ปรศิ นาถอดทรหา่ ัสอครเี ุเททเชียนส Decoding The Tha Uthen Cretaceous Enigma
รอยประทบั ลำ้�คา่ “ซากดึกดำ�บรรพ์เป็นทรัพย์ของแผ่นดินที่ใช้เวลาในการรังสรรค์นานนับล้านๆ ปี” ประเทศไทย มีประวัติการค้นพบซากดึกดำ�บรรพ์ของพืชและสัตว์มานานนับศตวรรษแล้ว ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ผู้คนทุก เพศทุกวัยให้ความสนใจและเป็นที่กล่าวขานกันมากที่สุดคือ ซากดึกดำ�บรรพ์ไดโนเสาร์ทั้งที่มีลักษณะเป็น โครงกระดูก เศษกระดูก ไข่ มูล และรอยตีน ซากดึกดำ�บรรพ์กระดูกไดโนเสาร์ของไทยถูกพบครั้งแรกใน ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ทจี่ งั หวัดขอนแกน่ จากน้ันมาก็มีการคน้ พบอย่างต่อเนือ่ งมาโดยลำ�ดบั โดยเฉพาะในภาคอีสาน ด้วยตระหนักว่า“ซากดึกดำ�บรรพ์เป็นทรัพย์ของแผ่นดินท่ีใช้เวลาในการรังสรรค์นานนับล้านๆ ปี” กรมทรัพยากรธรณีจึงได้ทำ�การศึกษาวิจัย ซากดึกดำ�บรรพ์ทั้งหมดที่ค้นพบอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้เพื่อ ประโยชน์ในการอ้างอิงทางด้านธรณีวิทยาของชาติ และของโลก มีซากดึกดำ�บรรพ์พืชและสัตว์หลากหลาย สายพันธ์ุที่ถูกค้นพบในเมืองไทยเป็นแห่งแรกของโลก จึงได้มีการต้ังช่ือที่บ่งบอกถึงผู้ที่เก่ียวข้อง ถิ่นกำ�เนิด หรือสถานทีค่ น้ พบ พรอ้ มกันน้ีกรมทรัพยากรธรณียงั ได้เสนอให้มีกฎหมายด้านซากดกึ ด�ำ บรรพ์ เพ่ือประโยชน์ ในการพัฒนา และให้ความคุ้มครองดูแลทรัพย์ของแผ่นดินมิให้ถูกทำ�ลายด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือ ด้วยความเห็นแกไ่ ด้ จนกระท่งั ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองซากดึกด�ำ บรรพ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ และจากผลการศึกษาวจิ ยั ประกอบกับ พ.ร.บ. ดังกล่าว กรมทรัพยากรธรณีจึงได้ประกาศ ใหแ้ หล่งรอยตีน ไดโนเสาร์ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เป็นแหล่งซากดึกดำ�บรรพ์ที่ขึ้นทะเบียน เป็นแห่งแรกของประเทศไทย ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ หากวันน้ัน “ซากดึกดำ�บรรพ์ท่ีเป็นทรัพย์ของแผ่นดิน” ไม่ได้รับความคุ้มครอง และหากวันนี้ “ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ใช้เวลาในการรังสรรค์นานนับล้านๆ ปี” ไม่ได้รับความเอาใจใส่จากคนไทยทุกคนที่เป็น เจ้าของ ต่อไปวนั ขา้ งหน้าลูกหลานไทยคงเหลือแต่ภาพถา่ ย รายงานการส�ำ รวจวิจัย และหนังสอื “ถอดรหัส ครีเทเชียส: ปริศนา ท่าอุเทน Decoding the Tha Uthen Cretaceous Enigma” ไว้ศึกษาในวิชา “ประวตั ิศาสตร์ซากดกึ ดำ�บรรพ์ของไทย” ทำ�ไม แหล่งรอยตนี ไดโนเสารท์ า่ อเุ ทน จงั หวัดนครพนม ถึงได้รบั ความคมุ้ ครองเปน็ พิเศษ บันทึก รอยตนี รอ้ ยลา้ นปนี ม้ี คี วามส�ำ คญั อยา่ งไร บนั ทกึ เหลา่ นซ้ี อ่ นขอ้ มลู อะไรจากอดตี เอาไวบ้ า้ ง “ถอดรหสั ครเี ทเชยี ส: ปริศนาท่าอุเทน” จะไขปริศนาเหล่านั้น และนำ�ท่านย้อนกลับไปยังท่าอุเทน ในช่วงเวลา บรรยากาศ และ สภาพแวดล้อมทเ่ี จ้าของรอยตีนเหลา่ นย้ี งั มชี วี ิตอยู่ (นายทศพร นุชอนงค์) อธิบดีกรมทรัพยากรธรณ ี ๒ ถอดรหัสครีเทเชียส
รอ่ งรอยบนั ทกึ ลับ ก่อนฤดูน้ำ�หลากทุกปีชาวนครพนมที่อาศัย อยู่ริมฝ่ังแม่น้ำ�โขงต้องช่วยกันบรรทุกก้อนหินมาทิ้ง เขอ่ื นหนิ ทรายปอ้ งกนั การกดั เซาะของแมน่ �ำ โ้ ขงในชว่ งหนา้ น�ำ้ ที่ริมตล่ิงเพ่ือเป็นแนวรับแรงกัดเซาะของนำ้�โขงที่มี กำ�ลังมหาศาล หินที่นำ�มาทิ้งเป็นหินทรายก้อนใหญ่ ขนาดต้เู ย็นใบโตๆ ซ่งึ ระเบิดมาจากแหล่งหินทรายของ บรษิ ทั สหรงุ่ เรอื ง จ�ำ กดั ทต่ี �ำ บลพนอม อ�ำ เภอทา่ อเุ ทน ระหว่างจัดการขนย้ายก้อนหินทรายขนาด ใหญ่ท่ีระเบิดออกมาแล้ว คนงานเหมืองหินก็ได้แต่ ฉงนกับรอยนูน และรอยพิมพ์รูปสามแฉก เหมือน รอยตีนไก่บนหน้าช้ันหินทรายละเอียดสีน้ำ�ตาลแดงที่ พบเหน็ อยเู่ ปน็ ประจ�ำ บางกอ้ นมีลวดลายเป็นแนวสนั นูนต่ำ�ๆ คล้ายคลื่น บางก้อนก็มีลายเป็นช่องหลายๆ เหลย่ี ม ดแู ปลกตา แต่ก็จนด้วยเกล้า ไม่รู้จะไปถามใคร ได้แต่ วิจารณก์ นั ไปในหมู่ผทู้ ี่เคยพบเหน็ รอ่ งรอยดกึ ดำ�บรรพท์ ป่ี ระทบั บนรอยรว้ิ คลื่นบนชนั้ หนิ ทราย แหล่งหินทรายท่ีพบร่องรอยลกึ ลับ ที่ตอ้ งทำ�การวนิ ิจฉัย การคดั ลอกรอยบันทึกดึกดำ�บรรพล์ งบนแผ่นพลาสติก เพือ่ การศึกษาวจิ ยั ในห้องปฏบิ ตั กิ าร จนกระทั่งกลางปี ๒๕๔๔ คุณนเรศ สัตยารักษ์ นักธรณีวิทยาจากกรมทรัพยากรธรณีได้ไปทำ�การ ส�ำ รวจในพน้ื ทท่ี า่ อเุ ทน จงึ ไดท้ �ำ การตรวจสอบเบอ้ื งตน้ ทราบว่ารอยสามแฉกที่เห็นเป็นบันทึกรอยตีนสัตว์ ดึกดำ�บรรพ์ แต่ยังไม่สามารถระบุได้แน่นอนว่าเป็น รอยตีนของสัตว์ชนิดใด จึงแจ้งข้อมูลเบื้องต้นให้ คุณวราวุธ สุธีธร ผู้เชี่ยวชาญด้านซากดึกดำ�บรรพ์ ทราบเพ่ือทำ�การตรวจพิสจู น์ต่อไป ทันทีที่ทราบข้อมูลเบื้องต้นทีมผู้เชี่ยวชาญฯ จากกรมทรัพยากรธรณีได้เร่งเข้าตรวจสอบหลักฐาน ในพ้ืนท่ี พร้อมทำ�การสำ�รวจสภาพธรณีวิทยา เก็บ ตัวอย่างหิน ตรวจวัดและถ่ายภาพร่องรอยประทับ ทำ�แผนที่และสำ�เนารอยตีนลงบนแผ่นพลาสติก เพื่อนำ�กลับไปทำ�การศึกษาวิจัยอย่างละเอียดในห้อง ปฏิบัตกิ ารตอ่ ไป ปริศนาท่าอุเทน ๓
ถอดรหัสดกึ ดำ�บรรพ์ รอ่ งรอยท่ถี กู ประทบั อยู่บนชน้ั หินทรายเป็นหลักฐานทน่ี �ำ ไปสู่การพสิ จู น์ ด้วยการถอดรหสั ลับท่ีซอ่ น อยู่ในรอยบันทึกดังกล่าว โดยคณะนักถอดรหัสที่นำ�โดย ดร. วราวุธ สุธีธร ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญฝรั่งเศส และตอ่ มาภายหลงั ไดม้ กี ารศกึ ษาเพม่ิ เตมิ โดยนกั โบราณชวี วทิ ยา และนกั ศกี ษาธรณวี ทิ ยาหลายทา่ น หลักฐานที่ใช้ในการถอดรหัสรอยบันทึกดึกดำ�บรรพ์ประกอบด้วย ลักษณะ ขนาดและทิศทางของ รอยทางเดิน ลักษณะและขนาดของรอยตีน และระยะห่างและมุมระหว่างรอยตีนแต่ละก้าว ข้อมูลทั้งหมด มคี วามสมั พนั ธก์ นั โดยตรง และสามารถน�ำ ไปสกู่ ารถอดรหสั ขนาดสดั สว่ นกายวภิ าค ทง้ั ความสงู และความกวา้ ง ของสะโพก รวมถงึ ความเรว็ ในการเดนิ ของเจา้ ของรอยตนี ไดค้ อ่ นขา้ งแมน่ ย�ำ โดยอาศยั การค�ำ นวณเปรยี บเทยี บ กบั สตั ว์ท่มี ีชีวิตอย่ใู นปัจจบุ นั และยังเผยถึงพฤตกิ รรมการด�ำ รงชวี ติ วา่ ชอบอยเู่ ดย่ี วๆ หรอื อยเู่ ปน็ ฝงู นอกจากนี้ยังอาศัยร่องรอยหลักฐานประกอบอื่นๆ เช่น สภาพแวดล้อมทางธรณีวิทยาบริเวณที่ รอยตนี ประทับอยู่ เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารถอดรหัสสภาพที่อยู่อาศัยและหากินของเจ้าของหลกั ฐาน จากผลการถอดรหัสระบไุ ดอ้ ยา่ งชัดเจนวา่ รอยบนั ทกึ ท้ังหมดเป็นของสัตวโ์ บราณอย่างนอ้ ย ๓ ชนิด ที่ประทับอยู่บนรอยริ้วคลื่น หรือรอยระแหงโคลน ซึ่งปิดทับอยู่บนชั้นหินทรายที่เกิดในช่วงปลายของยุค ครีเทเชยี สตอนต้น (Late Early Cretaceous) หรอื กว่าร้อยล้านปีกอ่ น ประกอบดว้ ย ๑. อิกัวโนดอน (Iguanodon) ไดโนเสาร์กนิ พืช ท่มี ีฟันเปน็ สนั นูนเรียงเปน็ แถวเดยี ว ๒. ไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ ออรน์ โิ ธมโิ มซอร์ (Ornithomimosaur) ไดโนเสาร์ขนาดเลก็ ท่กี นิ ทง้ั พืช และสตั ว์ และมจี ะงอยปากแตไ่ มม่ ีฟัน มกั อาศัยและหากนิ เป็นกลุ่ม ๓. จอมเขมอื บจระเข้ดึกดำ�บรรพ์ ขนาดเลก็ ท่ีมีลักษณะคล้ายกบั จระเข้ปจั จบุ นั ลกั ษณะรปู รา่ งรอยตนี ความยาว ความกวา้ ง จ�ำ นวนและความยาวของแตล่ ะนว้ิ รอยกรงเลบ็ ระยะและมมุ ระหวา่ งกา้ วซา้ ย-ขวา ฯลฯ เปน็ ขอ้ มลู หลกั ๆ ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารถอดรหสั ซง่ึ จะตอ้ งอาศยั หลกั ฐานแวดลอ้ มทางธรณวี ทิ ยาตา่ งๆ เชน่ ชนดิ หนิ และรอยประทบั อน่ื ๆ ๔ ถอดรหสั ครีเทเชียส
ภมู ิประเทศและ ภูมอิ ากาศดึกด�ำ บรรพ์ รอยตีนไดโนเสาร์ท่าอุเทนประทับอยู่บนชั้นหินตะกอนหมวดโคกกรวด ซึ่งประกอบด้วย หินทราย เนื้อละเอียดสีแดง หินทรายแป้ง และหินโคลนชั้นบางปิดทับบนหน้าหินทรายที่ปรากฏรอยระแหงโคลน รอยร้วิ คล่นื รอยตีนไดโนเสารบ์ างสว่ นซอ้ นทับอยู่บนรอยระแหงโคลน และรอยรวิ้ คลนื่ เหลา่ นนั้ หลกั ฐานทง้ั หมดน�ำ ไปสกู่ ารถอดรหสั สง่ิ แวดลอ้ มยคุ ครเี ทเชยี สไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ บรเิ วณที่พบรอยตีนเป็นชายตลง่ิ แม่น้�ำ โค้งตวดั ทไี่ หลไม่แรงมากในช่วงปลายฤดนู ้ำ�หลาก จากนั้นน้�ำ ในแม่น�้ำ ก็ลดระดบั ลงเรอ่ื ยๆ บางบรเิ วณท่ีตืน้ กลายสภาพเปน็ แอง่ น�้ำ นิง่ มีโคลนเลนเฉอะแฉะ บางบรเิ วณน้ำ� ไหลเอ่อื ยๆ ปรากฏรอยรว่ิ คลน่ื บนตะกอนละเอยี ดบนทอ้ งน�ำ้ ท่ีถอดรหัสได้อยา่ งชดั เจนวา่ แมน่ ้ำ�สายนไี้ หลไป ทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนอื เมื่อเข้าสู่ฤดูแล้งรอยตีนที่เปียกชื้นเหล่าน้ันจะค่อยๆ แห้งลง บริเวณแอ่งโคลนก็แห้งผากจนผิวหน้า แตกเปน็ รปู หลายเหลย่ี ม บางแหง่ พบรอยตนี ไดโนเสารย์ �ำ่ ทบั ลงไปบนระแหงโคลนเหลา่ นน้ั รวมถงึ รอยรว้ิ คลน่ื เล็กๆ มากมายทบี่ างส่วนมีรอยประทบั ซอ้ นของเจ้าไดโนเสารน์ กกระจอกเทศก็พากนั แหง้ แขง็ คงรปู เมอ่ื สน้ิ สดุ หนา้ แลง้ ทแ่ี หง้ ผาก ฤดกู าลเปลย่ี นผา่ นสหู่ นา้ น�ำ้ ทฉ่ี �ำ่ ชมุ่ ฝนเรม่ิ ตกรนิ หลง่ั ลงสพู่ น้ื ดนิ ทแ่ี ตก ระแหงใหไ้ ดฉ้ �ำ่ น�ำ้ สว่ นทเ่ี กนิ กพ็ ากนั ไหลลงสทู่ ล่ี มุ่ พรอ้ มกบั ตะกอนดนิ ทราย เขา้ แทรกในรอ่ งรอยหลกั ฐานท่ี เหลา่ สตั วด์ กึ ด�ำ บรรพไ์ ดป้ ระทบั ไวแ้ ละฤดแู ลง้ ทผ่ี า่ นไปไดป้ กปอ้ งใหค้ งรปู ในชว่ งแรก ตะกอนทพ่ี ดั พามาทบั ถม ในชว่ งหลงั จะท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ เกราะแกรง่ ปกปอ้ งรอยประทบั ทง้ั หมดไปอกี นานแสนนาน เม็ดทรายถูกพดั พามาตกทบั ถม และแขง็ ตวั ในรอยระแหงโคลน รอยรว้ิ คลื่นยืนยันว่าเจา้ ของรอยตนี เหลา่ น้ีย่ำ�ไปบริเวณริมน้ำ� เงื่อนไขสำ�คญั ทีจ่ ำ�เป็นสำ�หรบั การรกั ษารอยประทับของสงิ่ มชี ีวิตดึกดำ�บรรพบ์ นหนิ ทราย รอ่ งรอยทเ่ี กดิ จากสง่ิ มชี วี ติ เชน่ รอยตนี รหู นอน หรอื จากสง่ิ ไมม่ ชี วี ติ เชน่ รอยน�ำ้ ฝน รอยระแหงโคลน และรอยรว้ิ คลน่ื จะถกู เกบ็ รกั ษาไวโ้ ดยธรรมชาตใิ นสภาวะทต่ี า่ งจากการรกั ษาซากดกึ ด�ำ บรรพ์ เชน่ โครงกระดกู หรอื เปลอื กหอย ด้วยเง่อื นไขต่างๆ ดังน้ี ๑. รอ่ งรอยถกู ประทับบนตะกอนท่ีเปียกช้ีน และไมถ่ กู ทำ�ลายโดยธรรมชาตหิ รือสตั ว์ ๒. สภาวะอากาศแห้งในเวลาตอ่ มา ท�ำ ใหร้ อ่ งรอยประทบั แข็งตัว คงรปู ๓. ในภายหลงั มกี ารสะสมของตะกอนอยา่ งชา้ ๆ ปดิ ทบั รอ่ งรอยทแ่ี ขง็ ตวั แลว้ โดยไมท่ �ำ ลายรอ่ งรอยเดมิ ๔. มกี ารปิดทบั ดว้ ยช้ันตะกอน ตอ่ เนือ่ งอีกมากมาย ๕. ตะกอนทัง้ หมดแขง็ ตัวเป็นหินชน้ั ตามกาลเวลา ด้วยแรงกดทบั มหาศาล หากขาดเงอ่ื นไขขอ้ หนง่ึ ขอ้ ใด การเกบ็ รกั ษารอ่ งรอยประทบั ดกึ ด�ำ บรรพด์ ว้ ยกระบวนการทางธรณวี ทิ ยา กจ็ ะไมส่ ามารถเกดิ ขน้ึ ไดส้ �ำ เรจ็ หรอื หากส�ำ เรจ็ กจ็ ะดไู มอ่ อกวา่ เปน็ รอยตนี ไดโนเสาร์ ปริศนาท่าอเุ ทน ๕
ยอ้ นรอยบนั ทกึ ครเี ทเชียส ย้อนกลับไปเม่ือกว่าร้อยล้านปีก่อน ท่ีอำ�เภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม หลังฤดูน้ำ�หลากผ่านพ้น หรือที่ปัจจุบันเรียกกันว่า “หลังฝน-ต้นหนาว” ท่ามกลางบรรยากาศสดช่ืนเย็นสบายไร้ มลพิษ ท้องฟ้า สดใส เหลา่ พืชพรรณเขียวขจ ี เชือ้ เชญิ ใ ห้ บ ร ร ด า ส ร ร พ สั ต ว์ น้ อ ย ใ ห ญ่ ทั้ ง ห ล า ย อ อ ก ม า เริงร่า สนุกสนานกับการหา อาหาร รวมไปถึงการจบั คูข่ ยาย เผ่าพันธุ์ บริเวณรมิ ตลิง่ ทางนำ�้ ท่ีไหลเอื่อยๆ มองเห็นรอยริ้ว คลืน่ พรว้ิ ไหวอยใู่ ตส้ ายน�ำ้ ตน้ื ๆ บาง ชว่ ง ต้นื เขินจนเป็นแอง่ โคลน เฉอะแฉะ ธรรมชาติได้ จัดเตรียมพืชพรรณท่ีอุดมสมบูรณ์ ไว้อย่างพร้อมเพรียงสำ�หรับ สัตว์กินพืชน้อยใหญ่ท้ังอิกัวโนดอน (Iguanodon)และเจ้าคอยาว ซอโรพอด (Sauropod) หรือสัตว์ ที่กินทั้งพืชและเนื้อเช่น เจ้า ไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ ออร์นิโธมิ โมซอร์ ( Ornithomimosaur) เจา้ คอยาวเปน็ ไดโนเสาร์กนิ พืช มหี างท่ยี าวเพอ่ื รกั ษาสมดลุ กับคอที่ยาวมาก และใช้ปอ้ งกันตวั เองได้ โตเต็มทยี่ าวได้ถงึ ๒๐ เมตร บนหนา้ พน้ื ทรายปนดินเหนียวที่เปยี ก ชื้นเหมาะส�ำ หรับการประทบั รอยตีน สตั ว์ตา่ งๆ เพราะจะขน้ึ รูปตามต้นแบบ ไดด้ ีกว่าพื้นทรายสะอาด จระเข ้ เป็นสัตว์เล้ือยคลานกินเนื้อทีม่ ีววิ ฒั นาการมาพร้อมกับ ไดโนเสาร ์ แตเ่ นื่องจากสามารถหลบภัยไดด้ กี วา่ เชน่ ฝงั ตัว ในโคลน หรือถำ้� และสามารถเขา้ สสู่ ภาวะจ�ำ ศลี อดอาหารได้ นาน จงึ ด�ำ รงเผา่ พันธ์อุ ยู่ไดถ้ ึงทกุ วนั นี้ ๖ ถอดรหัสครีเทเชียส
“ช่วงหลังฝนต่อต้นหนาว” ซึ่งสัตว์กินพืช และสัตว์กินเน้ือขนาดเล็กก็กลับกลายเป็นอาหารสำ�หรับสัตว์ กินเน้ือ เช่นจระเข้ โดยท่ีท้ังหมดต่างร่วมเป็นส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อาหารตาม ธรรมชาติ สภาพของตะกอนทรายปนดินเหนียวบริเวณริมตล่ิง และ สันทรายกลางทางน้ำ�มีความช้ืนพอเหมาะสำ�หรับการเกิดรอย ประทบั เมื่อเหล่าฝูงสัตว์ดกึ ดำ�บรรพพ์ ากันวนเวียนเริงร่าหาอาหาร และร่วมสมรกั กัน บางรอยวนเวียนวกกลับ บางรอยล่นื ไถล บางรอยก็ถูกเหยียบยำ่�ทำ�ลายไป บางรอยทับซ้อนไปบนรอยเดิมที่ เหยยี บไปเม่อื วนั ก่อน และบางสว่ นถูกกระแสน้ำ�ทีไ่ หลเอ่อื ยๆ พดั ท�ำ ลายหายไป เหลือไว้เพียงรอยประทับท่ีรอดจากการถูกทำ�ลาย สำ�หรับ ให้กระบวนการทางธรณีวิทยา และกาลเวลา ทำ�หน้าท่ีปกป้องและ รักษาไว้ เพ่อื รอวนั ถอดรหัสในช่วงอารยธรรมของมนุษย์ ไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ ออร์นโิ ธมิโมซอร์ กิน ท้ังพืชและสตั ว์ มีจะงอยปากแตไ่ มม่ ฟี นั มรี ปู รา่ งปราดเปรียว วิง่ ได้เรว็ ถงึ ๗๐ กม./ชม. อกิ ัวโนดอน เปน็ ไดโนเสาร์ ท่ีมีฟนั เป็นสันนนู เรียงเป็นแถวเดียวใชเ้ ค้ียวกนิ พืชเป็นอาหาร และมหี ัวแมม่ ือเป็นเดอิ ยแหลม ใชป้ อ้ งกนั ตัว ปริศนาทา่ อเุ ทน ๗
เมือ่ ฤดูฝนผา่ นพน้ ไป ความช้นื ในบรรยากาศ และบนพื้นดินกล็ ดลงอย่างตอ่ เนื่อง และค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ฤดูแล้งที่แห้งผาก ไม้ผลัดใบต่างก็พร้อมใจกัน สลัดใบร่วงลงสู่พ้ืนดิน ป่าที่เคยแน่นหนาทึบก็ดูโปร่งตาข้ึน ปุยเมฆที่เคย ประดับฟ้าก็พากันระเหยเหือดหายไปหมดส้ิน ในลุ่มนำ้�ท่ีเคยชุ่มฟ้าฉ่ำ�ดิน เมอ่ื ไมก่ ีเ่ ดือนกอ่ นกลบั กลายเปน็ ทุง่ โลง่ ระยับแดดระยบิ ตา ระดับนำ้�ในแม่น้ำ�ลดลงอย่างมาก แม่นำ้�ช่วงท่ีตื้นเปลี่ยน สภาพเป็นแอ่งโคลนไปก่อนหน้านี้แล้ว บางช่วงยังคงมีน้ำ�ไหลเอื่อยๆ จนมองเห็นรอยริว้ คล่ืนบนตะกอนทรายละเอยี ดก้นแม่น้�ำ ฝูงสัตว์น้อยใหญ่ที่เคยเริงร่าทั่วท้องทุ่งก็พากันหายหน้า ต่างหาที่ รม่ หลบรอ้ นกำ�บงั แดด ท่ามกลางบรรยากาศท่ีแห้งแล้ง ไร้ชวี ติ ชีวา แตม่ ีสง่ิ หน่ึงท่ยี ังคงด�ำ เนินไปอย่างต่อเนือ่ งไม่เคยมีวนั หยดุ สิ่งนั้น คือ “กระบวนการทางธรณีวิทยา“ ที่ปรับเปลี่ยนกระบวนการไป พร้อมกับ สิ่งแวดลอ้ ม และฤดกู าล ตวั อยา่ งหินทรายชน้ั บนที่ปิดทบั รอยระแหงโคลน เมอื่ รอยตีนของสตั วต์ ่างๆ ที่ยำ่�ไปบนผืนทรายปนดินเหนยี ว พลกิ หงายขึน้ จึงเหน็ เป็นรอยสนั นูนตามร่องโคลนแตก ท�ำ ให้คงรูปรอยประทับไดด้ ี ซง่ึ นอกจากรูปร่าง และขนาด นอกจากนย้ี ังปรากฏรอยตีนอิกัวโนดอนที่เหยียบลง ของรอยตนี แล้ว การศกึ ษาระยะการก้าวของขาซา้ ยและขาขวา กลางรอยระแหงโคลนในชว่ งที่ยงั ไมแ่ ห้งสนิท (pace) มุมระหวา่ งกา้ วซา้ ยและขวา (pace angle) รวมถึงระยะ การก้าวของขาข้างเดยี วกัน (stride) ทำ�ใหส้ ามารถถอดรหัสท่าทาง และความเรว็ ในการเคล่ือนทเี่ จา้ ของรอยตนี ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี stride รอยแตก pace ang le pace pace ยามแลง้ แอ่งโคลนริมลำ�นำ้�ท่เี คยชมุ่ ฉ�ำ่ กแ็ หง้ ผากแตกระแหง เป็นรูป หลายเหลยี่ ม (มักมีห้าเหลีย่ ม) เนือ่ งมาจากการหดตัวทกุ ทศิ ทางของ ผิวหน้าโคลน ในขณะทีเ่ นอ้ื โคลนด้านล่างยังมีขนาดเทา่ เดิม ๘ ถอดรหสั ครีเทเชียส
“เข้าหนา้ แล้งกแ็ ห้งผาก” จากทีเ่ คยทำ�หนา้ ท่กี ดั เซาะทำ�ลายด้วยน�ำ้ ในฤดูฝน กผ็ ลิกกลบั มาทำ�หนา้ ที่ รักษาสภาพรอยประทับตา่ งๆ ในทอ้ งทุง่ โดยการระเหยนำ�้ ออกจากผืนตะกอน ทราย และตะกอนดินเหนยี ว ทำ�ใหร้ อ่ งรอยตา่ งๆ แขง็ ตวั คงรูป ในแอ่งโคลนท่ีมรี อยตนี ของสตั วด์ กึ ด�ำ บรรพ์ย่ำ�ผา่ น เมื่อเขา้ ส่ชู ่วง แล้งจดั ผิวหนา้ โคลนทง้ั แอ่งตา่ งพากันแตกระแหงเปน็ รปู หลายเหลยี่ ม ระแหงโคลนบางบรเิ วณถกู ย�่ำ ประทับซ้อนในชว่ ง ท่ยี งั ไมแ่ หง้ สนทิ ในร่องนำ�้ ท่แี หง้ เหือด ทิง้ รอยร้ิวคลื่นให้เห็น อยทู่ ัว่ ไปก็ ยังปรากฏรอยตนี สตั ว์ทลี่ งมาหาน�ำ้ กินดบั กระหาย รอ่ ง รอยซอ้ น ทบั ของรอยตนี บนรอยริ้วคลื่นจงึ ถูกธรรมชาติเก็บรกั ษา ไวก้ บั ช้ัน ตะกอน และกาลเวลา ตวั อย่างหนิ ทรายท่ีปดิ ทบั ด้านบนพรอ้ มรอย กระแสน้ำ�ท่ีไหลเอือ่ ยๆ จะพดั พาตะกอนดนิ และทราย พิมพ์ซากดึกด�ำ บรรพ์รอยตีนสามรอย ทเี่ กดิ ละเอยี ด ไปตามทอ้ งน�ำ้ ท�ำ ใหเ้ กดิ รอยร้วิ คลืน่ ดา้ นทีช่ นั จากการย่�ำ ผา่ นของเจ้าไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ กวา่ เปน็ ดา้ นปลายน�้ำ (ทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือ) ในช่วงหลังจากทีน่ ำ้�ลดลงมากจนเกิดรอยริ้ว คลน่ื ขนาดเลก็ ๆ ตามร่องน้ำ�ท่เี หลืออยู่ กอ่ น ปริศนาท่าอเุ ทน ๙ เขา้ ส่ชู ่วงแลง้ จัด
เมื่อฤดูกาลผันผ่านตามการโคจรของโลกรอบดวง อาทิตย์ หน้าแล้งที่ระอุร้อนผ่อนคลายลงพร้อมกับฝนท่ีเร่ิมโปรย ตกลงมาเพ่ือรักษาความสมดุลในวัฏจักรของนำ้� กระบวนการทาง ธรณีวิทยากต็ ้องปรับเปลี่ยนไปตามฤดกู าล และสิง่ แวดลอ้ ม น้ำ�ฝนท่ีตกลงมาเร่ิมพัดพาตะกอนหลากหลายขนาดลงสู่ที่ตำ่� ตามกำ�ลังของนำ้� น้ำ�ที่ไหลรินไม่รุนแรงจะพาไปได้เฉพาะตะกอน ละเอยี ดเบาๆ สว่ นนำ�้ ปริมาณมากทไี่ หลรวดเรว็ และรนุ แรงจะกัดเซาะ ทำ�ลายชั้นดินชั้นหินท่ีน้ำ�ไหลผ่าน และพาตะกอนทรายที่มีขนาด ใหญ่ข้ึน อาจรวมถึงเศษหิน และเม็ดกรวดไปตามทางนำ้� เพ่ือไป สะสมตัวในแอ่งทตี่ ่�ำ กว่า ระหว่างการพัดพาจะเกิดการขัดสีกันระหว่างเม็ดตะกอนทำ�ให้ ตะกอนมีความมน ความกลมมากขนึ้ และมีขนาดเล็กลง ตามระยะทางจนกวา่ จะถึงจุดหมาย รอ่ งลึกในรอยระแหงโคลน รวมถึงรอยตีนทย่ี �่ำ ช่วงต้อนรับนำ้�ใหม่ ฝูงสตั ว์นานาชนิดตา่ งเรงิ รา่ ประทบั ซ้�ำ ต่างแข็งตวั คงรปู รอรับการปดิ ทบั ดว้ ย กันตลอดลำ�น�ำ้ และเป็นช่วงเวลาเดยี วกับทีบ่ าง ตะกอนทม่ี ากับน้ำ�ใหม ่ เพื่อเริม่ ต้นกระบวนการ ส่วนของรอยประทบั ต่างๆ ทีแ่ ข็งตวั คงรปู ใน เกบ็ รกั ษารอ่ งรอยซากดกึ ด�ำ บรรพ์ หนา้ แลง้ ทีผ่ า่ นไปจะถกู ท�ำ ลายลง ๑๐ ถอดรหัสครีเทเชียส
“ถึงหนา้ น้ำ�กฉ็ ำ่ �ชุ่ม” ช่วงเวลานี้ซากใบไม้ ก่ิงไม้ ที่ร่วงหล่น รวมถึงซาก สัตว์ที่ล้มตายเม่ือหน้าแล้งที่เพ่ิงผ่านพ้นไป จะถูกนำ้�พัด พาทำ�ลาย ในขณะเดียวกันบางส่วนอาจถูกปิดทับด้วย ตะกอนที่มากับนำ้�ใหม่ หากตะกอนมี ความหนาเพียงพอท่ีจะป้องกัน การผุพังสลายตัวแล้ว ซาก ส่ ว น ที่ เ ห ลื อ ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ดึ ก ดำ � บ ร ร พ์ เ ห ล่ า น้ั น เ ช่ น โครงร่างใบไม้ กระดูกและ ฟันสัตว์ก็จะถูกรักษาไว้ในช้ัน ตะกอนดินและทรายตราบนานเทา่ นาน ตะกอนดินและทรายละเอียดทม่ี ากับน้ำ�ในชว่ ง รอยริ้วคลนื่ ทแ่ี ขง็ ตวั คงรปู ตง้ั แต่หนา้ แล้งที่ ฝนแรกๆ ทยี่ งั ไมห่ นักมาก จะถูกเติมลงในรอย ผ่านมาส่วนหนึง่ จะถกู ตะกอนใหมป่ ิดทับ คงมี ประทบั ทแี่ ข็งตัวคงรูปแล้ว และกระบวนการเกบ็ บางสว่ นในร่องกลางนำ้�ทมี่ ักถูกกระแสน้�ำ ใหม่ รักษาซากดึกด�ำ บรรพก์ ็เร่มิ ขน้ึ กลางร่องนำ�้ ลกึ กดั เซาะทำ�ลายไป ปริศนาทา่ อุเทน ๑๑
เมด็ สดุ ท้าย...ที่ปลาย K แอง่ บรรพกาลโคราชรองรบั มวลตะกอน กระบวนการทางธรณีวิทยามที ัง้ การสรา้ งและทำ�ลาย ในพ้นื ท่ีสูงหินจะถกู กัดเซาะท�ำ ลาย และสลายตัวดว้ ย ปจั จัยทางกายภาพและเคมใี นธรรมชาติ ในขณะเดียวกันในพนื้ ทลี่ ่มุ และในแอ่งต่างๆ รวมถงึ ทะเล และมหาสมทุ ร จะเปน็ ทที่ ับถมของตะกอนทถี่ ูกพัดพามาจากทส่ี ูง กระบวนการเหล่านด้ี ำ�เนินไปไมเ่ คยหยุด หากแต่ปรับเปลย่ี น กระบวนการไปตามสภาพแวดลอ้ มและฤดูกาล หลงั จากส้นิ หน้านำ�้ ในปนี น้ั รอยตีนท่แี ขง็ ตวั คงรปู ทเ่ี หลอื รอดจากการถูกทำ�ลาย รวมถึงรอยรว้ิ คลน่ื และระแหงโคลนได้ถูกตะกอนทรายปิดทบั รกั ษาไวใ้ ต้ท้องน้ำ�เป็นอย่างดี แล้วเมื่อเข้าสู่ฤดูหนาวอีกครา วงจรชีวิตของพืชและสัตว์ ตลอดถึงกระบวนการทาง ธรณีวิทยาก็เร่ิมรอบใหม่ วนเวียนซำ้�ซ้อนกันเร่ือยไป นานปีเข้าทางนำ้�ที่จุด เดมิ กต็ ้ืนเขนิ ดว้ ยตะกอนปรมิ าณมหาศาลทท่ี ยอยปิดทับทุกๆ ปี ทางน�ำ้ เอง กว็ ิวฒั นาการขยับยา้ ยกัดเซาะพื้นดนิ ด้านขา้ ง เปลยี่ นตำ�แหนง่ ทางน้�ำ ไป ตามอำ�นาจการกัดเซาะของมวลนำ�้ ทม่ี าทุกๆ ปี เหตุกาณ์ต่างๆ ดำ�เนินไปอย่างต่อเนื่องจนกระท่ังย่างเข้าสู่ กลางยุคครีเทเชียส สภาพแวดล้อมของแอ่งบรรพกาลโคราช เปล่ียนแปลงไปอย่างรุนแรง มีการท่วมเข้ามาของน้ำ�ทะเลหลาย ครั้งภายใต้สภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้ง ทำ�ให้น้ำ�ทะเลระเหยท้ิง เกลือหินไว้หลายชั้นรวมความหนาหลายร้อยเมตร และสุดท้ายน้ำ� ทะเลก็ไม่หวนกลับเข้ามาอกี ท้ิงสภาพแผ่นดนิ แหง้ แลง้ เวิ้งวา้ งห่มคลมุ ดว้ ยฝ่นุ ดินสแี ดง ทถี่ ูกพายุลมร้อนหอบพดั ไปทั่วแอ่ง เมื่อหมดแรงลม ฝุ่นผงดินสีแดงก็ทิ้งตัวลงปิดทับท่ัวผืนแผ่นดิน เป็นการปิดฉากการสะสม ตะกอนในแอง่ บรรพกาลโคราชท่ดี �ำ เนินมาเกือบตลอดมหายคุ มีโซโซอคิ เม็ดสดุ ทา้ ย...ที่ปลาย K การทับถมของตะกอนทรายท่ีอำ�เภอท่าอุเทนพร้อมกับรอยตีนของสัตว์ ดึกดำ�บรรพ์เมอ่ื รอ้ ยล้านปีกอ่ นซึ่งเป็นตอนตน้ ของยคุ ครีเทเชียส เปน็ เพยี งเสย้ี วหนง่ึ ของ การเกดิ หนิ ตะกอนในแอง่ บรรพกาลโคราช ทเ่ี รม่ิ สะสมตัวต้ังแต่ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย เมอ่ื ประมาณ ๒๒๐ ลา้ นปกี อ่ น และมกี ารสะสมตวั สลับกับการหยุดสะสมตวั เป็นระยะ ผ่านยุคจูแรสซกิ การสะสมตะกอนเกิดต่อเนื่องอีกครั้งในยุคครีเทเชียส จนกระท่ังถึง ปลาย K (นกั ธรณที ว่ั โลก เรยี กยคุ ครเี ทเชยี สสน้ั ๆ วา่ K) เมอ่ื ประมาณ ๖๕ ล้านปี ทีผ่ ่านมา ซงึ่ เปน็ เวลาท่ตี ะกอนเม็ดสดุ ทา้ ยไดถ้ มรวมเปน็ หนง่ึ เดียวกบั มวลตะกอน มหาศาลในแอ่งบรรพกาลโคราชท่ีจมลึกลงหลายกิโลเมตร นับจากวันแรกท่ีเริ่ม การสะสมตะกอนเมอื่ กวา่ ร้อยห้าสบิ ลา้ นปีก่อนหน้า ดูเหมือนทุกสง่ิ จะสงบนิ่งลงแลว้ ......... ๑๒ ถอดรหสั ครีเทเชียส
เปิดตำ�นานบนั ทกึ ลับ ธรณีโยก ขยับยก พสธุ า รอยประทับ ปริศนา ท่าอเุ ทน ไกลออกไปทางตะวนั ตก ณ เวลานน้ั แผน่ ธรณี หกสบิ หา้ ลา้ นปสี �ำ หรบั การปรบั แตง่ ภมู ปิ ระเทศ อินเดียได้เคล่ือนท่ีข้ึนสู่ทิศเหนือมาบรรจบกับแผ่น จนเป็นที่ราบสูงโคราชในปัจจุบัน ซึ่งชั้นหินที่รองรับ ธรณียูเรเซียด้วยแรงขับมหาศาลจากใต้เปลือกโลก ส่วนใหญ่วางตัวในแนวราบ และเอียงเทเข้าหา แม้ว่าแผ่นธรณีทั้งสองจะเชื่อมประสานกันสนิท กลางแอ่งเล็กน้อย โดยมีเทือกเขาภูพานยกตัวขึ้น ดีแล้ว แต่แรงขับยังคงเคลอื่ นตอ่ ไป แผน่ ธรณีทง้ั สอง เปน็ สนั แบง่ ที่ราบสงู ออกเป็น ๒ แอง่ คอื แอง่ สกลนคร จึงถูกยกเยินข้ึนอย่างต่อเนื่องเป็นเทือกมหาหิมาลัย ทางเหนือ และแอง่ โคราชทางใต้ ตระหง่านโลกจวบจนกระท่งั ทกุ วันน้ี บนที่ราบสูงโคราชน้ีปรากฏหมวดหินพิเศษ ช่ือหมวดหนิ โคกกรวด (ใชส้ ญั ลักษณ์เปน็ สีเขียวอ่อน) ในขณะเดียวกันแรงดันมหาศาลนี้ได้ขยับยก กระจายตัวโดยรอบแอ่งโคราช แต่โผล่ให้เห็นเพียงเล็ก ตะกอนทั้งหมดท่ีใช้เวลาสะสมตัวมาร่วมร้อย น้อยในแอ่งสกลนคร โดยเฉพาะบรเิ วณต�ำ บลพนอม ห้าสิบล้านปีขึ้นสู่ผิวโลก สูงข้ึนไปกว่าพื้นที่ อำ�เภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ซ่ึงธรรมชาติเลือก ข้างเคียงมากมายจนกลายเป็นเป้าหมาย ที่จะให้ส่วนท่ีมีรอยตีนไดโนเสาร์มากมายโผล่ให้เห็น หลักสำ�หรับการโจมตีกัดเซาะทำ�ลายโดย อย่างชัดเจน เหมือนตั้งใจจะมอบบันทึกดึกดำ�บรรพ์ กระบวนการทางธรณวี ทิ ยา ช้นิ ส�ำ คญั เหล่าน้ีไว้........ ในแอง สกลนคร ซึ่งอยูทางตอนเหนือของแนวเทือกเขาภพู าน พบหินหมวดโคกกรวด ให้พวกเราเพียรถอดรหัสกนั ต่อไป โผลเ ฉพาะบริเวณขอบแองดานใต สวนทางดา นเหนือพบโผลผ ิวดินนอยมาก แอง สกลนคร ทางดานเหนือของแอง พบโผลผ ิวดิน บริเวณแหลง รอยตีนไดโนเสารท า อุเทน แนวเทือกเขาภูพาน หินหมวดโคกกรวด (ใชส ญั ลักษณเ ปน สีเขียวออ น) สวนใหญโผลก ระจายตวั เปนวงโดยรอบแองโคราช ซึ่งอยูทางดา นใตของแนวเทือกเขาภูพาน แองโคราช ปริศนาทา่ อุเทน ๑๓
พ.ศ. ๒๕๕๙ - พฒั นาแหลง คนไทยชวยกนั อนุรกั ษแ หลง รอยตีนไดโนเสาร ทาอเุ ทนจนเปน แหลง พ.ศ. ๒๕๕๔ - เรียนรู และอา งอิงทางธรณีวิทยาทีส่ ำคัญและมีชือ่ เสียงของไทย กวา่ จะมาเปน็ แหลง่ รอยตนี ไดโนเสาร์ พ.ศ. ๒๕๕๑ - แหลงซาก ฯ ประกาศขึน้ ทะเบียนแหลง ซากดึกดำบรรพร อยตีนไดโนเสาร ทา อเุ ทน พ.ศ. ๒๕๔๔ - ท า อ เุ ท น จ.นครพนม เปน แหง แรกของประเทศไทย ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๔ ทา่ อเุ ทน พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒.๕๘ ลานป -ควอเทอ รนารี พรบ. คมุ ครอง ประกาศใช พรบ. คุมครองซากดึกดำบรรพในเดือน มกราคม ๒๕๕๑ ซากดกึ ดำบรรพ การสะสมตัวของตะกอน ในแอ่งโคราชดำ�เนินไปค่อนข้าง พบรอยตนี ผลการศึกษาวิจัยพบวาเปนซากดึกดำบรรพ ตอ่ เน่อื ง เปน็ เวลากว่าร้อยหา้ สบิ รอยตีนสัตวอ ยางนอ ย ๓ ชนิด ล้านปี มเี ฉพาะบางชว่ งเวลาทพ่ี บ หลักฐานทางธรณีวิทยาว่ามีการ าทำเหมืองหิน มีการทำเหมืองหินทรายในหมวดโคกกรวด ทีท่ า อเุ ทน หยดุ ทบั ถมของตะกอน ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง แผน ดินอีสาน ภูมิประเทศคลายกับทีเ่ ห็นในปจจบุ ัน สภาวะแวดล้อม สง่ ผลถึงสภาพ เพียงแตยังไมถ กู ปรับแตงโดยมนุษย ภูมิอากาศ ที่โยงยึดโดยตรง กั บ รู ป แ บ บ ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ๒๓ ลานป - พาลีโอจีน นีโอจีน เปนชว งเวลาแหง การสลักเสลา เกลาแตง ภูมิประเทศ ทางธรณีวิทยาท่ีจะต้องดำ�เนิน ไป ความชืน้ ในอากาศ อณุ หภูมิ สลกั เสลา ดว ยกระบวนการกดั เซาะทางธรณีวิทยาที่อาศยั ปจ จัย ป ริ ม า ณ น้ำ � ฝ น เ ป็ น ตั ว ค ว บ คุ ม ปริมาณของตะกอนที่จะต้องถูก ดานกายภาพ เคมี และชีววิทยารวมกัน กัดเซาะหลุดกร่อนออกมาจาก ชนั้ หนิ และไหลลอยไปกับทางน�ำ้ ๖๖ ลา นป - ปลายยคุ ครีเทเชียส ไดโนเสารส ญู พันธุ แองโคราชถูกยกตัวขึน้ เปน ทีร่ าบสงู หรอื ลมหอบ ปัจจัยแวดล้อมท้ังหมด ภูทอก ชว งทายสดุ ของแอง โคราช มีภมู ิอากาศแหง แลง แบบทะเลทราย ทำ�ให้ตะกอนในแอ่งโคราชในแตล่ ะ เปน การปดทับดานบนสดุ ดวยตะกอนทรายละเอียดสีแดงเปน สวนใหญ ช่วงของกาลเวลามีชนิด ขนาด ๙๕ ลานป - และ ปรมิ าณทแ่ี ตกตา่ งกนั และ หลักฐานท้ังหมดปรากฏอยู่ใน มหา มีการทว มเขา มาของนำ้ ทะเลหลายรอบ และตางถกู ระเหยแหง ไป หินท้ัง ๙ หมวดในกลุ่มหินโคราช สารคาม เหลือไวเปน เกลือสินเธาวแ ละแรโ พแทช หลายชั้น ท่ีเรียงลำ�ดับจากล่างข้ึนบน จาก มีความหนาหลายรอยเมตร หว้ ยหนิ ลาด น�ำ้ พอง ภกู ระดงึ พระ วหิ าร เสาขวั ภพู าน โคกกรวด ๑๑๓ ลา นป - ทีท่ าอุเทน มีสตั วดึกดำบรรพอาศัยอยอู ยางมีความสขุ ในชวง มหาสารคาม และปดิ ทบั ดา้ นบน ๑๒๕ ลา นป - ครีเทเชียสตอนตน และไดฝ ากรอยประทบั เปน ที่ระลึกใหค นไทยถอดรหัส สดุ ดว้ ยหมวดหนิ ภทู อก ๑๓๐ ลานป - ครีเทเชียส (K) โคกกรวด พบซากดึกดำบรรพปลา เตา และไดโนเสารกินพืชมากมาย แหล่งรอยตีนไดโนเสาร์ ๑๔๕ ลา นป - ทา่ อเุ ทนเปน็ เพยี งสว่ นเสย้ี วหนง่ึ ใน ในหินหมวดนี้ทีบ่ ริเวณอื่นๆ ทั่วภาคอีสาน หนิ ทรายหมวดโคกกรวดเทา่ นน้ั ภูพาน โดดเดน ดว ยหินทรายปนหินกรวดมนช้นั หนา พบรอยตีนไดโนเสารในหมวดนี้ เสาขัว โดดเดน ดว ยซากดึกดำบรรพม ากมาย รวมถึงรอยตีนไดโนเสารดว ย พระวหิ าร โดดเดน ดว ยช้นั หินทรายเนื้อควอตซ พบรอยตีนไดโนเสารใ นหินหมวดนี้ดวย ไทรแอสซิกตอนปลาย จูแอสซิกตอนปลาย ภูกระดงึ มีการสะสมตวั ของตะกอนอยางตอเนื่องมากมายจากปลายยุค จแู รกซิกไปจนถึงตน ยคุ ครีเทเชียส หินหมวดนีค้ อ นขา งหนามาก เมื่อเทียบกับหมวดหินอืน่ ๆ ในกลมุ หินโคราช พบรอยตีนไดโนเสาร ในหินหมวดนี้ ๒๐๐ ลานป - นำพอง หมวดหินน้ำพองสะสมตัวต้ังแตปลายยคุ ไทรแอสซิกจนถึงปลายยคุ ๒๐๘ ลานป - จแู รสซิกทำใหมีความหนาเฉลีย่ รวมหนึ่งกิโลเมตร แตใ นบางชวง ๒๒๗ ลา นป - มีการหยุดสะสมตัวของตะกอน โดยเฉพาะในชวงตนของยคุ จูแรสซิก หว ยหนิ ลาด แองโคราชเริม่ สะสมตะกอนชัน้ ลา งสุด ๑๔ ถอดรหัสครีเทเชียส
คือบังเอิญ... หรอื ลงตัว? แหล่งรอยตีนไดโนเสาร์ท่าอุเทน ไม่ได้เกิดขึ้น ความบงั เอญิ ทล่ี งตัว โดยอาศัยเฉพาะเง่ือนไขสำ�คัญทั้ง ๕ ข้อ ที่เริ่มจาก การเกิดรอยประทับ รอยไม่ถูกทำ�ลาย รอยถกู ปดิ การประทับรอยย่ำ�ของสรรพสัตว์ในบรรพ ทับด้วยตะกอน ช้ันตะกอนถูกปิดทับเพ่ิมเติม และ ก า ล เ กิ ด ขึ้ น ม า ก ม า ย ท่ั ว โ ล ก แ ต่ ส่ ว น ใ ห ญ่ ข า ด ทง้ั หมดแขง็ ตัวเป็นหนิ เทา่ นน้ั หากแต่ต้องอาศัย กระบวนการเกบ็ รกั ษาตามธรรมชาตขิ อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ไป ความบงั เอิญ หรอื ความลงตัวอืน่ ๆ อกี มากมาย มีการพบแหล่งรอยตีนไดโนเสาร์หลายแห่งท่ัวโลก แต่พบน้อยกว่าแหล่งซากกระดูกไดโนเสาร์หลาย หากวันนั้น.... เท่าตัว ย้อนรอยบนั ทึกครเี ทเชียส แสดงเหตุการณ์ ถ้าหากวันนั้นเจ้าไดโนเสาร์ไม่ออกมา ความบังเอิญที่เกิดขึ้นมานานแสนนาน ตามด้วย เริงร่าบนผืนทรายปนดินเปียกชื้น หรือถ้าวันนั้น เหตุการณ์ท่ีเสริมประสานกันตามธรณีกาลกว่าร้อย เพื่อนๆ พากันเหยียบย่ำ�ทำ�ลายรอยประทับ ลา้ นปี แลว้ มาลงตวั อย่ทู ท่ี ่าอเุ ทน คงไม่มคี �ำ กลา่ วใด ถ้าวันนั้นอากาศไม่แห้งจนรอยประทับ แข็งตัวคงรูป พอถึงหน้าน้ำ�ที่ฉ่ำ�ชุ่มหากจระเข้ เหมาะสมกว่าค�ำ วา่ “มหศั จรรย์ทา่ อุเทน์“ และเจ้าไดโนเสาร์หางยาวพากันละเลงรอย ประทับทั้งหมด หรือถ้าวันนั้นไม่มีการทับถม แหล่งรอยตนี ไดโนเสารท์ า่ อุเทน เปน็ แหลง่ ตะกอนเพิ่มเติม รอยตีนไดโนเสาร์สำ�คัญอันดับต้นๆ ของภูมิภาค หากเมื่อ ๖๕ ล้านปีก่อนไม่มีการยกตัว เอเชยี ถือว่าเปน็ แหล่งใหญ่ ที่มปี รมิ าณ และความ ของแอ่งโคราชขึ้นเป็นที่ราบสูง ที่ถูกกัดกร่อน สมบรู ณม์ ากที่สุด ด้วยทางน้ำ�จนเกิดเป็นแผ่นดินอิสานกว้างใหญ่ แหล่งรอยตีนไดโนเสารท์ า่ อเุ ทน เปรยี บได้ และหากหลังจากนั้นน้ำ�แม่โขงไม่กัดเซาะ กับอัญมณีแห่งบรรพกาล ที่ธรรมชาติได้รังสรรค์ ตล่ิงท่ีนครพนม ก็คงไม่มีการทำ�เหมืองหินทราย ผ่านกาลเวลา และโอกาสแห่งความบงั เอญิ ทล่ี งตัว และกค็ งไมม่ แี หลง่ รอยตนี ไดโนเสารท์ า่ อเุ ทนในวนั น้ี เพอ่ื มอบใหเ้ ปน็ สมบตั ขิ องคนไทย และชาวโลกทกุ คน ปัจจุบันแทบทุกประเทศในโลก มีการศึกษา ด้านธรณีวิทยา ทำ�ให้มีความปรารถนาที่จะมีแหล่ง ซากดึกดำ�บรรพ์ไว้ในประเทศของตน แต่คนสร้าง แหล่งซากดึกดำ�บรรพ์ข้ึนเองไม่ได้ นำ�เข้าจากต่าง ประเทศกไ็ มไ่ ด้ โดยเฉพาะแหลง่ รอยตนี ไดโนเสารซ์ ึ่ง มโี อกาสพบนอ้ ยกวา่ แหล่งซากไดโนเสารหลายเทา่ “คุณค่าของแหล่งซากดึกดำ�บรรพ์ขึ้น อย่กู ับความเข้าใจของผ้คู นในสงั คม” หากวนั น.้ี ...คนไทยเขา้ ใจ และมองเหน็ ถงึ คุณค่าของแหล่งซากดึกดำ�บรรพ์เป็นอย่างดีแล้ว ทุกคนคงจะได้มีโอกาสช่วยกันอนุรักษ์และส่งเสริม กจิ กรรมตา่ งๆ ทจ่ี ะท�ำ ใหส้ มบตั ขิ องโลกทค่ี นไทยเปน็ เจา้ ของ ไดเ้ ชดิ หนา้ ชตู าคนไทย และอ�ำ นวยประโยชน์ อยา่ งกวา้ งขวางแกท่ อ้ งถน่ิ และชาตไิ ทยโดยรวม ปริศนาทา่ อเุ ทน ๑๕
ซากดึกดำ�บรรพ์เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย รอยตีนไดโนเสาร์ท่าอุเทนก็เป็นหน่ึงในความ ของคนไทยคอื ซากกระดกู ไดโนเสาร์ ซงึ่ พบครง้ั แรกใน สนใจของคนไทยท่ัวไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือได้รับ ประเทศไทยเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ และน�ำ ไปส่กู ารค้นพบ การประกาศใหเ้ ป็น แหล่งซากดกึ ด�ำ บรรพ์ขน้ึ ทะเบยี น สายพันธใ์ุ หม่อกี หลายสายพนั ธ์บุ นแผ่นดินอสี าน แหง่ แรกของประเทศไทย นี่คงรบั ประกนั ได้แน่นอนวา่ อาจเปน็ เพราะความใหญโ่ ต ความนา่ กลัว และ “แหล่งรอยตีนไดโนเสาร์ท่าอเุ ทน จังหวัดนครพนม” น่ารักของไดโนเสาร์จากภาพยนต์ “จูราสซิกพาร์ค” ต้องไม่ใชธ่ รรมดา แล้วพิเศษอยา่ งไร...ไปดกู นั ผ้คู นทวั่ ไปจึงให้ความสนใจไดโนเสาร์ เป็นพเิ ศษ และ • รอยประทับปรศิ นาทา่ อเุ ทน มมี ากกว่า ๒๐๐ รอย ทีฮ่ ือฮากันทวั่ ประเทศต่อมาก็คือ “รอยตีนไดโนเสาร”์ ที่มีการค้นพบมากมายหลายแห่ง เช่น รอยตีนยักษ์ ซึง่ มากท่ีสดุ และพบอยู่ใกลช้ ดิ หนาแนน่ ท่ีสุดเทา่ ที่ ของ T-Rex ที่วนอุทยานภูแฝก จ.กาฬสนิ ธ์ุ และรอย พบมาในประเทศไทย ตีนสัตว์เล้ือยคลานเป็นทางยาวบนลานหินทรายท่ี • รอยประทบั ทพี่ บแบ่งได้เปน็ ๒ ชนิด คอื เดนิ ๒ ขา อ.น�ำ้ หนาว จ.เพชรบรู ณ์ แบบไดโนเสาร์ ประมาณ ๑๖๐ รอย และเดนิ ๔ ขา แบบจระเข้ ประมาณ ๔๐ รอย รูปพิมพ์นูนระแหงโคลน ทเี่ กิดจากชนั้ ตะกอนท่ถี ูกพัดพามา รอยตนี ไดโนเสาร์มากมาย สามารถติดตามไดเ้ ปน็ แนว ปิดทบั ในชว่ งหน้านำ้�ของปนี ัน้ เมื่อร้อยล้านปีทแ่ี ล้ว ทางเดนิ หลายแนว ชวนให้คดิ ถงึ วันนีเ้ มื่อรอ้ ยล้านปกี ่อน ๑๖ ถอดรหสั ครีเทเชียส
แหลง่ รอยตีนไดโนเสาร์ทา่ อุเทน • การปะปนกันของร่องรอยประทับ บนชนั้ หินทราย หากมีโอกาสเย่ียมชมแหล่งรอยตีนไดโนเสาร์ ทป่ี ิดทบั ดว้ ยชนั้ หนิ โคลนบางๆ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การ ท่าอุเทน เมื่อทา่ นได้ยนื อยู่ทา่ มกลางรอยตนี ของสตั ว์ หากนิ รว่ มกนั ในพน้ื ทช่ี ายน�ำ้ ของสตั วโ์ บราณ จากบรรพกาลแล้ว ลองยืนหนั หน้าต้ังฉากกบั แนวทาง เดินของพวกมนั หลบั ตาลงแลว้ พาตวั เองยอ้ นเวลา • รอยตีนที่พบบางส่วนประทับซ้อนไปบนรอยร้ิว กลบั ไปหนงึ่ ร้อยลา้ นปี คลน่ื และระแหงโคลน ทำ�ให้บ่งบอกได้ถงึ ทศิ ทาง ทา่ มกลางบรรยากาศของชายน�ำ้ ทส่ี ดชน่ื ในชว่ ง การไหลของแม่นำ้� และทิศทางการเดินทางของ หลังฝนต่อต้นหนาว มีทางนำ้�ไหลเอ่ือยๆ ผ่านข้างหน้า เจ้าไดโนเสาร์ และจระเขท้ ง้ั หลาย รอบตัวของท่านจะรายล้อมไปด้วยฝูงไดโนเสาร์ทั้ง ประเภทกินเนื้อและกินพืชท่ีคล่องแคล่วว่องไว รวม • มีการค้นพบกระดูกและฟันของ ไดโนเสาร์นก ถึงจระเข้โบราณที่อาจดูงุ่มง่ามที่กำ�ลังสาละวนกับ กระจอกเทศ และ จระเข้ในหมวดหินโคกกรวด กจิ กรรมต่างๆ เพื่อการด�ำ รงชีวติ และด�ำ รงเผา่ พันธุ์ หลายแห่งท่ัวอีสาน แต่มีเฉพาะท่ีท่าอุเทนเท่านั้น ท่ีพบรอยตีนของเจ้าไดโนเสาร์นกกระจอกเทศ จะมีที่ใดในโลกที่ท่านจะมีโอกาสทำ�ได้อย่างนี้ จระเข้ และอกิ วั โนดอนในหมวดหนิ โคกกรวด รอยตีนไดโนเสาร์ประทบั บนชัน้ หนิ ทรายซงึ่ ถูกปิดทบั ดว้ ย ทางเดนิ ชมรอยตนี ไดโนเสาร์พรอ้ มเจา้ ของรอยตีนจำ�ลอง ช้ันโคลนบางๆ ทีต่ กตะกอนในชว่ งหลังฤดูฝนทน่ี ้ำ�ลดลง มีหลงั คาป้องกนั การถูกทำ�ลายด้วยแดดและฝน ปริศนาท่าอเุ ทน ๑๗
ซากดึกดำ�บรรพ์ ท่ีเรียกทับศัพท์ว่า ฟอสซิล ตามพระราชบัญญตั ฉิ บับนี้ (fossil) เปน็ ทรพั ยากรธรณที ใ่ี ชเ้ วลาในการสรา้ งนบั ลา้ นปี “ซากดกึ ด�ำ บรรพ”์ หมายถงึ ซากหรอื รอ่ งรอย หากถูกท�ำ ลายแลว้ กส็ ิ้นสญู ไป ไม่สามารถสร้างข้ึนมา ของส่ิงมีชีวิตในสมัยดึกดำ�บรรพ์ท่ีอยู่ในช้ันเปลือกโลก ทดแทนไดใ้ นชว่ งชีวิตคน หรอื ทห่ี ลดุ หรอื ทน่ี �ำ ออกมาจากชน้ั เปลอื กโลก ทง้ั น้ี ไม่ ในประเทศไทยมีการค้นพบฟอสซิลครั้งแรก รวมถึงโบราณวัตถุตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน นานนับศตวรรษแล้ว ต่อมาภายหลังมีการลักลอบขุด โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ และพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ คน้ ฟอสซลิ เพ่ือการคา้ ทำ�ใหแ้ หลง่ ฟอสซิลมากมาย ส่วน “แหล่งซากดึกดำ�บรรพ์” หมายถึง ถกู ท�ำ ลาย จงึ นำ�ไปส่กู ารตราพระราชบัญญตั คิ ้มุ ครอง บริเวณที่มีการคน้ พบหรอื เคยมีซากดึกด�ำ บรรพ์ ซากดึกดำ�บรรพ์ พ.ศ.๒๕๕๑ ดว้ ยเหตุผลดังนี้ และโดยท่ี มาตรา ๑๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ฉิ บบั “โดยท่ีมีการค้นพบซากดึกดำ�บรรพ์ท่ีสำ�คัญ นร้ี ะบวุ า่ หากพน้ื ทบ่ี รเิ วณใดเปน็ แหลง่ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ในประเทศไทยเพม่ิ มากขน้ึ สมควรอนรุ กั ษไ์ ว้ เพอ่ื การ ท่มี ีความสำ�คัญต่อการศึกษาประวัติของโลก บรรพชีวิน ศึกษาวิจัยในการสืบค้นความเป็นมาของประวัติของ วิทยา บรรพชีววิทยา หรือการลำ�ดับชั้นหิน ให้อธิบดี โลกอกี ทง้ั ยงั เปน็ มรดกทางธรรมชาตขิ องแผน่ ดนิ และ กรมทรัพยากรธรณี โดยความเห็นชอบของคณะ มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็น กรรมการคุ้มครองซากดึกดำ�บรรพ์ ประกาศใน แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทส่ี รา้ งรายไดใ้ หก้ บั ประเทศ แตโ่ ดยทใ่ี น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า ใ ห้ พ้ื น ท่ี บ ริ เ ว ณ น้ั น เ ป็ น แ ห ล่ ง ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ กี ฎหมายเพอ่ื คมุ้ ครอง อนรุ กั ษ์ และการ ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ขึ้นทะเบียน พร้อมด้วยแผนที่ บริหารจัดการซากดึกดำ�บรรพ์ไว้เป็นการเฉพาะ เป็น แสดงเขตแหล่งซากดกึ ด�ำ บรรพท์ ข่ี น้ึ ทะเบยี นนน้ั แนบ เหตใุ หม้ กี ารลกั ลอบขดุ คน้ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ หรอื ขดุ คน้ ทา้ ยประกาศดว้ ย โดยไม่ถูกหลักวิชาการทำ�ให้ซากดึกดำ�บรรพ์เหล่าน้ัน ดว้ ยศกั ยภาพ ความส�ำ คัญของแหล่งซากดกึ ถูกทำ�ลาย หรือนำ�ไปเพ่ือประโยชน์ทางการค้า ทำ�ให้ ด�ำ บรรพ์ และอำ�นาจหน้าทด่ี ังกล่าวขา้ งต้น อธบิ ดี สูญเสียมรดกของแผ่นดินที่มีคุณค่ายิ่งเป็นจำ�นวน กรมทรัพยากรธรณีจึงประกาศให้ “แหล่งรอยตีน มาก สมควรกำ�หนดให้มีกฎหมายเพ่ือให้การคุ้มครอง ไดโนเสาร์ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม” เป็นแหล่ง อนรุ กั ษ์ และบรหิ ารจดั การซากดกึ ด�ำ บรรพเ์ ปน็ ไปอยา่ ง ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ขึ้นทะเบียน เป็นอันดับแรกของ มปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั นิ ”้ี ประเทศไทย ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๘ ถอดรหัสครีเทเชียส
เลม่ ดเขรคึกTไี้น่ืออุ้มดดH๑าํงทํโคาลS๒เแนสบภะชรกัผล๘เตหภเอรอื่อษสู้มะบาาลอผรางณรีสมพียพัคู้กราซอติทระท์ทน้นศเ์ยาอปูธกขพ่าาักยตนพใิถอทณองนบนีดอพเ่าพภ.งุเา่รศทฑํทยไาซึกทอเิมู่อื.ดศ.ด่ีแนา์ศนกดุเัง้ิศกงโทษกนิลยนาา.ํนาาวน๒ดนะาโรจ้ีสบ้าจใเาดว๕สแกึหปง๒ยตตังตร๖ยผดาหน้แ๕รร้ังา๕รชร๗นํา์ขหเะแว๑มพรก์อจบ๕ทัดอตกล๗ศ๕คนิังบ์ร๒นง๒วแี่่๒่งา๖หพงร๑วดแแซัน๐ปนกสศค๐วพ.าว้ืชห.ลา๑ถํัตา๑รบเ๗ดั๑รมย์ทอกปละพดยัห๓ท.๗ก.ด๑ะใปี่ธพง่ขา็จ๑นน๑น้าน๗ฎรซิึกบร้๒อาวกย๑มแักดาหาดกมกด๑ปษ๑หกากใวํามซาีก๒รหด์ฏบลนัศาตอระรึก้่ยแรงปโสากรกนมดรรซ(ชหรเถาาเ๓คพพมทําเราะมกเศหาวมลทบมรตอ)เ์กกรมนตปจินนันต่ปงพต๑รร่ีรดัาพจดรทรเี้ซรา้็นทรดาแรนศา๔ะึกยต่ีเชพารแือห(ในมปก(ร๘ดงั้(นพอาก๑น์ห(่งกุเ๙าน็๘พัํกาฎยบรปดสัฎลปวศคแบฎทาตรกดทีึง่รกรยหชนีธร่ีซรษุ๓ร่ีพะดณ๒๘กลาารราไ๓เหาคก๘บําจบ๘ิจด๐ห่งกพณกช๘นาบหาํซ๕จโลม๕ด๐อวื์่ทศอนน่วีร๕าานร๙อือนัึกธ๕๙อยคกีว่นเขแธร๙ึน่งบิดงโ-ทสด--นงดกณึ้เุนพหดหก-กรคําดาาบี่ิศ๑พกึคบินครทยค์นละีกณลแกก๑กัดฎนื้ก์รเน่ืคกทระรษ่ดงรหก๘าํ๘นิทรมก๘๘รีเวใี่บหซ์ิา่า่พงบเ๐ช๒ฎี่ทร๐าม๐เนรทัพาสพป์ทป้ามีย๐๘รมชีร๔๔ือ้กอคปรน็ัพฤร่ีขกพน๙๕ั้นเข๒มง๒ะดะหษร้ึนตายท์หแไ)๕น)โ)หะรรขึท้นก็ภาน๑๑ยินี่ขล๒า)าคกจม่มไะาดชด๒ชน้ึ๗๕ทะปชรํุ้าค่ทูุกมเํนเาทอ,เ๔บรธลแบ๘ตมค่ีป์บาบะร๔ียก็์หั๐ญรยม็นณเนรกขพบอพลส๐ถิ ซญ๒รรีอวงยีชแี่.นุงมาศพกซงันต่อืซดากท.เค์าเยิงคาทจตดรกตรณนก๒ุ้มแ้อาพัําึกอดาขดบ๕โคะหรยงดึกรอึลการ๕การล๒ํพางดงบักด/รอ๔่บง๕ํอเาผรอมํรางรบรด๕คู้ธยมตบซอพรรรร๔ูด่รกราอพยณรน้ากบราพต์ทนีอคพรี์นี่ลรม์ า่องง/ ปริศนาท่าอุเทน ๑๙
ซากดึกดำ�บรรพ์ ท่ีเรียกทับศัพท์ว่า ฟอสซิล ตามพระราชบัญญตั ฉิ บับนี้ (fossil) เปน็ ทรพั ยากรธรณที ใ่ี ชเ้ วลาในการสรา้ งนบั ลา้ นปี “ซากดกึ ด�ำ บรรพ”์ หมายถงึ ซากหรอื รอ่ งรอย หากถูกท�ำ ลายแลว้ กส็ ิ้นสญู ไป ไม่สามารถสร้างข้ึนมา ของส่ิงมีชีวิตในสมัยดึกดำ�บรรพ์ท่ีอยู่ในช้ันเปลือกโลก ทดแทนไดใ้ นชว่ งชีวิตคน หรอื ทห่ี ลดุ หรอื ทน่ี �ำ ออกมาจากชน้ั เปลอื กโลก ทง้ั น้ี ไม่ ในประเทศไทยมีการค้นพบฟอสซิลครั้งแรก รวมถึงโบราณวัตถุตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน นานนับศตวรรษแล้ว ต่อมาภายหลังมีการลักลอบขุด โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ และพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ คน้ ฟอสซลิ เพ่ือการคา้ ทำ�ใหแ้ หลง่ ฟอสซิลมากมาย ส่วน “แหล่งซากดึกดำ�บรรพ์” หมายถึง ถกู ท�ำ ลาย จงึ นำ�ไปส่กู ารตราพระราชบัญญตั คิ ้มุ ครอง บริเวณที่มีการคน้ พบหรอื เคยมีซากดึกด�ำ บรรพ์ ซากดึกดำ�บรรพ์ พ.ศ.๒๕๕๑ ดว้ ยเหตุผลดังนี้ และโดยท่ี มาตรา ๑๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ฉิ บบั “โดยท่ีมีการค้นพบซากดึกดำ�บรรพ์ท่ีสำ�คัญ นร้ี ะบวุ า่ หากพน้ื ทบ่ี รเิ วณใดเปน็ แหลง่ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ในประเทศไทยเพม่ิ มากขน้ึ สมควรอนรุ กั ษไ์ ว้ เพอ่ื การ ท่มี ีความสำ�คัญต่อการศึกษาประวัติของโลก บรรพชีวิน ศึกษาวิจัยในการสืบค้นความเป็นมาของประวัติของ วิทยา บรรพชีววิทยา หรือการลำ�ดับชั้นหิน ให้อธิบดี โลกอกี ทง้ั ยงั เปน็ มรดกทางธรรมชาตขิ องแผน่ ดนิ และ กรมทรัพยากรธรณี โดยความเห็นชอบของคณะ มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็น กรรมการคุ้มครองซากดึกดำ�บรรพ์ ประกาศใน แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทส่ี รา้ งรายไดใ้ หก้ บั ประเทศ แตโ่ ดยทใ่ี น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า ใ ห้ พ้ื น ท่ี บ ริ เ ว ณ น้ั น เ ป็ น แ ห ล่ ง ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ กี ฎหมายเพอ่ื คมุ้ ครอง อนรุ กั ษ์ และการ ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ขึ้นทะเบียน พร้อมด้วยแผนที่ บริหารจัดการซากดึกดำ�บรรพ์ไว้เป็นการเฉพาะ เป็น แสดงเขตแหล่งซากดกึ ด�ำ บรรพท์ ข่ี น้ึ ทะเบยี นนน้ั แนบ เหตใุ หม้ กี ารลกั ลอบขดุ คน้ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ หรอื ขดุ คน้ ทา้ ยประกาศดว้ ย โดยไม่ถูกหลักวิชาการทำ�ให้ซากดึกดำ�บรรพ์เหล่าน้ัน ดว้ ยศกั ยภาพ ความส�ำ คัญของแหล่งซากดกึ ถูกทำ�ลาย หรือนำ�ไปเพ่ือประโยชน์ทางการค้า ทำ�ให้ ด�ำ บรรพ์ และอำ�นาจหน้าทด่ี ังกล่าวขา้ งต้น อธบิ ดี สูญเสียมรดกของแผ่นดินที่มีคุณค่ายิ่งเป็นจำ�นวน กรมทรัพยากรธรณีจึงประกาศให้ “แหล่งรอยตีน มาก สมควรกำ�หนดให้มีกฎหมายเพ่ือให้การคุ้มครอง ไดโนเสาร์ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม” เป็นแหล่ง อนรุ กั ษ์ และบรหิ ารจดั การซากดกึ ด�ำ บรรพเ์ ปน็ ไปอยา่ ง ซากดึกดำ�บรรพ์ที่ขึ้นทะเบียน เป็นอันดับแรกของ มปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั นิ ”้ี ประเทศไทย ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๘ ถอดรหัสครีเทเชียส
ปริศนาท่าอเุ ทน ๑๙
ถอดรหัสค ปรศิ นา หากวนั นค้ี นไทยเขา้ ใจ และมองเ อยา่ งดแี ลว้ ทกุ คนคงจะไดม้ โี อกาสชว่ ยกนั อน สมบตั ขิ องโลกทค่ี นไทยเปน็ เจา้ ของ ไดเ้ ชดิ ห กวา้ งขวางแกท่ อ้ งถน่ิ และชาตไิ ทยโดยรวม
ครีเทเชียส ท่าอุเทน เหน็ ถงึ คณุ คา่ ของแหลง่ ซากดกึ ด�ำ บรรพเ์ ปน็ นรุ กั ษแ์ ละสง่ เสรมิ กจิ กรรมตา่ งๆ ทจ่ี ะท�ำ ให้ หนา้ ชตู าคนไทย และอ�ำ นวยประโยชนอ์ ยา่ ง กรมทรพั ยากรธรณี ๒๕๖๐
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: