขอื เทศ ป๋ยุ มลู คา้ งคาว โดยใช้ต้นตอมะเขอื พวง สูตรเด็ด เคล็ด (ไม)่ ลับ 42 46 ผลิตจุลินทรยี ์สงั เคราะหแ์ สง ดแู ลไม้ผลอย่างไรดี ไว้ใชไ้ ดด้ ้วยวตั ถดุ ิบก้นครวั เม่ือถงึ หนา้ แลง้
มารู้จัก 7 จุลนิ ทรยี ์ ที่ส�ำ คญั ต่อเกษตรอนิ ทรีย์ ปัจจุบันมีเกษตรกรหันมาการทำ�การเกษตรอินทรีย์มากข้ึน ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพตัวเกษตรกรเอง รวมไปถึงผู้บริโภคก็ปลอดภัย ไร้กังวลว่าจะมีสารพิษตกค้างในผลผลิต และยังสามารถเพ่ิมมูลค่า ตอ่ ตัวสินคา้ ได้อกี ดว้ ย แน่นอนว่าเกษตรอินทรีย์นั้น ส่วนประกอบในการเพาะปลูก ท้ังหมดจะต้องมาจากธรรมชาติ แม้กระทั่งสิ่งที่จะนำ�มาย่อยสลาย วัตถุอินทรีย์ในดินก็มีส่วนสำ�คัญไม่แพ้กัน แต่ส่วนที่เป็นหัวใจหลัก ของเกษตรอินทรีย์น้ันคงหนีไม่พ้น “จุลินทรีย์” ท่ีใช้ในการย่อย วตั ถอุ นิ ทรียน์ ั่นเอง จุลินทรีย์ท่ีมีบทบาทต่อการทำ�เกษตรกรรมมีอยู่หลายชนิด ด้วยกัน ได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา แอกติโนมัยซีต สาหร่าย โปรโตซัว และไวรัส จุลินทรีย์บางชนิดเป็นจุลินทรีย์ท่ีดีมีประโยชน์ต่อการทำ� การเกษตร แต่บางชนิดก็เป็นจลุ นิ ทรีย์ทก่ี อ่ ให้เกิดโรคต่อพืช แตห่ าก ทุกอย่างเปน็ ไปอย่างสมดลุ พืชพนั ธุ์ต่างๆ กจ็ ะแขง็ แรง เจรญิ เติบโต ไดด้ ี คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 5 ชดุ “การเพาะปลูกพืชผกั ”
จลุ นิ ทรยี ์ท่มี ีประโยชน์ตอ่ ระบบเกษตรอนิ ท จลุ ินทรยี ก์ ลมุ่ แบคทีเรยี จุลนิ ทรยี ท์ ีเ่ ป็นเชอื้ รา จลุ นิ ทรียก์ ล่มุ ยสี ต์ จลุ นิ ทรียก์ ลมุ่ ทีเ่ ป็นราเส้นใย ประโยชน์ของจุลินทรีย์ คือ ช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุเพื่อให้พืชนำ�ไปใช้ได้อย่าง 6 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พืชผกั ”
ทรียท์ ง้ั 7 ชนิด จุลนิ ทรยี โ์ ปรโตซัว จุลนิ ทรยี ์ จลุ นิ ทรยี ก์ ลมุ่ แบคทเี รยี (Bacteria) สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน�้ำ เงนิ จุลินทรีย์กลุ่มน้ีมีหลากหลายสายพันธุ์ จลุ ินทรีย์แอกติโนมัยชีต ที่รวมตัวกันอย่ใู นกองป๋ยุ หมกั และในหวั เชอื้ จุลินทรีย์ที่ทำ�ขายเป็นการค้า มักมีลักษณะ งรวดเร็ว ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น รูปรา่ งของจุลินทรียเ์ ป็นแบบง่ายๆ 3 รูปแบบ คือ กลมเป็นท่อน และเป็นเกลียว อาศัยอยู่ ท่ัวไปในธรรมชาติ โดยเฉพาะในดินป่าที่ช้ืน มีบทบาทในการย่อยสลายอินทรียวัตถุและ ปลดปล่อยธาตุอาหารท่ีส�ำ คญั ให้กบั พชื คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 7 ชดุ “การเพาะปลูกพืชผกั ”
จลุ ินทรยี ์ทเี่ ป็นเช้ือรา (Funji) แอลกอฮอล์และคาร์บอนไดออกไซด์ ปกติ ยีสต์จะอยู่ที่ผิวหน้าของวัสดุที่หมัก โดยจะ จลุ นิ ทรยี ก์ ลุม่ เชอ้ื รามกั จะพบในกองป๋ยุ เป็นฟองท่ีลอยเป็นฝ้าอยู่ที่ผิวของนำ้�หมัก หมักเสมอ มักจะพบเติบโตในช่วงแรกๆ ใน นอกจากนี้ยีสต์ยังผลิตวิตามินและฮอร์โมน การหมักปุ๋ย และจะพบบริเวณด้านนอกผิว ในระหว่างกระบวนการหมักด้วย ยีสต์จะ ของกองปุ๋ยหมักเป็นจำ�นวนมาก เชื้อรามี สามารถเจริญเติบโตได้ดีในค่าความเป็น ประโยชน์ในการย่อยสลายเศษวัสดุอินทรีย์ กรดสูงระหว่าง 4.0-6.5 ดังน้ัน ในการหมัก ในกองปุ๋ยหมักให้มีขนาดเล็กลงในระยะ เม่ือเกิดกล่ินแอลกอฮอล์ข้ึน จึงแสดงให้ แรกๆ ของการหมกั ปุ๋ย จุลนิ ทรียท์ ่เี ป็นเชอ้ื รา เห็นว่ากระบวนการหมักมีคุณภาพและเป็น แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ยีสต์ (Yeasts) การหมกั ทส่ี มบรู ณ์ และราเสน้ ใย จุลนิ ทรียกล่มุ ทเี่ ปน็ ราเสน้ ใย จุลินทรีย์กลุ่มยีสต์ (Yeasts) เช้ือรากลุ่มน้ีเป็นจุลินทรีย์ท่ีมีความ ยีสต์เป็นเชื้อราท่ีทำ�ให้เกิดกระบวนการ หลากหลาย มีความแตกต่างกันมากใน หมัก โดยจะเปลี่ยนนำ้�ตาลให้เป็นเอทิล ดา้ นขนาดและรูปรา่ ง อาศัยการสืบพันธ์ุดว้ ย การสร้างสปอร์ ซ่ึงมีทั้งสปอร์ท่ีอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ เป็นจุลินทรีย์ที่ต้องการ อากาศ พบเห็นอยู่ท่ีริมผิวหน้าของนำ้�หมัก หรอื ปยุ๋ หมกั 8 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พืชผัก”
จากอากาศได้ถึงประมาณ 10-20 กิโลกรัม ตอ่ ไร่ มกั อาศยั พง่ึ พาอยกู่ บั แหนแดง ซง่ึ เปน็ เฟิร์นนำ้�ขนาดเล็กๆ ทำ�ให้แหนแดงเป็นปุ๋ย พืชสดอยา่ งดใี นนาขา้ ว จลุ ินทรีย์แอกติโนมยั ชีต จุลนิ ทรยี ์โปรโตซัว (Protozoa) เป็นจุลินทรีย์จำ�พวกเซลล์เดียว มักพบ โปรโตซัวเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาด บนกองปยุ๋ หมกั จะเจริญเติบโตเป็นกลมุ่ เหน็ เล็ก ที่จัดได้ว่ามีความสำ�คัญมากในระบบ เปน็ จดุ สขี าวคลา้ ยๆผงปนู หลงั จากทอ่ี ณุ หภมู ิ นิเวศ อาศัยอยู่ในน้ำ� ดิน หรือเป็นปรสิต ของกองปุ๋ยสูงขึ้นมาก เชื้อแอกโนมัยชีตนี้ ส�ำ หรับชนิดทเี่ ป็นปรสิตบางชนิดอาศยั อยใู่ น มีบทบาทที่สำ�คัญในการย่อยอินทรียสาร ทางเดินอาหารของปลวกเพอ่ื ชว่ ยยอ่ ยเนอ้ื ไม้ เชน่ เซลลโู ลส ลิกนนิ ไคตนิ และโปรตีน ท่อี ยู่ จุลินทรีย์โปรโตซัวมีความสำ�คัญมาก เพราะ ในกองปุย๋ หมักขณะทอี่ ุณหภมู สิ งู สามารถย่อยสลายอินทรียวัตถุได้อย่าง รวดเร็ว ปัจจุบันจึงมีเกษตรกรนำ�เอาจาว จุลนิ ทรียส์ าหรา่ ย ปลวกมาหมักหัวเชื้อจุลนิ ทรีย์ เพอ่ื น�ำ ไปยอ่ ย สลายฟางข้าวในนาและท�ำ ปุ๋ยหมัก สเี ขยี วแกมน�ำ้ เงนิ แตกต่างจากจุลินทรีย์ชนิดอื่น ตรงที่มี คลอโรฟิลล์ มักเห็นเซลล์เป็นสีเขียว เจริญ เติบโตไดด้ ใี นนาข้าว สามารถตรงึ ไนโตรเจน คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 9 ชุด “การเพาะปลกู พชื ผัก”
“สูตรน้�ำหมักพืชรสจดื ” ท�ำงา่ ย แกส้ ารพษิ ในดนิ ไดด้ ว้ ยตวั เอง ในหลายพน้ื ทจ่ี ะพบวา่ ปญั หาเรอื่ ง ดินเสื่อมสภาพเป็นอีกปัญหาท่ีเกษตรกรมัก พบเจอ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการปลูก พชื ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานานโดยไมม่ กี ารพกั ดนิ หรอื การใช้สารเคมีอย่างตอ่ เน่อื งกเ็ ปน็ ปัจจยั หลักอีกเช่นกัน ส่งผลให้ดินเส่ือมสภาพ หรอื มสี ารเคมตี กคา้ ง ท�ำ ใหพ้ ชื ทปี่ ลกู ในพนื้ ที่ ดังกลา่ วเจริญเตบิ โตไม่เต็มท่นี ัน่ เอง นายวชริ ะ แขวงโสภา ผู้อำ�นวยการ ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีปลวกแดง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์เขต 2 จังหวัดระยอง ได้นำ�สูตรการทำ�นำ้�หมัก สมุนไพรรสจืดที่ช่วยในการล้างสารพิษ ตกค้างในดิน และเพื่อช่วยปรับสมดุล ให้กับดินโดยการใช้สมุนไพรท่ีมีรสชาติจืด แก้ปัญหาดินเส่ือมสภาพน้ัน มีข้อดีตรงที่ วตั ถดุ บิ ในการหมกั นน้ั หาไดง้ า่ ยในชมุ ชน ถอื เป็นอีกหนึ่งวิธีที่เกษตรกรสามารถประยุกต์ ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนตำ่� ทั้งยัง ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคอกี ดว้ ย 10 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
สูตรน้�ำ หมักพืชรสจืด 1. รางจดื 1 สว่ น 2. ผักตบชวา 1 ส่วน 3. ดอกจอก 1 ส่วน รางจืด วิธีการทำ� ดอกจอก 1. น�ำสมุนไพรท่ีได้ในอัตราส่วน ผักตบชวา ทเ่ี ทา่ ๆ กนั มาสบั หรอื ต�ำใหพ้ อแหลก 2. จากนั้นน�ำสมุนไพรท้ังหมดใส่ถัง หมักคลุกเคล้าให้เข้ากันเติมน�้ำ พอทว่ ม 3. ปิดฝาหมักทิ้งไว้ในที่ร่ม 24 ชั่วโมง ก็สามารถน�ำไปใชป้ ระโยชน์ได้ หมายเหตุ: หากใช้ไม่หมดให้หมักไว้ใน ทร่ี ม่ เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของนำ้� หมกั ใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ วิธกี ารนำ�ไปใช้ ใช้ผ้าขาวบางกรองเอาเฉพาะน�้ำของ สมุนไพร ในอัตราส่วน น้�ำหมัก 1 ลิตร ผสมน�้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นลงดิน 15 วัน/ครั้ง ประสทิ ธภิ าพของนำ�้ หมกั จะชว่ ยใหด้ นิ คอ่ ยๆ ปรบั สภาพให้ดยี งิ่ ขึน้ ขอบคุณขอ้ มลู จาก www.rakbankerd.com คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 11 ชุด “การเพาะปลูกพชื ผกั ”
“เปยี กสลบั แหง้ แกลง้ ขา้ ว” ปลกู ขา้ วใชน้ ำ�้ นอ้ ยแตเ่ พมิ่ ผลผลติ “เปียกสลับแห้งแกล้งข้าว” หลายท่านฟังแล้ว อาจจะงงปนสงสัย “แกล้งขา้ ว...คืออะไร?” จะบาปไหม? เราจะมาไขขอ้ ขอ้ งใจใหท้ ุกทา่ นหายงงกนั เลย เปียกสลับแห้งแกล้งข้าวนั้น เป็นวิธีการท่ีปล่อยให้ข้าว ขาดน้ำ�จนดินแตกระแหง จากน้ันต้นข้าวก็จะใช้รากชอนไช หาสารอาหารและน้ำ� ส่งผลให้ระบบรากสมบูรณ์ดี แตกกองาม และเพ่ิมผลผลิตได้ ซึ่งอันท่ีจริงแล้วข้าวไม่ใช่พืชนำ้� การขังน้ำ�ไว้ ในนาเป็นจำ�นวนมากน้ันส่งผลเสียหลายอย่าง ท้ังต้นข้าวเป็น โรคง่าย ต้นทุนการทำ�นาสูง และดินที่แช่อยู่ในน้ำ�เป็นเวลานาน กท็ �ำ ให้ธาตอุ าหารเสียไปดว้ ย 12 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พชื ผัก”
ขั้นตอนการจัดการนำ้�แบบเปียกสลับ 5 ซม. 4 น้ิว 25 ซม. แห้ง เริ่มจากการเตรียมดิน ปรับให้พ้ืนท่ี เสมอกัน ติดต้ังท่อดูน้ำ�ท่ีเป็นท่อพีวีซี ขนาด ความยาว 25 ซม. เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 4 นิว้ เจาะรูด้วยสว่าน เส้นผ่านศูนย์กลางหุนคร่ึง ถงึ สองหุน 4-5 แถวรอบๆ ทอ่ แตล่ ะรหู า่ งกัน 5 ซม. ฝังลงไป 20 ซม. ให้ปากท่อโผล่ข้ึน พ้นผิวดิน 5 ซม. ควักดินในท่อออกให้หมด เมอื่ หว่านเมลด็ พันธุ์ข้าวแล้ว ระบายน้�ำ ออก จากนาให้แห้ง ดิน 5 ซม. ผิวดิน 20 ซม. คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 13 ชดุ “การเพาะปลกู พชื ผัก”
เมอื่ ขา้ วอายุ 10-12 วนั ใหท้ �ำ การก�ำ จดั วัชพืชให้หมด หลังจากนั้น 3 วัน ให้เพิ่ม ระดบั น้�ำ ในนาประมาณ 3 ซม. ขังนาน 3 วนั จากนั้นใส่ปุ๋ยครั้งแรก แล้วรักษาระดับน้ำ� ผิวดินขังไว้จนกระท่ังนำ้�แห้ง หากพบวัชพืช ใหร้ ีบกำ�จัดออก จากนั้น 2 สัปดาห์ นำ�้ ในนา เร่ิมแห้ง ดินเริ่มแตกระแหง ให้ระบายนำ้� ลงนาระดับ 3-5 ซม. ขังไว้จนน้ำ�แห้ง และ ให้น้ำ�เปียกสลับแห้งจนข้าวอายุประมาณ 45-50 วัน หากพบวัชพืชต้องรีบกำ�จัดก่อน ใส่ปยุ๋ ครงั้ ท่ีสอง พอข้าวอยู่ในระยะแตกกอสูงสุด (อายุ 45-50 วัน) ใหเ้ พิ่มระดับน�้ำ ในนาสูง 5 ซม. ขังไว้ 3 วัน จนข้าวกำ�เนิดช่อดอกหรือ ข้าวตั้งท้อง (อายุ 50-55 วัน) ใส่ปุ๋ยอีกครั้ง จากนน้ั 7 วัน ใหเ้ พมิ่ ระดับนำ�้ 10 ซม. รกั ษา ระดับนำ้�จนข้าวออกดอกถึงระยะแห้งใน เมลด็ เร่มิ แข็ง (15-20 วนั หลังขา้ วออกดอก) หลังข้าวออกดอกแล้ว 20 วัน ระบายน้ำ� ออกจากแปลงใหแ้ หง้ เพ่อื เรง่ การสกุ แก่ 14 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
ไมต่ อ้ งมหี อ้ งเยน็ กร็ กั ษาความสดของผกั ได้ ดว้ ยเทคนคิ “นอ็ กเยน็ ” ประเทศไทยเป็นเมืองที่มี 3 ฤดู ใน 1 ปี คือ ฤดูร้อน ฤดูร้อนมาก และฤดูร้อนท่ีสุด ด้วยเหตุน้ีจึงทำ�ให้เกษตรกรส่วนใหญ่ มีปัญหาในการจัดเก็บผลผลิตเพ่ือรอส่งขาย ยิ่งเป็นประเภทผักแล้ว หากเจออากาศร้อนเข้าไป อาจจะทำ�ให้ผลผลิตเสียหาย ขายไม่ได้ ราคา ดังน้ัน การเก็บรักษาความสดของผักและผลผลิตถือเป็น อกี เรอื่ งหนงึ่ ทเ่ี กษตรกรไมค่ วรมองขา้ ม เพอื่ ใหค้ ณุ ภาพของสนิ คา้ เปน็ เคร่ืองการันตีถึงฝีมือของผู้ผลิตและความพึงพอใจของลูกค้า ซ่ึงหากเป็นเกษตรกรรายใหญ่หรือบริษัทห้างร้าน จะมีการลงทุน ห้องเย็นเพ่ือรักษาความสดของผลผลิต แต่ส่ิงที่ตามมาก็คือ ต้นทุนที่สูงมากขึ้นและต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างมาก หากเกษตรกร สามารถใช้วิธีง่ายๆ ต้นทุนต่ำ�ท่ีสามารถทำ�เองได้ ก็ถือเป็นเร่ือง ดไี มน่ อ้ ย คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 15 ชดุ “การเพาะปลูกพืชผกั ”
เทคนคิ นอ๊ กเยน็ เพอื่ รกั ษาความสดของผกั ผักท่เี ก็บจากแปลง เพอ่ื รอการขนสง่ และรอจ�ำ หนา่ ย จากนัน้ น�ำ ผกั ข้ึนมาจัดใสก่ ะบะหรือภาชนะบรรจุ ส�ำ หรบั จัดเก็บหรือขนส่ง วธิ นี ี้สามารถคงความสดไว้ไดน้ าน 7 วนั 16 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พชื ผัก”
นำ้� 5°C น้ำ�แขง็ เตรยี มนำ�้ เยน็ โดยใช้นำ้�แข็งแชล่ งในนำ้� ใหไ้ ดอ้ ณุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส (หากจุ่มมอื ลงไปแลว้ มอื ชาถือวา่ ใช้ได้) น�ำ ผกั สดลงไปแช่ ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า ค ว า ม ส ด ประมาณ 5-10 วินาที กรอบของผักสด เป็นอีกหน่ึงเรื่องท่ี เกษตรกรควรให้ความสนใจ ยิ่งในยุคที่ สามารถซื้อขายออนไลน์ และต้องมีการ จัดส่งสินค้าไปถึงผู้บริโภคในเวลาอันจำ�กัด การรักษาความสดของผักก่อนจัดส่งจึง เป็นเร่ืองท่ีเกษตรกรไม่ควรมองข้าม ทั้งนี้ ก็ เพื่อให้คุณภาพของสินค้าเป็นเครื่องการันตี ถึงฝีมือของผู้ผลิตและความพึงพอใจของ ลกู ค้า คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 17 ชดุ “การเพาะปลกู พืชผัก”
ผักกาดหอม แตงโม ผักบุ้งจีน ผักชี ผกั กวางต้งุ คะน้า ฤดรู อ้ น แตงรา้ น บวบ มนั เทศ มะระ ต้นหอม ปลกู ผกั ตามฤดกู าล ถัว่ ฝกั ยาว มะเขอื เปราะ รไู้ วไ้ ดป้ ระโยชน์ ฟักเขียว ผักกาดขาว รหู้ รอื ไม?่ ว่าปัจจัยสำ�คัญท่ีจะช่วยให้พืชผักปลูกได้งอกงาม หวั ไชเท้า ดีน้ัน คือการปลูกผักแต่ละชนิดให้ถูกต้องตามฤดูกาล เนื่องจาก ไม่ต้องใช้สารเคมีเพ่ือเร่งการเจริญเติบโต ส่งผลให้ผลผลิตงอกงาม แครอท ไดด้ ีตามธรรมชาติ และยงั ดตี ่อสุขภาพของผู้บริโภค ผักชี กะหล่ำ�ดอก การเลือกผักที่จะปลูกในแต่ละฤดูกาลน้ันไม่ยาก อาทิ การปลูก หอมแดง ในฤดูรอ้ นนั้น ผกั ที่จะเลือกปลูกชนิดที่ทนตอ่ แดดรอ้ นๆ ได้ดี บางชนดิ อาจต้องคอยรดน้ำ�ท้ังเช้า-เย็น เพื่อไม่ให้แสงแดดโดนใบมากเกินไป ปลาย กระเทียม ส่วนในช่วงฤดูหนาว ผักจะค่อนข้างมีใบเขียวแตกกองาม แต่ควร ฤดฝู น ระมัดระวังการเกิดโรคพืชต่างๆ ได้ง่ายเพราะอากาศเย็น และในช่วง ฤดูฝน พืชผักจะเติบโตได้ดีมาก ดังน้ัน ไม่ต้องรดนำ้�บ่อย แต่ต้อง 18 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พืชผกั ”
ฤดฝู น ห มั่ น ถ อ น วั ช พื ช ที่ ม า แ ย่ ง ส า ร อาหารพชื ผัก ควรหาทป่ี ลูกผักทมี่ ี หวั ไชเทา้ ผกั กวางต้งุ หลังคาเนื่องจากถ้าฝนตกแรงๆ ผักบุ้งจีน อาจทำ�ให้พืชผลเสยี หายได้ ข้าวโพด ส่วนเกษตรกรที่ต้องการขาย ผักให้ได้ราคาดีในแต่ละช่วงนั้น ถว่ั แขก ฟกั ทอง กะหล่ำ�ปลี ห น้ า เ ท ศ ก า ล อ ย่ า ง ส ง ก ร า น ต์ ผกั กาดขาว ปีใหม่ หรือช่วงวันหยุดยาว ผู้คน พริกชีฟ้ า้ มั ก จ ะ จั ด ง า น ฉ ล อ ง รื่ น เ ริ ง กั น ถ่วั ฝักยาว ผักต่างๆ เช่น ผักกาดหอม หอม ต้นหอม ใหญ่ พริก เคร่ืองต้มยำ� พืชผัก แตงกวา คะน้า ประเภทกับแกล้ม เคร่ืองเคียงน้ัน จะขายดีแทบทุกปี ถ้าวางแผน มะเขือเปราะ การปลูกดีๆ ก็เป็นเศรษฐีกันได้ ไม่ยาก แตงโม มันเทศ มะเขือเทศ มะระ ผกั ชี บวบ กะหลำ�่ ปลี มะเขอื เทศ พริกข้ีหนู ถ่วั แขก ค่ืนชา่ ย ผักชี กะหล่ำ�ดอก แตงร้าน ถวั่ ลันเตา คื่นชา่ ย กะหล�ำ่ ปลี หัวไชเท้า ผกั บ้งุ จนี แครอท มะเขือเปราะ ฤดหู นาว ฟกั ทอง พรกิ ขี้หนู แตงร้าน พรกิ ยักษ์ พริกชี้ฟ้า ผกั กาดหอม กระเทียม แตงโม หอมแดง บวบ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 19 ชุด “การเพาะปลกู พืชผกั ”
ปลกู ตน้ เหลยี งแซมสวนยาง เสรมิ รายไดเ้ กษตรกร ณ เวลาน้ี การปลูกพืชเชิงเด่ียวคงไม่ใช่วิถีที่น่าปฏิบัติ อีกต่อไปแล้ว ท้ังการเส่ียงต่อราคาผลผลิตที่ตกต่ำ� รวมถึงปัญหา แมลงศัตรูพืชที่สามารถทำ�ลายทั้งแปลงได้อย่างรวดเร็ว จนแทบ ไม่เหลือไว้ขายเลย นอกจากน้ี ในฤดูเก็บเกี่ยว หากมีผลผลิตออกสู่ ตลาดมาก ถ้าเกษตรกรขายได้ช้า ผลผลิตอาจเน่าเสีย ถูกพ่อค้า คนกลางกดราคา ด้วยขายได้ช้า ผลผลิตก็เน่า จึงต้องยอมขาย หากจะเก็บไว้ ตอ้ งสรา้ งทเ่ี กบ็ ขนาดใหญ่ การรกั ษาสภาพและควบคมุ แมลงมคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู โดยรวมแลว้ เรียกไดว้ ่า การปลูกพชื เชงิ เด่ียวนนั้ เกษตรกรจะเสยี มากกวา่ ไดแ้ ละไมค่ มุ้ ทุนเอาเสยี เลย 20 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลูกพืชผัก”
รดนำ�้ ใหช้ ุ่ม นายประวิทย์ อนชุ าญ เกษตรกร ต.โคก ปักไมห้ ลัก ม่วง อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา เป็นอีกหนึ่ง ตัวอย่างในการเปล่ียนแปลงตนเอง ที่เลิก กันลม ปลูกพืชเชิงเดียว พร้อมกับการน้อมนำ� ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ ดินฝังกลบ ใช้ในการทำ�การเกษตร โดยสวนของ หลมุ ลึก นายประวิทย์นั้นมีจุดเด่นอยู่ท่ีการปลูกผัก 30 ซม. เหลียงแซมภายในสวนยางพารา ผักเหลียง เป็นผักพ้ืนบ้านที่ประชาชนในพ้ืนที่ภาคใต้ ปยุ๋ คอก นิยมบริโภค จึงทำ�ให้มีราคาสูงและมีตลาด รองรับตลอดทั้งปี ผักเหลียงจึงช่วยเสริม รายไดใ้ หก้ บั เกษตรกรไดอ้ กี ทาง หรอื บางครงั้ หากราคายางตกต�่ำ ผกั เหลยี งกถ็ อื เปน็ รายได้ หลักเลยทเี ดยี ว ก า ร ดู แ ล ผั ก เ ห ลี ย ง ท่ี ป ลู ก แ ซ ม กั บ ยางพาราน้ันไม่ยาก เพียงหม่ันตรวจดู ความชื้นของก่ิงชำ�อย่างต่อเน่ือง และราก จะงอกภายในเวลาประมาณ 2-3 เดือน จากน้ันตัดเอาลงปลูกในถุงดำ� เมื่อต้น แข็งแรงดี นำ�ลงหลุมปลูกในหลุมตรงพ้ืนที่ สวนยางพาราท่ีเตรียมไว้ ระยะในการปลูก คือ ระหว่างแถวของต้นยางพารา โดยระยะ ห่างระหวา่ งตน้ ประมาณ 1 เมตร ใหข้ ุดหลุม ปลกู ความลึกประมาณ 30 ซม. รองก้นหลมุ ดว้ ยปยุ๋ คอกวางตน้ พนั ธใ์ุ นหลมุ ทข่ี ดุ แลว้ กลบ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 21 ชดุ “การเพาะปลูกพชื ผกั ”
ฝังแต่พอแน่น รดน้ำ�ให้ชุ่ม ใช้ไม้หลักปัก ผกู เชอื กใหเ้ รยี บร้อย เพ่อื ปอ้ งกนั ลม จากนั้น ใหป้ ยุ๋ 2 คร้งั คือ ในชว่ งตน้ ฤดฝู น และปลาย ฤดฝู นโดยโรยใหร้ อบโคนตน้ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคง่ายๆ ในการ บงั คับให้แตกยอดออ่ นเรว็ คือ การตัดแต่งกิ่ง อยู่เป็นประจำ� พร้อมทั้งตัดต้นไม่ให้สูงเกิน มือเอื้อม เพ่ือสะดวกต่อการเก็บยอดผัก เหลยี ง หากมีฝนทง้ิ ช่วงเกนิ 3 วัน ก็จะน�ำ น�้ำ ไปรดเพ่อื ให้ตน้ เหลียงมนี ้�ำ เพียงพอ สำ�หรับต้นปลูกใหม่ หลังปลูกประมาณ 2 ปี ก็จะสามารถเก็บยอดมาบริโภคและ จำ�หนา่ ยได้โดยเกบ็ 7 วัน ตอ่ 1 ครงั้ ฉะนัน้ จะตอ้ งปลกู ในปรมิ าณทม่ี ากนดิ หนงึ่ แลว้ เกบ็ แบบสลบั ตน้ เพอ่ื ใหส้ ามารถเกบ็ ยอดไดท้ กุ วนั การเก็บ ควรเด็ดให้ชิดข้อ ไม่เด็ดกลาง ข้อหรือตัด เพราะจะทำ�ให้การแตกยอดอ่อน ในคร้ังต่อไปช้าลง หลังเก็บแล้วอย่าให้ใบ หรือยอดอ่อนท่ีเก็บมาถูกแสงแดดและลม ควรพรมนำ้�แต่พอชุ่ม ซ่ึงจะสามารถเก็บได้ นานประมาณ 5-6 วัน 22 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พืชผกั ”
เปดิ สตู รความตอ้ งการนำ้� ของ “ขา้ วโพดเลยี้ งสตั ว”์ รู้หรือไม่ว่า ความต้องการนำ้�ของข้าวโพดเล้ียงสัตว์ใน แต่ละระยะของการเจริญเติบโตน้ันไม่เท่ากัน โดยในระยะแรก ต้องการน้ำ�ไม่มากนักแต่จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นตามอายุ และต้องการน้ำ� สูงสุดในช่วงออกดอกและช่วงระยะแรกของการสร้างเมล็ด หลังจาก นนั้ การใชน้ �ำ้ จะค่อยลดลง ดงั น้นั ถ้าขาดนำ้�ในชว่ งออกดอกและชว่ ง ระยะแรกของการสร้างเมล็ด จะทำ�ให้ผลผลิตลดลงมากทั้งปริมาณ และคณุ ภาพ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 23 ชุด “การเพาะปลูกพืชผกั ”
ทางน�้ำ หลกั แบบของการใหน้ �ำ้ โดยทว่ั ๆ ไป ของข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์ 1. การให้นำ้�แบบร่องคู (Furrow method) เปน็ การใหน้ �้ำ ทางผวิ ดนิ โดยปลอ่ ย ให้นำ้�ไหลไปในคูขนาดเล็ก และให้นำ้�ซึม เข้าไปในดินทางข้างและร่องคู คือท้ังใน แนวราบและแนวด่ิง ซ่ึงมีหลายวิธี คือ การ ให้น้ำ�แบบร่องคูลาด โดยจะให้นำ้�แก่พืช ทางร่องที่มีขนาดเล็ก ซึ่งมีความลาดเท สมำ่�เสมอและมีแนวตรง การให้นำ้�วิธีน้ี สามารถให้ไดก้ ับดนิ ทุกชนดิ ยกเวน้ ดินทราย ทม่ี อี ตั ราการซมึ สงู มาก เพราะวา่ จะมกี ารไหล ซึมทางดา้ นขา้ งนอ้ ย จะสูญเสยี น�้ำ เนอ่ื งจาก ไหลซึมเขตรากพืชมาก พื้นที่ที่จะเลือกใช้ 24 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลูกพืชผัก”
การให้นำ้�วิธีน้ี ควรมีความลาดเทไม่เกิน 2 เปอรเ์ ซ็นต์ การใหน้ ำ้�แบบรอ่ งครู าบคล้ายกับ วิธีให้นำ้�แบบร่องคูลาด แต่วิธีน้ีร่องท่ีให้น้ำ� ไหลนั้นไม่มีความลาดเหลืออยู่ในแนวราบ ดังนั้น การให้นำ้�จึงต้องให้ด้วยอัตราสูง นำ้� จึงไหลไปตลอดความยาวของร่องคูในระยะ เวลาอนั สนั้ การใหน้ �ำ้ ดว้ ยวธิ นี เี้ หมาะส�ำ หรบั ดินท่ีมีอัตราการซึมเฉล่ียน้อยกว่า 50 มม. ต่อช่ัวโมง และมีความสามารถเก็บน้ำ�ได้ ขนาดปานกลางจนเก็บน้ำ�ได้ดี การให้นำ้� แบบร่องคูตามแนวเส้นขอบ คล้ายคลึงกับ วธิ ีการแรกเชน่ กนั แตร่ ่องตามแนวเส้นขอบ ของเนินนี้จะราบกว่า และทิศทางของร่อง จะเกือบขนานไปกับเส้นขอบเนิน ความ ลาดเทของรอ่ งคูน้นั จะไมม่ ากนกั คือมเี พยี ง เพื่อให้น้ำ�ไหลไปยังปลายของร่องได้เท่านั้น วธิ นี ใี้ ช้กบั พ้นื ท่ีมีความลาดเทท่ัวๆ ไป ยกเว้น ดินทรายหรือดินที่มีการแตกระแหง เพราะ ร่องอาจจะพังทลายได้ 2. การให้นำ้�แบบฝนโปรย การให้นำ้� แบบน้ีจะทำ�ให้ลำ�ต้นเปียกนำ้�และทำ�ให้ เกิดโรคกับส่วนของลำ�ต้นได้ ซึ่งเป็นระบบ ที่ไม่เหมาะสมนกั ระบบน�้ำ แบบฝนโปรย คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 25 ชดุ “การเพาะปลกู พืชผัก”
3. การให้นำ�้ แบบระบบหยด เป็นการ ให้น้ำ�ในอัตราท่ีน้อยแต่บ่อยคร้ัง แต่ละคร้ัง เป็นเวลานาน โดยระบบท่ีใช้แรงดันน้อย และให้นำ้�กับส่วนรากโดยตรง เป็นการ ประหยัดปุ๋ย ประหยัดแรงงาน รวมท้ัง ยาฆ่าแมลง ประหยัดนำ้� เมื่อเราทราบ คา่ ความตอ้ งการน�้ำ ของพชื ในแตล่ ะชว่ งแลว้ สามารถคำ�นวณปริมาณน้ำ�ท่ีพืชต้องการ ในแต่ละช่วงและปล่อยน้ำ�เข้าสู่ระบบหยด ได้ตามตอ้ งการ ในส่วนของการคำ�นวณปริมาณการให้ น้ำ�ในแต่ละระยะของการเจริญเติบโตของ ข้าวโพดในช่วง 120 วันนั้น จะไม่เท่ากัน หากเกษตรกรสามารถให้นำ้�ได้ตรงตามท่ี พืชต้องการ ก็สามารถประหยัดต้นทุนและ เสริมให้ผลผลิตสมบูรณไ์ ดต้ ามต้องการ ระบบน้ำ�หยด 26 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลูกพืชผัก”
ความตอ้ งการน�ำ้ ของขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ เก็บเก่ียว อายุ 110 - 120 วัน ระยะตดิ ฝกั อายุ 55- 110 วัน จะใชน้ �้ำ มากที่สุด คอื 245,000 ลิตร / ไร่ / สัปดาห์ ระยะออกฝกั ตัวเมียและแทงชอ่ ตัวผู้ อายุ 45 – 55 วนั ใช้นำ�้ 70,000 ลิตร / ไร่ / สัปดาห์ ระยะที่ข้าวโพดเร่มิ เจริญเตบิ โต ทางตน้ และใบ อายุ 5-45 วนั จะใช้น้ำ� 240,000 ลติ ร / ไร่ / สปั ดาห์ ระยะเริ่มงอก อายุ 5 วนั จะใช้นำ้� 35,000 ลิตร / ไร่ / สปั ดาห์ ระยะเรม่ิ ปลูก จะใชน้ �้ำ 35,000 ลิตร / ไร่ / สปั ดาห์ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 27 ชดุ “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
เชอื้ ราไตรโคเดอรม์ า่ ท�ำงา่ ย ไดป้ ระโยชน์ ในรอบปีที่ผ่านมา คำ�ว่า เช้ือราไตรโคเดอร์ม่า น้ัน ฮิตติดลมบนจนแทบจะไม่มีเกษตรกรคนไหนไม่เคยได้ยิน บางคน อาจจะได้ยินผ่านๆ แต่ก็ยังไม่รู้ว่าแท้จริงไอ้เจ้าเชื้อราชื่อแปลกๆ น้ีคืออะไร มีประโยชน์ต่อการเกษตรอย่างไร เรามีคำ�อธิบายง่ายๆ พรอ้ มกบั วธิ ีทำ�เจา้ เชอ้ื ราตวั นไี้ วใ้ ช้เองเพอื่ ลดต้นทุน เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า คือ เช้ือราชนิดหนึ่งที่ดำ�รงชีวิตอยู่ในดิน อาศัยเศษซากอินทรียวัตถุเป็นอาหารโดยไม่มีอันตรายกับพืช คน สัตว์ และแมลง เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าหลายชนิดมีคุณสมบัติ ในการควบคุมและทำ�ลายเช้ือราสาเหตุโรคพืชทางดิน จึงทำ�ให้พืช มีระบบรากท่ีสมบูรณ์ แข็งแรง หาอาหารได้มาก ต้นพืชจึงสมบูรณ์ ใหผ้ ลผลิตสงู และคณุ ภาพดี 28 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
วิธีการทำ�เช้ือราไตรโคเดอร์ม่า แบบเชื้อสด มีวิธีง่ายๆ วัสดุอุปกรณ์ราคาไม่แพง หาซื้อได้ตาม ท้องถิ่น โดยหัวเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า 1 ขวด 20 กรัม ผลติ เชื้อสดได้ 15-20 กโิ ลกรมั เลยทีเดยี ว ข้ันตอนแรก ตอ้ งหงุ ขา้ วเพอ่ื ขยายเชือ้ รากอ่ น ดงั น้ี • หุงปลายข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า ใช้ข้าว 3 สว่ น น�้ำ 2 สว่ น หรอื ข้าว 2 ส่วน นำ้� 1 สว่ น • ปลายข้าว 600 กรัม ใส่น้ำ� 0.5 ลิตร จะได้ ข้าวสกุ ประมาณ 1 กโิ ลกรมั • ตักปลายข้าวสุกขณะร้อนประมาณ 2 ทัพพี ใส่ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด 6x12 นิ้ว หรือประมาณ ถงุ ละ 250 กรมั รอใหข้ า้ วเยน็ จงึ ใส่เช้อื จากนนั้ ใส่หัวเชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า่ • เหยาะหวั เชอ้ื 1-2 เหยาะ ลงในถงุ ขา้ วทเี่ ยน็ แลว้ บริเวณที่สะอาดและลมสงบเพ่ือลดการปนเปือ้ น • ใชย้ างรดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ หรอื ใชล้ วดเยบ็ กระดาษ แล้วเขย่าให้เชือ้ กระจายทั่วทง้ั ถงุ • ใชเ้ ข็มแทงไมน่ ้อยกวา่ 30 รู กระจายข้าวในถุง ไม่วางซ้อนกนั ดึงกลางถงุ ไม่ให้ พลาสติกแนบข้าว จากนั้นวางถุงเช้ือในห้องที่สะอาด ปลอดจากมด ไร และสตั ว์อืน่ ๆ อากาศไมร่ อ้ น ไม่ตาก แดด แตม่ แี สงสวา่ ง บ่มไว้ 5-7 วนั หลังจากเชื้อราได้ที่ แล้วควรนำ�ไปใช้ทันที หรือเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา ไดไ้ มเ่ กิน 1 เดอื น คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 29 ชุด “การเพาะปลูกพืชผกั ”
วธิ กี ารน�ำ เชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า่ ไปใช้ 1. การคลกุ เมลด็ ใชเ้ ชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า่ (เชอ้ื สด) 1-2 ชอ้ นแกง (10-20 กรมั ) ตอ่ เมลด็ พืช 1 กโิ ลกรัม โดยคลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กันในถงุ อาจเติมนำ้�เล็กน้อยเพื่อให้สปอร์ของเช้ือรา เคลือบตดิ บนผวิ ของเมลด็ พชื ได้ดียง่ิ ข้ึน 2. การรองก้นหลุมและการหว่านใช้ เช้ือราไตรโคเดอร์ม่า 1 กิโลกรัม บวกรำ� ละเอยี ด 5 กโิ ลกรัม บวกปุ๋ยหมกั 40 กโิ ลกรัม รองก้นหลุมปลูกในพืชผัก พืชสวน 10-20 กรัม/ต้น หว่านในแปลงปลูก 50-100 กรัม/ ตารางเมตร และในพืชสวนหว่านใต้ทรงพุ่ม ในอัตรา3-5 กิโลกรมั /ตน้ 3. การผสมกับวัสดุปลูก ใช้เชื้อราไตรโค เดอร์ม่า (เช้ือสด) ที่ผสมแล้วกับวัสดุผสม 1 ส่วนกับวัสดุปลูก 4 ส่วน คลุกเคล้าให้ เข้ากันก่อนบรรจุลงในภาชนะเพาะเมล็ด เพาะกล้า 4. การผสมน้ำ�ฉีดพ่น ใช้เช้ือราไตรโค เดอรม์ า่ (เชื้อสด) 1 กโิ ลกรมั ตอ่ น้ำ� 100 ลติ ร โดยกวนล้างสปอร์ในน้ำ� 20 ลิตรก่อน จากนั้นกรองเอาเฉพาะน้ำ�สปอร์เทลงถัง ฉีดพ่นและเตมิ น้ำ�จนเต็ม 100 ลติ ร ใช้ฉีดพ่น ในแปลงกลา้ โคนตน้ พชื และฉดี พน่ ทางใบ 30 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พืชผัก”
กอ้ นเหด็ เกา่ มปี ระโยชน์ อยา่ ทงิ้ เกษตรกรหลายๆ ท่าน คงเคยปลูกเห็ดกัน แต่เมื่อ ก้อนเชื้อหมดอายุแล้ว ส่วนใหญ่จะทิ้งเพราะคิดว่าไม่สามารถน�ำ มาใช้ประโยชน์อะไรได้ แต่ที่จริงแล้ว ก้อนเช้ือเห็ดนั้นมีธาตุอาหาร ที่จ�ำเป็นต่อพืช ทั้งธาตุอาหารหลัก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม ธาตุอาหารรอง แมกนีเซียม แคลเซียม และธาตุ อาหารเสริมอีกหลายชนิด จะเห็นได้ว่า ก้อนเช้ือเห็ดจะเป็นปุ๋ยที่มี คุณภาพดีมาก จะมีธาตุอาหารท่ีปรุงพืชได้มากกว่าปุ๋ยหมักท่ัวไป หากทิ้งไปก็น่าเสียดาย เพียงแค่น�ำก้อนเช้ือเห็ดมาผสมเพิ่ม นิดหนอ่ ย ก็จะได้ปยุ๋ ชนั้ ดไี วใ้ ช้กันแลว้ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 31 ชุด “การเพาะปลูกพชื ผัก”
วิธที �ำ ปยุ๋ ชวี ภาพจากกอ้ นเช้อื เหด็ เก่า กอ้ นเชอ้ื เหด็ เก่า ข้วี วั เก่า จำ�นวน 100 กิโลกรัม จ�ำ นวน 1 กโิ ลกรมั ขไี้ กเ่ ก่า จ�ำ นวน 1 กิโลกรมั ปยุ๋ อินทรยี น์ ้�ำ 1 ขวด กากน�้ำ ตาล (ขวดน�้ำ ขนาด 1 ลติ ร) จำ�นวน 1 ลติ ร 32 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลูกพชื ผกั ”
วธิ กี ารทำ� 1. นำ�กอ้ นเช้อื เหด็ ทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้ว มาทุบใหล้ ะเอยี ด แล้วกองไว้ในทีร่ ่ม 2. น�ำ ส่วนผสมทง้ั หมดมาคลกุ เคลา้ ให้เขา้ กัน แลว้ รดน�้ำ พอชื้น (ใช้มือบบี ดู ถา้ จับแลว้ ก้อนไม่คลาย แปลวา่ ใชไ้ ด)้ 3. กลบั กองปยุ๋ หมักทกุ ๆ 7 วนั เพอ่ื เปน็ การระบายความรอ้ นในกอง 4. เมอ่ื หมักปุ๋ยไว้ได้ประมาณ 15 วัน ก็สามารถน�ำ ไปบ�ำ รุงต้นไม้ได้ ตามตอ้ งการ (ให้ตามขนาดของพืช) เมื่อหมักได้ที่แล้ว ให้นำ�ไปใช้ใส่ในพืช ผักผลไม้ จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืช ผกั ให้เรว็ ข้นึ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 33 ชดุ “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
ตอ่ ยอดมะเขอื เทศ โดยใชต้ น้ ตอมะเขอื พวง พ้นื ท่ใี นภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของเรานั้น มีการปลูกมะเขือเทศเป็นพืชเศรษฐกิจกันเยอะ แต่ก็มี เกษตรกรบางทา่ นอยากทราบวา่ การปลกู มะเขอื เทศซ�ำ้ ๆ ในพน้ื ทเ่ี ดมิ ตลอด ทำ�ให้เกิดการระบาดของโรงเห่ียวเขียว แม้แต่การใช้สารเคมี หรอื การจดั การดนิ กไ็ มส่ ามารถควบคมุ การระบาดของโรคได้ ซง่ึ วธิ กี าร เดียวท่ยี บั ยง้ั การเกิดโรคเหีย่ วเขียวได้ คอื การตอ่ ยอดมะเขือเทศพนั ธ์ุ ทีต่ ้องการบนตน้ ตอมะเขือเทศ มะเขือ หรือมะเขือพวง ซึง่ เปน็ เทคนคิ ท่ใี ช้ครงั้ แรกในญ่ีปนุ่ และเกาหลี เมือ่ ค.ศ. 1920 จากนั้นก็เป็นท่นี ยิ ม อยา่ งกว้างขวางทั้งในเอเชียและยุโรป 34 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลูกพชื ผัก”
ใบมีดโกน หลอด โรงงานหลวงอาหารสำ�เร็จรูปท่ี 3 อำ�เภอ เต่างอย จังหวัดสกลนคร ซ่ึงเน้นการแปรรูป มะเขือเทศเป็นซอสมะเขือเทศเข้มข้นเป็นหลัก จึงได้นำ�วิธีการต่อยอดมะเขือเทศโดยใช้ต้นตอ มะเขือพวงมาทดลองทำ�ในพ้ืนท่ีแปลงสาธิตของ โรงงานหลวง เพ่ือยับยั้งการเกิดโรคเหี่ยวเขียว และถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร เปน็ ทางเลือก ในการพัฒนาการผลิตมะเขือเทศให้ได้ผลผลิต ตอ่ ไร่เพ่ิมข้ึน การต่อยอดมะเขือเทศบนต้นตอมะเขือพวง ของโรงงานหลวง เป็นต่อยอดแบบใช้ท่อ เนอ่ื งจาก ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย วิธีการไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่ต้องมีความชำ�นาญก็สามารถทำ�ได้ อุปกรณม์ เี พียงมีด หลอดต่อยอดหรอื สายน้�ำ เกลือ และแอลกอฮอล์เท่าน้นั คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 35 ชดุ “การเพาะปลูกพืชผัก”
1 ตน้ กล้ามะเขอื เทศ ต้นกลา้ มะเขือพวง ตอมะเขือพวง วธิ กี ารตอ่ ยอด 2 กิ่งมะเขือเทศ 1. เพาะกลา้ ตน้ ตอมะเขอื พวงก่อน แล้วเพาะกล้าก่งิ พันธุ์มะเขือเทศ 7 วนั 2. เม่ือกงิ่ พันธ์มุ ะเขอื เทศมีอายุ 21 วนั หรอื มใี บจรงิ 3-4 ใบ กน็ �ำ มาท�ำ การตอ่ ยอด โดยตดั ต้นตอให้เฉยี งประมาณ 30 องศา 3. นำ�หลอดสวมลงในปลายที่ตัด และตัด ก่ิงพันธุ์ให้เฉียงเช่นเดียวกับต้นตอ แล้วนำ�ก่ิงพันธ์ุใส่เข้าไปในท่อ ให้รอยตัด ของต้นตอและกิ่งพันธุ์ประกบกันพอดี เพื่อให้รอยตัดประสานกนั ไดร้ วดเร็วขน้ึ 36 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลกู พืชผกั ”
3 หลงั จากตอ่ ยอดเสรจ็ ให้รีบนำ� ต้นกล้าเข้าไว้ในห้องที่มีความชื้น อุณหภูมิ ตน้ กลา้ ทตี่ ่อยอดเสร็จแล้ว 28-32 องศาเซลเซียส และความเขม้ แสง 45 เปอรเ์ ซน็ ต์ ปิดทางเขา้ ออกของอากาศ 3 วัน สวมหลอดระหวา่ ง ครบ 3 วนั แล้วจงึ เริ่มเปดิ พลาสติกให้อากาศ ตน้ ตอกับกง่ิ พนั ธุ์ ถ่ายเท เพื่อปรับความช้ืนระหว่างภายนอก และภายในให้เท่ากันอีก 3 วัน แล้วจึงย้าย ต้นกล้าต่อยอดไปไว้ในโรงเรือน เพื่อให้ได้ รับแสงแดดเป็นเวลา 7 วนั จงึ ยา้ ยไปปลูกใน แปลงตอ่ ไป พกั ตน้ กล้าไว้ในโรงเรือน คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 37 ชุด “การเพาะปลูกพืชผัก”
ปยุ๋ มลู คา้ งคาว สตู รเดด็ เคลด็ (ไม)่ ลบั ผืนนาของนายบุญธรรมกับนางทองสุข เสนาอุดร เกษตรกร บ้านโคกล่าม ต.กดุ หมากไฟ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี จากเดิมเคยใช้ ทำ�นาเพียงปีละคร้ัง ปัจจุบันน้ีได้ปลูกพืชหมุนเวียนตลอดทั้งปี ปลกู ฟกั ทอง แตงกวา โหระพา ผกั บงุ้ ถว่ั ลิสง ตะไคร้ มะเขือ กะเพรา แค มะม่วง ฯลฯ พืชผักทุกอย่างที่ปลูกก็ล้วนเติบโตงอกงามด้วย สตู รเดด็ เคลด็ ลบั “ปยุ๋ หมกั ขค้ี า้ งคาว สตู รบา้ นโคกลา่ ม” ทคี่ รอบครวั เสนาอุดรพัฒนาต่อยอดจากปุ๋ยหมักจากขี้หมูของปิดทองฯ ที่ 38 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พืชผกั ”
เลยี้ งไวม้ าผนวกกบั ประสบการณ์ ภมู ปิ ญั ญา ด้ังเดิมและความรู้ที่ได้จากปู่ ย่า ตา ยาย กลายเปน็ สตู รใหมท่ พ่ี สิ จู นด์ ว้ ยตวั เองแลว้ วา่ เหน็ ผลดจี รงิ ทกุ วนั นี้ ผนื ดนิ ทเ่ี คยแตกระแหง กลายเป็นผืนนาเขียวขจีสุดลูกหูลูกตา หลังนาก็กลายเป็นแปลงพืชแปลงผักที่ให้ ผลผลิตน่าช่ืนใจ เพราะมูลค้างคาวอุดมไปด้วยธาตุ อาหารท่ีพืชต้องการ และมีฟอสฟอรัสมาก เป็นพิเศษ เหมาะกับการนำ�มาใช้ในพืชผัก พืชไร่ พืชสวน นอกจากให้ผลผลิตงอกงาม แลว้ ยงั ช่วยปรบั ปรุงดนิ ใหร้ ่วนซยุ ดว้ ย คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 39 ชุด “การเพาะปลูกพชื ผกั ”
น�้ำ หมกั สูตรขี้ค้างคาว สตู รเฉพาะ บา้ นโคกล่าม สตู รท่ี 1 วิธีทำ� : มูลคา้ งคาว 1 กโิ ลกรมั ตอ่ น้�ำ เปล่า 10 ลิตร หมกั ท้ิงไวป้ ระมาณ 20 วัน อัตราการใช้ : น้ำ�หมักมูลค้างคาว 10 มิลลิลิตร ผสมนำ้� 20 ลิตร ฉีดพ่นอาทิตย์ละ 1 คร้ัง มลู ค้างคาว 40 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “การเพาะปลูกพชื ผัก”
สูตรท่ี 2 กากน้ำ�ตาล จ�ำ นวน 1 ลิตร มลู ค้างคาว จำ�นวน 1 กโิ ลกรมั ผกั ใบเขียว น้ำ�เปล่า จำ�นวน 1 กิโลกรมั จ�ำ นวน 10 ลิตร วธิ ที �ำ : น�ำ ทง้ั หมดผสมเขา้ ดว้ ยกนั หมกั ไว้ 20 วนั แลว้ เตมิ น�ำ้ เพิ่ม 10 ลติ ร หมักต่ออกี 30-90 วนั อัตราการใช้ : น้ำ�หมักมูลค้างคาว 10 มิลลิลิตร ผสมนำ้� 20 ลติ ร ฉดี พ่นอาทิตย์ละ 1 คร้ัง คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 41 ชุด “การเพาะปลูกพืชผัก”
ผลติ จลุ นิ ทรยี ส์ งั เคราะหแ์ สง ไวใ้ ชไ้ ดด้ ว้ ยวตั ถดุ บิ กน้ ครวั จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เป็นแบคทีเรียพบกระจาย ทั่วไปในธรรมชาติ ตามแหล่งนำ้�จืด นำ้�เค็ม ทะเลสาบน้ำ�เค็ม นอกจากนี้ ยังพบตามแหล่งนำ้�เสีย บ่อบำ�บัดน้ำ�เสีย บทบาท ของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง มีความสำ�คัญในกระบวนการนำ�ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้และการตรึงไนไตรเจน นอกจากนี้ ยังมี บทบาทสำ�คัญในห่วงโซ่อาหารซ่ึงสัตว์ขนาดเล็ก ปลา กุ้ง หอย และปู สามารถนำ�จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมาใช้เป็นอาหารได้ นอกจากน้ี ในน้ำ�เสียจากบ้านเรือนและน้ำ�เสียจากการทำ�ปศุสัตว์ สามารถบำ�บัดด้วยจลุ นิ ทรยี ส์ ังเคราะหแ์ สงไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 42 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลูกพชื ผัก”
ประโยชนข์ องจลุ นิ ทรยี ส์ งั เคราะหแ์ สง ลดการใช้ปยุ๋ 50% ต้านทานโรคและแมลง เพม่ิ ผลผลิตมากขนึ้ ชว่ ยให้รากแขง็ แรง ลดกา๊ ซไข่เน่าในดิน คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 43 ชุด “การเพาะปลูกพชื ผกั ”
1. ลดตน้ ทนุ การใชป้ ยุ๋ เคมหี รอื ปยุ๋ หลกั ลงถงึ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ ในกรณใี ชต้ อ่ เนอ่ื ง 2. ลดกา๊ ชไขเ่ นา่ ในดนิ ชว่ ยใหร้ ากพชื ขยายไดด้ แี ละกนิ ปยุ๋ ไดด้ ขี น้ึ เพมิ่ ผลผลติ มากขนึ้ ไม่ต่ำ�กวา่ 30 เปอรเ์ ซ็นต์ 3. เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะการใช้เพ่ิมผลผลิตข้าวได้มาก ถึงไร่ละ 30 เปอร์เซ็นต์ เพราะดินในบริเวณรากข้าวจะเกิดแก๊สไข่เน่า(ไฮโดรเจน ซัลไฟด์) ซึ่งไปยับยั้งการดูดซึมของรากข้าว แต่ SUN SMILE จะไปเปลี่ยนแก๊ส ไข่เน่าให้ไปอยู่ในรูปสารประกอบซัลเฟอร์ท่ีไม่เป็นพิษต่อราก ทำ�ให้รากข้าว เจริญงอกงาม สามารถดูดซมึ อาหารใหต้ น้ ขา้ วแข็งแรงและขจดั สารพิษในนา 4. ส่วนในพืชอืน่ ๆ ก็เช่นกนั ชว่ ยทำ�ให้รากของพชื แขง็ แรง สามารถหาอาหาร ไดเ้ ก่ง สามารถดูดซมึ สารอาหารได้มากขน้ึ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงยงั มโี ปรตนี สูง และวติ ามินแรธ่ าตมุ ากมาย เป็นประโยชน์กบั พชื อยา่ งมาก เพม่ิ คุณภาพผลผลิต 5. พชื มคี วามแขง็ แรง ต้านทานโรคและแมลงต่างๆ ได้ดี และชว่ ยเพ่ิมแร่ธาตุ ในดิน เชน่ ไมคอรไ์ รซา อะโซโตแบคเตอร์ ฯลฯ นายพิชิต ศิริเมือง อดีตผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 5 ต.สะอาดไชยศรี อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธ์ุ เกษตรกรผู้นำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติในพื้นที่ทำ�กิน ของตัวเองจนจัดต้ังศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ท้ังยังได้รับคัดเลือกเป็น แปลงต้นแบบโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จ.กาฬสินธ์ุ ในโครงการกาฬสนิ ธ์ุ คนดี สุขภาพดี รายไดด้ ี ปี 2557 ด้วย นายพิชิตเผยเคล็ดลับในการบำ�รุงพืชผลในไร่ว่า ได้ผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์ แสงไว้ใช้เองด้วย เพื่อช่วยเร่งใบให้พืชเจริญเติบโตได้ดี เพียงใช้วัตถุดิบท่ีหาได้ใน ครวั เรือนแทบทกุ บ้าน วิธกี ารท�ำ กง็ ่ายแสนงา่ ย 44 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พชื ผกั ”
การท�ำ จุลินทรยี ส์ ังเคราะห์แสง วัตถุดบิ ไขไ่ ก่ 3 ฟอง ผงชรู ส 1 ช้อนโต๊ะ น้ำ�ปลา 1 ชอ้ นโต๊ะ (หากเป็นไขเ่ นา่ จะย่ิงด)ี หวั เชอ้ื จลุ นิ ทรีย์ ต้นเชอ้ื จลุ ินทรีย์ 1 ลิตร น้ำ�สะอาด 5 ลิตร วิธีทำ� นำ�ส่วนผสมทั้งหมดคนให้ เข้ากัน แล้วใส่ในขวดท่ีมีน้ำ� 1.5 ลิตร เขย่าทุกวัน และนำ�ไปตาก แดด พอ 4-5 วนั จะเริ่มเปน็ สชี ม พูอ่อนๆ ท้งิ ไว้ 15 วนั จากนน้ั น�ำ ไปฉีดบริเวณพืชผล ก็จะช่วยให้ พืชเจริญเติบโตได้ดี แนะนำ�ให้ ฉดี ช่วงทีม่ แี ดดออ่ นๆ ในตอนเชา้ และเย็น คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 45 ชุด “การเพาะปลูกพชื ผัก”
ดแู ลไมผ้ ลอยา่ งไรดี เมอ่ื ถงึ หนา้ แลง้ ในชว่ งทฤี่ ดเู ปลยี่ นเขา้ สชู่ ว่ งฤดรู อ้ น เปน็ สญั ญาณ ท่ีบ่งบอกว่าภัยแล้งกำ�ลังมาถึง ชาวสวนผลไม้มีความจำ�เป็นต้องมี การจัดการสวนของตนเองให้ต้นไม้อยู่รอดผ่านพ้นช่วงวิกฤตภัยแล้งน้ี ไปให้ได้ เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศโดยท่ัวไปจะร้อนและแห้งแล้ง สง่ ผลกระทบต่อไมผ้ ล ทัง้ ในแงข่ องปริมาณและคุณภาพผลผลิต ท�ำ ให้ ผลไม้มีขนาดเล็กและคุณภาพต่ำ� จึงต้องมีการดูแลให้ไม้ผลได้รับนำ้� อยา่ งเพียงพอและสมำ�่ เสมอ 46 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลูกพชื ผัก”
ใหน้ ำ�้ แบบประหยัด การใหน้ ำ้� โดยคำ�นงึ ถึงการใหน้ �ำ้ เปลย่ี นเวลาใหน้ ้�ำ แบบประหยัดทสี่ ุด ใช้วัสดคุ ลมุ ใช้วัสดพุ รางแสง ให้น้ำ�ต้นไม้ผลภายในบริเวณรัศมี ทรงพุ่มเท่าน้ัน อย่าให้น้ำ�มากจนไหลแฉะ ไปทว่ั สวน ใหน้ �ำ้ แบบระบบน�ำ้ หยดหรอื หวั เหวย่ี ง ขนาดเล็กจะช่วยประหยัดนำ้�ได้มากกว่าการ ใช้สายยางรดน้ำ� ให้น้ำ�ครั้งน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เพื่อลด การสญู เสยี น�ำ้ เปลยี่ นชว่ งเวลาการใหน้ �้ำ เปน็ ชว่ งกลางคนื เพอ่ื ช่วยใหพ้ ืชลดการระเหยน�้ำ จากการถกู แดดเผา การใชว้ สั ดคุ ลุมดนิ คลุมจากโคนต้นไม้ผลจนถึงแนวรัศมี ทรงพุ่ม วัสดุท่ีใช้ ได้แก่ ใบไมแ้ ห้งที่ร่วงหลน่ จากต้นไม้ผลเอง ใบตองแห้ง ทางมะพร้าว กาบมะพร้าว หญ้าแห้ง เป็นต้น ซึ่งวัสดุ คลุมดินจะช่วยชะลออัตราการระเหยของนำ้� จากผิวดินให้ช้าลง ทำ�ให้ดินร่วนและมีการ อมุ้ นำ�้ ดขี ึน้ กรณีต้นไม้เล็กควรใช้วัสดุช่วยใน การพรางแสง เพื่อลดความเข้มแสง คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 47 ชดุ “การเพาะปลูกพชื ผัก”
การตัดแต่งก่งิ ไม้ผลท่ีเก็บเก่ียวในช่วงต้นฤดูแล้ง หลังการเก็บผลแล้วควรทำ�การตัดแต่งก่ิงให้ ทรงพุ่มโปร่ง เพ่ือลดการระเหยน้ำ�ทางใบ และช่วยให้การออกดอกติดผลในฤดูต่อไปเป็นไป อยา่ งต่อเน่อื ง ไม้ผลบางชนิด หากประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ�ในช่วงการติดผล อาจทำ�ให้ ต้นโทรมและถึงตายได้ จะต้องรีบทำ�การตัดท้ิงให้หมด และหาน้ำ�จากแหล่งอื่นมารดอย่าง ประหยดั ทีส่ ดุ การก�ำ จดั วชั พชื ควรก�ำ จดั ตง้ั แตต่ น้ ฤดแู ลง้ และใชเ้ ศษวสั ดทุ แี่ หง้ แลว้ มาคลมุ โคนตน้ ไม้ ผล แตใ่ นระยะท่ขี าดแคลนนำ้�มากๆ ไมค่ วรทำ�การกำ�จัดวชั พชื หรอื ไถพรวนดิน เพราะจะท�ำ ให้ ผิวดนิ แห้งเรว็ มากขึน้ อกี แหลง่ นำ�้ ตอ้ งเพียงพอ การจดั หาแหล่งนำ้� ปรบั ปรงุ บอ่ น�้ำ ใหอ้ ยใู่ นสภาพทใี่ ชง้ านได้ และสบู น�ำ้ จากแหลง่ น�ำ้ ใกลเ้ คยี งมาเกบ็ กกั ไว้ สวนผลไม้ท่ีอยู่ใกล้ทะเล จำ�เป็นต้องกักน้ำ�จืดไว้ เพื่อป้องกันน้ำ�เค็มท่ีจะเข้ามา ในสวน หากมีผกั ตบชวา จอก แหน หรอื สาหรา่ ยอยู่ในท้องรอ่ งสวนเปน็ จำ�นวนมาก ควรน�ำ ข้นึ มาคลมุ บริเวณโคนต้นไม้ผลเพื่อรักษาความช้ืนได้ ไมค่ วรใสป่ ยุ๋ ในชว่ งแลง้ หากน�ำ้ ไมเ่ พยี งพอ เพราะจะเปน็ การไปกระตนุ้ การเจรญิ เตบิ โต ให้แตกใบออ่ นในชว่ งแลง้ นำ้�น้อย จะทำ�ใหพ้ ชื มนี ำ้�ไม่พอใชม้ ากขนึ้ การท�ำ แนวกนั ไฟรอบสวน เพอ่ื ปอ้ งกนั ไฟไหมส้ วน เนอื่ งจากฤดแู ลง้ อากาศรอ้ นจดั และ มีใบไมแ้ ห้งมาก มโี อกาสเปน็ เชอื้ เพลิงอยา่ งดี ขอขอบคณุ กลุ่มอารักขาพืช สำ�นักงานเกษตรจงั หวดั ชุมพร 48 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “การเพาะปลกู พืชผัก”
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: