Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การกำจัดโรคพืช

การกำจัดโรคพืช

Published by Thalanglibrary, 2021-12-17 03:16:34

Description: หนังสือ “ความรู้ในการกำจัดโรคพืช” เล่มนี้ เกิดขึ้นจากการรวบรวมเสียงความต้องการของพี่น้องเกษตรกรในพื้นที่ต้นแบบ ดำเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ทั้งจากการพบปะโดยตรงและสะท้อนผ่านข้อเสนอแนะท้ายแบบสอบถามในการศึกษาต่างๆ ที่ต้องการทราบถึงขั้นตอน วิธีการป้องกันรักษา แก้ไขปัญหา ตลอดจนเทคนิคหรือวิธีการจัดการที่สร้างสรรค์และมีความเหมาะสม เกี่ยวเนื่องกับการกำจัดโรคในพืชชนิดต่างๆ อาทิ ปัญหาโรคในข้าว ข้าวโพด มะนาว พริก เชื้อรา และปัญหาโรคพืชที่มักมาพร้อมฤดูกาลล้วนสร้างปัญหาและความหนักใจให้กับเกษตรกรผู้เพาะปลูก
จากปัญหาและความต้องการข้างต้น จึงได้ทำการสำรวจและคัดกรองปัญหาและ องค์ความรู้ที่เป็นที่ต้องการ ทั้งในรูปวิชาการและภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งจากครูปราชญ์และ หน่วยงานต่างๆ ที่มีองค์ความรู้ในเรื่องนั้นๆ มานำเสนอในเนื้อหารูปแบบของการ์ตูน ประกอบภาพ เพื่อง่ายต่อความ “เข้าใจ” “เข้าถึง” ข้อมูลที่มาของสาเหตุ และสามารถนำไป “พัฒนา” ต่อยอด เป็นแนวทางในการสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นแก่ตนเอง ชุมชน และสังคม ผ่านการ “พึ่งตนเอง” ได้อย่างมีประสิทธิภาพในท้ายที่สุด

Search

Read the Text Version

คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” กชุด.ำ�..คจวดัามโรรู้ใคนกพารชื

คมู่ ือเกษตรกร “รู้ไว้ ใชจ้ ริง” ชดุ ความรู้ในการกำ�จดั โรคพืช พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จำ�นวน 3,000 ชดุ ปีทีพ่ ิมพ์ สงิ หาคม 2562 จัดพิมพ์โดย สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ อาคารสยามทาวเวอร์ ช้ัน 26 เลขท่ี 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : 0 2611 5009 โทรสาร : 0 2658 1413 Website : www.pidthong.org twitter : www.twitter.com/pidthong Facebook : www.facebook.com/pidthong Youtube : www.youtube.com/pidthongchannel #เชื่อมนั่ เศรษฐกิจพอเพยี ง

ความรใู้ นการกำ� จัดโรคพืช หนังสือ “ความรู้ในการก�ำจัดโรคพืช” เล่มนี้ เป็น 1 ใน 5 หนังสือชุดคู่มือเกษตรกร “รู้ไว้ ใช้จริง” ที่เกิดข้ึนจากการรวบรวมเสียงความต้องการของพี่น้องเกษตรกรในพื้นท่ีต้นแบบ 5 จังหวัด ด�ำเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสาน แนวพระราชด�ำริ อันได้แก่ จังหวัดน่าน อุดรธานี กาฬสินธุ์ อุทัยธานี และเพชรบุรี ทั้งจาก การพบปะโดยตรงและสะท้อนผ่านข้อเสนอแนะท้ายแบบสอบถามในการศึกษาต่างๆ ที่ ต้องการทราบถึงข้ันตอน วิธีการป้องกันรักษา แก้ไขปัญหา ตลอดจนเทคนิคหรือวิธีการ จัดการท่ีสร้างสรรค์และมีความเหมาะสม เก่ียวเน่ืองกับการก�ำจัดโรคในพืชชนิดต่างๆ อาทิ ปัญหาโรคในข้าว ข้าวโพด มะนาว พริก เช้ือรา และปัญหาโรคพืชท่ีมักมาพร้อมฤดูกาล ลว้ นสรา้ งปัญหาและความหนักใจให้กบั เกษตรกรผู้เพาะปลูก จากปัญหาและความต้องการข้างต้น จึงได้ท�ำการส�ำรวจและคัดกรองปัญหาและ องค์ความรู้ที่เป็นที่ต้องการ ท้ังในรูปวิชาการและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทั้งจากครูปราชญ์และ หน่วยงานต่างๆ ท่ีมีองค์ความรู้ในเร่ืองน้ันๆ มาน�ำเสนอในเนื้อหารูปแบบของการ์ตูน ประกอบภาพ เพ่ือง่ายต่อความ “เข้าใจ” “เข้าถึง” ข้อมูลท่ีมาของสาเหตุ และสามารถน�ำ ไป “พัฒนา” ต่อยอด เป็นแนวทางในการสร้างความย่ังยืนให้เกิดข้ึนแก่ตนเอง ชุมชน และ สังคม ผา่ นการ “พงึ่ ตนเอง” ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพในทา้ ยทีส่ ุด

สารบญั 5 9 12 การแกป้ ัญหาดนิ เค็มดว้ ย »Â‰Ø à¤ÁÕ “นำ้ �สม้ ควนั ไม”้ ทฤษฏีการห่มดิน มีไวอ้ ่นุ ใจ ปญั หาดินเปร้ยี ว 16 แกไ้ ม่ยากอย่างที่คดิ 23 20 หลากโรคข้าวโพด ปราบ “โรคแคงเกอร์” สารพดั โรคในพรกิ รไู้ ว้ กันได้แนน่ อน โรคร้ายในมะนาว กบั วธิ ปี ้องกันและแก้ปัญหา 38 41 43 พชิ ติ ราน้ำ�ค้าง ปราบเชือ้ รา 3 สตู รเด็ดกำ�จัดวัชพืช โรคพืชสดุ ฮิตฤดูหนาว ทม่ี ากบั ฝน มั่นใจ ไม่มสี ารเคมีตกค้าง 46 หลากหลายวธิ ใี นการก�ำจดั โรคพชื ...ติดตามอา่ นกนั ไดเ้ ลยครับ... ดแู ลทเุ รยี นอย่างไร? เม่อื เป็น “โรครากเนา่ โคนเน่า”

การแก้ปัญหาดินเคม็ ดว้ ยทฤษฏกี ารหม่ ดนิ ดิน ถือเป็นปัจจัยการผลิตที่ส�ำคัญอย่างหน่ึงเคียงคู่กับ “น้�ำ” ในการท�ำเกษตร ต่อให้มีทรัพยากรน้�ำอุดมสมบูรณ์ แต่มีดิน ที่เลว กล่าวคือ โครงสร้างแน่น อัดตัวเป็นก้อน ปราศจากธาตุอาหาร ท่ีจ�ำเป็นต่อการเติบโตของพืช ก็เป็นการยากต่อการปลูกพืชไม่ว่า พืชชนดิ ใดๆ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 5 ชดุ “ความรูใ้ นการกำ� จดั ศตั รพู ชื ”

นอกจากนี้ ปัญหาเรื่องดินนับเป็นปัญหา ฟื้นฟูดนิ จนเมือ่ ปี 2556 ทป่ี ระชมุ ใหญส่ มชั ชา ส�ำคญั ตอ่ เกษตรกรไทยเปน็ อยา่ งมาก ในแตล่ ะ สหประชาชาติมมี ตใิ หว้ นั ท่ี5ธนั วาคมของทกุ ปี พนื้ ทกี่ ป็ ระสบปญั หาเกยี่ วกบั ดนิ แตกตา่ งกนั ไป เปน็ “วนั ดนิ โลก” และตอ่ มาในปี2558ก�ำหนด ไมว่ า่ จะเปน็ ดนิ เปรย้ี วดนิ เคม็ ดนิ ดานดนิ ทราย ใหเ้ ปน็ “ปีแห่งดินสากล” ทต่ี อ้ งอาศยั ความรใู้ นการปรบั ดนิ ใหเ้ หมาะแก่ หน่ึงในพระราชด�ำริที่พระราชทานให้ การเพาะปลกู พชื ในแตล่ ะชนดิ พระบาทสมเดจ็ กับเกษตรกรไทยในการดูแลและรักษาดิน พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช อกี ทางหนงึ่ นน่ั คอื “การหม่ ดนิ ” ทรงมรี บั สงั่ ให้ มหาราชบรมนาถบพติ ร“ทรงเปน็ ปราชญแ์ หง่ “ห่มดิน อย่าเปลือยดิน” เพ่ือให้ดินมีความ น้�ำและดินแห่งโลก” ทรงมีแนวพระราชด�ำริ ชุ่มชื้น จุลินทรีย์ท�ำงานได้ดี ส่งผลให้ดิน ทสี่ �ำคญั หลายโครงการในดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละ ท�ำการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป้องกัน การชะล้าง พังทลายของดิน และพัฒนา ทรัพยากรดินให้เกิดแร่ธาตุ ท้ังนี้ การห่มดิน มีอยู่ด้วยกันหลายวิธีการ เช่น ใช้ฟางและ เศษใบไม้มาห่มดิน การใช้พรมใยปาล์มซึ่งท�ำ มาจากปาล์มท่ีผ่านการรีดนำ้� มนั แล้ว เริม่ จาก การน�ำทะลายปาล์มมาตะกุยให้เป็นเส้นๆ ก่อนจะเอาไปอัดให้เป็นแผ่น เป็นผ้าห่มดิน นอกจากประโยชน์ที่กล่าวไปแล้ว การห่มดิน ยังจะช่วยคลุมหน้าดินไม่ให้วัชพืชขึ้นรบกวน ตน้ ไมพ้ ชื หลกั อีกด้วย การห่มดินถือเป็นวิธีการที่เพ่ิมอินทรีย วัตถุให้กับดิน หรือเป็นการปรับปรุงดินก่อน การเพาะปลูก ดินที่ดีสังเกตจะมีเช้ือราเกิดขึ้น และตอ้ งใชร้ ว่ มกบั นำ�้ หมกั ชวี ภาพ จะท�ำใหด้ นิ 6 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรูใ้ นการก�ำจัดศัตรพู ชื ”

มีความสมบูรณ์ขนึ้ การปลูกหญา้ แฝกไปดว้ ย ใบแฝกก็ตัดมาห่มดินได้ การห่มดินเพื่อให้ จลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ ถา้ เปลอื ย ดินไว้ จะท�ำให้จุลินทรีย์ตาย และต้นไม้จะไม่ สามารถเจริญเตบิ โตได้ การแกป้ ัญหาดนิ เคม็ ด้วยทฤษฏีการหม่ ดนิ ข้ันท่ี 1 ท�ำการพรวนหน้าดินให้ มีความร่วนซุย อากาศและน�้ำถ่ายเท ไดส้ ะดวก ขน้ั ท่ี 2 ปอ้ งกนั และรกั ษาความชน้ื ในดนิ โดยการโรยเมลด็ ถ่วั เขยี วลงไปในดนิ เพ่ือช่วย รกั ษาระบบนเิ วศ ข้ันท่ี 3 หลังจากโรยถ่ัวเขียวเสร็จแล้ว ให้พืชพันธุ์ที่มีความทนเค็ม เช่น ข้าวหอม มะลิ 105 ขา้ วแดงน้อย ถวั่ แค โรยผสมลงไป กับถวั่ เขียว คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 7 ชดุ “ความรูใ้ นการก�ำจดั ศตั รูพชื ”

น�ำ เศษใบไม้ ฟางขา้ ว มาคลุมดนิ ขน้ั ที่ 4 น�ำเศษหญา้ ใบไม้ ฟางขา้ ว หรอื วสั ดธุ รรมชาตอิ นื่ ๆ แตถ่ า้ เปน็ ฟางขา้ วจะใหผ้ ล ดีที่สุด น�ำมาปกคลุมดินไว้เพื่อรักษาความช้ืน ในดินไม่ให้ระเหยออกไป ขั้นท่ี 5 ให้อาหารดินโดยการโรยปุ๋ย อินทรีย์แบบแห้งและแบบน�้ำลงบนฟางข้าวที่ คลุมดินไว้ หรือสามารถใช้น้�ำหมักชีวภาพรส จืด (ปุ๋ยน้�ำรสจืด) โดยมีอัตราส่วน ปุ๋ยน้�ำ 1 ลติ ร ตอ่ นำ�้ 100 สว่ น รดใหท้ วั่ ฟางขา้ วทคี่ ลมุ ไว้ โรยป๋ยุ อนิ ทรีย์แบบแหง้ และแบบนำ้� เม่ือถ่ัวเขียวเจริญเติบโตข้ึน จะท�ำให้มีการปกคลุมดิน อีกช้ันรวมถึงฟางข้าว ท�ำให้แสงแดดไม่สามารถส่องถึงพ้ืนดินได้ ดินท่ีอยู่ใตฟ้ างขา้ วและถวั่ เขยี วจงึ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ ทง้ั ธาตอุ าหาร และความชน้ื และไมด่ ดู ความเคม็ ข้ึนมานัน่ เอง 8 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศัตรูพชื ”

ปญั หาดินเปรยี้ ว แกไ้ มย่ ากอยา่ งทคี่ ดิ ไมว่ า่ จะมที รพั ยากรนำ�้ อดุ มสมบรู ณ์ แตก่ ารมี “ดนิ ทเ่ี ลว” นน้ั กท็ �ำใหเ้ กดิ ปญั หาตามมามากมายกวา่ ทคี่ ดิ ทง้ั ในเรอื่ งของโครงสรา้ ง ดินท่ีแน่น อัดตัวเป็นก้อน ปราศจากธาตุอาหารที่จ�ำเป็นต่อการ เจริญเติบโตของพืช ก็เป็นการยากต่อการปลูกพืช ไม่ว่าพืชชนิดใดๆ ดินจึงถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในการปลูกพืช เพราะฉะนั้นการดูแล รักษาดินถือเป็นเรื่องท่ีส�ำคัญไม่ย่ิงหย่อนไปกว่าเรื่องใดๆ ทั้งการ เติมอินทรียวัตถุให้กับดิน เศษวัชพืช แกลบดิบ ถ้าเจอกับอากาศท่ี หนาวเย็น แห้งแล้ง ก็ต้องรู้จักรักษาดิน รักษาความนุ่มชุ่มชื้นจาก อนิ ทรียวัตถุ จากตอซงั ฟางข้าว หรอื เศษซากใบออ้ ย คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 9 ชุด “ความรใู้ นการก�ำจดั ศตั รพู ืช”

การแกป้ ญั หาดนิ เปรยี้ วหรอื ดนิ เปน็ กรด »Â؉ à¤ÁÕ ดินเปร้ียวหรือดินเป็นกรดเกิดจากเกษตรกร งดการใชส้ ารเคมที กุ ชนิด มกี ารใชป้ ยุ๋ เคมใี นแปลงการเกษตรมากขนึ้ ซงึ่ ในปยุ๋ นน้ั จะประกอบไปดว้ ย ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม  ใช้น้�ำ หมักสมนุ ไพร โดยสารเคมเี หลา่ น้ลี ว้ นแต่มคี ณุ สมบัติเป็นกรดทัง้ สิน้ รสจดื 1 ลติ ร วิธีการแกป้ ญั หาดนิ เปรย้ี ว ผสมน�้ำ 100 ส่วน • ในกรณีท่ีปัญหาดินเปร้ียวเกิดจากสารเคมีที่ นำ�มารดใหท้ ่ัวแปลง สะสมในดนิ  ใหท้ �ำการหยดุ การใชส้ ารเคมที กุ ชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ ปยุ๋ หรอื ยาฆา่ แมลง แลว้ เปลยี่ นมาใชป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ์ สารชีวภาพในการก�ำจดั แมลง • กรณีที่ดินเปร้ียวหรือดินเค็มเกิดจากการมี อินทรยี วัตถมุ ากเกนิ ไป ท�ำใหด้ ินย่อยสลายไม่ทนั เช่น บรเิ วณทม่ี วี วั หรอื ควายลงไปนอนจะท�ำใหม้ มี ลู ววั ควาย จ�ำนวนมาก • การแก้ปัญหาดินเปรี้ยว ให้ท�ำการล้างดินด้วย นำ้� หมักสมุนไพรรสจืดผสมน้ำ� อัตราส่วน 1 ลิตร ต่อน�้ำ 100 สว่ น เพอื่ ชะลา้ งความเปรยี้ วและความเคม็ ของดนิ ใหล้ ดหรอื เจอื จางลง โดยการน�ำนำ�้ มาหมกั สมนุ ไพรรส จดื (ปยุ๋ นำ้� รสจดื ) มารดใหท้ วั่ เปน็ วธิ ดี ที ส่ี ดุ และเรว็ ทสี่ ดุ ในการแกป้ ญั หาดนิ เปร้ียว 10 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความร้ใู นการก�ำจดั ศตั รูพืช”

การสงั เกตดนิ เปรยี้ วหรอื เปน็ กรดจดั ใบข้าวมจี �ำ นวนมาก • หากเป็นนาขา้ ว ใบข้าวจะมีสเี ขียวสวยงาม มีใบข้าวจ�ำนวนมาก เรียกว่า อาการบ้าใบ แสดงว่า สีและเส้นใบไม่เสมอกนั ดนิ เปรี้ยวเป็นกรดจดั ใบไม่คอ่ ยสวย • หากเปน็ สวน จะสงั เกตไดจ้ ากสแี ละเสน้ ใบ ไม่เสมอกัน ใบไม่ค่อยสวย สีใบไม่เขียว ไม่เป็นปกติ สีใบไมเ่ ขียว ไม่เปน็ ปกติ ของตน้ ไม้ชนิดนั้นๆ การแก้ปัญหาดินเปรี้ยวสามารถแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีง่ายๆ โดยไม่ต้องใช้สารใดๆ นอกจากการ แก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวในการเพาะปลูกจะช่วยเพ่ิม ผลผลิตให้กับเกษตรกรแล้ว ยังช่วยลดต้นทุน การผลิตอีกด้วย เพราะถ้าดินมีความอุดมสมบูรณ์ การใช้สารเคมีก็ไม่จ�ำเป็นนัก และเมื่อแก้ไขปัญหา แล้ว จะต้องลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลง เพื่อป้องกัน ปัญหาการเกดิ ดนิ เปรี้ยวและเคม็ ไมใ่ หเ้ กดิ ขึ้นอกี คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 11 ชุด “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รูพชื ”

“น�้ำส้มควนั ไม”้ มไี วอ้ นุ่ ใจ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่เลือกใช้ น้�ำส้มควันไม้เป็นวัตถุดิบหลักในการแก้ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดในไร่สวน ซ่ึงน�้ำส้มควันไม้นั้นได้มาจากควันท่ีเกิดจากการเผาถ่านในช่วงท่ีไม้ ก�ำลังเปลี่ยนเป็นถ่าน เม่ือท�ำให้เย็นลงจนควบแน่นแล้วกลั่นตัวเป็น หยดน้�ำ ของเหลวที่ได้นี้เรียกว่า “น�้ำส้มควันไม้” โดยน�้ำส้มควันไม้ จะมีกล่ินไหม้ ซ่ึงส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติก มีความเป็น กรดต่�ำ สีน�้ำตาลแกมแดง 12 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความร้ใู นการกำ� จดั ศัตรูพืช”

วิธีใช้ น�ำน�้ำส้มควันไม้ที่ได้ทิ้งไว้ในภาชนะพลาสติกประมาณ 3 เดือน ในที่ร่ม ไม่สั่นสะเทือน เพ่ือให้น้�ำส้มควันไม้ท่ีได้ตกตะกอน และแยกตัวเป็น 3 ชั้น คือ น�้ำมันเบา (ลอยอยู่ผิวน้�ำ) น้�ำส้มไม้ และ นำ้� มนั ทาร์ (ตกตะกอนอยดู่ า้ นลา่ ง) แยกนำ�้ สม้ ควนั ไมม้ าใชป้ ระโยชน์ ต่อไป นำ�้ มันเบา นำ้�ส้มควันไม้ นำ้�มันทาร์ ประโยชนแ์ ละการน�ำนำ้� ส้มควันไม้ไปใชป้ ระโยชน์ น�้ำส้มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากมาย เมื่อน�ำไปใช้ ประโยชน์ทางการเกษตรจะมีคุณสมบัติ เช่น เป็นสารปรับปรุงดิน สารป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช และสารเร่งการเติบโตของพืช นอกจากน้ี มีการน�ำน้�ำส้มควันไม้ไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม เช่น ใช้ผลิต สารดบั กลน่ิ ตัว ผลติ สารปรบั ผิวน่มุ ผลิตยารกั ษาโรคผวิ หนัง เป็นต้น คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 13 ชดุ “ความรู้ในการกำ� จดั ศตั รูพืช”

เน่ืองจากน�้ำส้มควันไม้มีความเป็นกรดสูง ก่อนจะ 1:20 น�ำไปใช้จึงควรจะน�ำมาเจือจางให้เกิดสภาวะท่ีเหมาะสม กบั วัตถุประสงค์ของการใชง้ าน ดงั น้ี (ผสมน�้ำ 20 เทา่ ) อตั ราส่วน 1:20 (ผสมนำ้� 20 เท่า) พน่ ลงดิน เพ่ือฆา่ 1:50 เช้ือจุลินทรีย์ที่ไม่เป็นประโยชน์และแมลงในดิน ซ่ึงควร ท�ำก่อนการเพาะปลูก 10 วัน (ผสมน้ำ� 50 เทา่ ) อัตราสว่ น 1:50 (ผสมน�้ำ 50 เทา่ ) พ่นลงดนิ เพ่อื ฆา่ 1:100 เช้ือจุลินทรีย์ที่ท�ำลายพชื หากใช้ความเข้มข้นทมี่ ากกวา่ น้ี รากพืชอาจไดร้ บั อนั ตรายได้ (ผสมน้ำ� 100 เท่า) อัตราสว่ น 1:100 (ผสมน�ำ้ 100 เทา่ ) ราดโคนต้นไม้ 1:200 รกั ษาโรคราและโรคเนา่ รวมทง้ั ปอ้ งกนั แมลงวางไข่ (ผสมนำ�้ 200 เท่า) อัตราส่วน 1:200 (ผสมน�้ำ 200 เท่า) พ่นใส่ใบไม้ รวมทัง้ พนื้ ดินรอบๆ ต้นพืช ทุกๆ 7-15 วนั เพอ่ื ขับไลแ่ มลง 1:500 ปอ้ งกนั เชอ้ื รา และใชร้ ดโคนตน้ ไมเ้ พอื่ เรง่ การเจรญิ เตบิ โต (ผสมน้ำ� 500 เท่า) อัตราส่วน 1:500 (ผสมน้�ำ 500 เท่า) พ่นผลอ่อน หลังจากติดผลแล้ว 15 วัน ช่วยขยายผลให้โตขึ้นและ 1:1000 พ่นอีกครั้งกอ่ นเกบ็ เกี่ยว 20 วัน เพอ่ื เพ่มิ น้�ำตาลในผลไม้ (ผสมน�ำ้ 1000 เทา่ ) อตั ราสว่ น 1:1000 (ผสมนำ�้ 1000 เทา่ ) เปน็ สารจบั ใบ เนื่องจากสารเคมีจะสามารถออกฤทธิ์ได้ดีในสารละลาย ทเ่ี ปน็ กรดออ่ นๆ ชว่ ยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพของสารเคมี ท�ำให้ สามารถลดการใช้สารเคมีไปมากกว่าครงึ่ ดว้ ย 14 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรใู้ นการก�ำจัดศัตรพู ชื ”

พ่นลงดิน ทำ�กอ่ นการปลกู เพอ่ื ฆา่ เชอ้ื จลุ นิ ทรยี ์ 10 วนั ทีไ่ ม่เป็นประโยชน์ และแมลงในดนิ รากพชื อาจไดร้ บั พ่นลงดิน อันตราย หากใช้ความ เขม้ ข้นทม่ี ากกวา่ นี้ เพอื่ ฆา่ เชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ ท่ที �ำ ลายพืช ราดโคนต้น ปอ้ งกนั รกั ษาโรครา โรคเน่า แมลงวางไข่ พน่ ใส่ใบ รดโคนตน้ และดินรอบๆ ต้น เพื่อเร่งการเจรญิ เตบิ โต ไลแ่ มลง ป้องกันเชือ้ รา พ่นผลอ่อน พ่นอีกครงั้ หลงั จากติดผลแลว้ 15 วัน กอ่ นเกบ็ เกยี่ ว 20 วัน เพ่ือเพ่ิมนำ้�ตาลในผลไม้ เป็น สารจบั ใบ สามารถ ชว่ ยเสรมิ ประสิทธภิ าพ ลดการใช้สารเคมี ของสารเคมี ได้มากกวา่ คร่งึ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 15 ชดุ “ความรู้ในการก�ำจัดศัตรูพืช”

หลากโรคขา้ วโพด รไู้ ว้ กนั ไดแ้ นน่ อน ช่วงนี้มีการส่งเสริมปลูกข้าวโพดหวานกันในหลายๆ พื้นที่ สาเหตุท่ีตามมาคือการที่เกษตรกรยังควบคุมการระบาดของโรคได้ ไม่ดี จึงได้มีการรวบรวมเอาโรคที่ส�ำคัญในข้าวโพด พร้อมวิธีการ แก้ไขมาแนะน�ำ 16 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รูพืช”

โรคใบไหม้แผลใหญ่ มีสาเหตุมาจากเชื้อรา อาการเริ่ม คือ มีแผลขนาดเล็กสีคล้ายฟางข้าวบนใบ ข้าวโพด และขยายใหญ่ข้ึนเป็นสีเทาหรือ สีน้�ำตาลอ่อน ยาวตามใบข้าวโพด ท�ำให้ ใบข้าวโพดแห้งตาย วิธีป้องกัน คือ ใส่ปุ๋ย ไนโตรเจนปรมิ าณสงู เมอ่ื พบโรคใหพ้ น่ ดว้ ย สารป้องกันก�ำจัดโรคพืช อะโซซิสโตรบิน+ ไดฟีโนโคนาโซล อัตรา 15 ซีซี/น�้ำ 20 ลิตร โพรพิโคนาโซล อัตรา 20 ซีซี/น�้ำ 20 ลิตร โพรพิโคนาโซล+ไดฟีโนโคนาโซล อัตรา 5 ซซี /ี นำ้� 20 ลติ ร พน่ 3 ครง้ั พน่ หา่ งกนั 7 วนั ไม่ควรใช้สารชนิดเดียวกันเกิน 3 คร้ัง เพราะจะท�ำใหเ้ ช้ือสาเหตเุ กิดการดื้อยา โรคราสนมิ อาการ คอื ใบขา้ วโพดจะเปน็ จดุ นนู บนใบ และใต้ใบ มีสีน�้ำตาลอ่อนและเปลี่ยนเป็น น�้ำตาลแดง เมื่อจุดนูนแตกมีผงสีคล้ายสนิม ซ่ึงโรคนี้มักระบาดในฤดูฝน ให้เกษตรกรหม่ัน ส�ำรวจแปลงปลูกข้าวโพด หากพบจุดนูนของ โรคราสนิม 1-2% ของพ้ืนท่ีใบให้พ่นด้วยสาร ไดพีโนโคนาโซล 25% อัตรา 20-30 ซีซี ต่อ นำ้� 20 ลติ ร หรอื แมนโคเซบ 80% อตั รา 40 กรมั ตอ่ นำ้� 20 ลิตร พน่ ทุก 7 วัน จ�ำนวน 2-4 คร้งั คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 17 ชุด “ความรู้ในการก�ำจัดศัตรพู ืช”

โรครานำ�้ คา้ งหรือโรคใบลาย ใบข้าวโพดจะมีลายสีเขียวอ่อนหรือสีเหลือง อ่อนสลับกับสีเขียวแก่เป็นทาง ในเวลาเช้าที่อากาศ ค่อนข้างเย็นจะพบผงสปอร์สีขาวๆ เป็นจ�ำนวนมาก บรเิ วณใต้ใบ ดอกตวั ผจู้ ะหงิกงอ ไมเ่ จริญเต็มที่ ส่วน ดอกตัวเมียจะไม่เจริญเติบโตหรือเติบโตมากเกินไป ควรคลกุ เมลด็ ดว้ ยสารเคมเี มทาแลก็ ซลิ อตั รา 7 กรมั / เมล็ด 1 กิโลกรัม หรือสารเมทาแลกซิล-เอ็ม อัตรา 3.5 ซซี /ี เมลด็ 1 กโิ ลกรมั หรอื สารไดเมโทมอรฟ์ อตั รา 20 กรัม/เมล็ด 1 กิโลกรัม ก่อนปลูก หมั่นตรวจไร่ ตง้ั แตเ่ รมิ่ ปลกู ถา้ พบขา้ วโพดเรมิ่ แสดงอาการของโรค ให้ถอนและเผาท�ำลายทนั ที ขอ้ ทีอ่ ยู่ โรคโคนเน่า เหนือดนิ มรี อยช้ำ� สังเกตได้จากอาการใบไหม้บริเวณปลายใบมาท่ีโคนใบ ยอด สนี ้ำ�ตาล ขา้ วโพดมสี ซี ดี เหย่ี วเฉาตอ่ มาจะไหมล้ กุ ลามเปน็ ยอดเนา่ บรเิ วณขอ้ ทอี่ ยู่ เหนอื ดนิ มรี อยชำ้� สนี ำ้� ตาลเมอ่ื ผา่ ดทู อ่ ล�ำเลยี งนำ้� และอาหารเปน็ สนี ำ�้ ตาล เนอื้ เยอื่ ภายในล�ำตน้ ถกู ยอ่ ยสลายมนี ำ้� เมอื กไหลมกี ลนิ่ เหมน็ จนล�ำตน้ แตกหกั ถา้ ขา้ วโพดแสดงอาการหลงั ตดิ ฝกั แลว้ จะไมส่ มบรู ณ์ เมลด็ ลบี การปอ้ งกนั ก�ำจดั ใหเ้ กษตรกรถอนแลว้ เผาท�ำลายตน้ ทเ่ี ปน็ โรคทง้ิ ทนั ที และใสป่ นู ขาวบรเิ วณทพี่ บโรคควรปลกู ขา้ วโพดบรเิ วณทม่ี กี ารระบายนำ�้ ไดด้ ี ไมท่ ว่ มขงั หลกี เลยี่ งการปลกู พชื หนาแนน่ และการใหป้ ยุ๋ ไนโตรเจน ปรมิ าณสงู เพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถสุ งู กวา่ 1.5%เพอื่ ใหม้ กี ารแขง่ ขนั ของจลุ นิ ทรยี ์ ปฏปิ กั ษต์ อ่ เชอื้ โรค ปลกู พชื หมนุ เวยี นในแหลง่ ทเี่ คยมโี รคระบาด 18 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรู้ในการกำ� จดั ศัตรพู ืช”

โรคใบด่าง สาเหตุเกิดจาก “ไวรัส” ข้าวโพดจะแสดงอาการใบด่างลายเขียวซีด สลับเขียวเข้ม หรืออาการด่างประจุดเหลือง หรืออาการประร่วมกับใบและ ยอดไหม้ ถ้าข้าวโพดยังเล็กอยู่มักพบอาการใบเหลืองซีดท่ัวท้ังใบ ยอดอ่อน มีสีเหลืองซีดหรือมีจุดประ ต้นแคระแกร็น ถ้าอาการโรครุนแรงต้นข้าวโพด จะแหง้ ตายขณะยงั เลก็ ตน้ ขา้ วโพดทโี่ ตแลว้ จะใหฝ้ กั ทไ่ี มส่ มบรู ณ์ กาบหมุ้ ฝกั เปน็ สเี หลอื งซดี และบางสว่ นของกาบหมุ้ ฝกั แหง้ เปน็ สนี ำ้� ตาลออ่ น กาบใบมสี ี เขยี วออ่ น ตอ่ มาจะแห้งเป็นสนี ำ้� ตาลออ่ น การป้องกนั ให้ก�ำจัดเพล้ียออ่ นซึ่ง เปน็ ตัวแมลงพาหะน�ำโรค ปลูกข้าวโพดพนั ธต์ุ ้านทาน ปลูกพืชหมุนเวียน คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 19 ชุด “ความรูใ้ นการก�ำจัดศัตรพู ชื ”

ปราบโรคแคงเกอร์ โรครา้ ยในมะนาว โรคแคงเกอร์ เป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าท�ำลาย ทางบาดแผลของพืช โดยเฉพาะพืชตระกูลส้ม เช่น ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะนาว เป็นต้น ซ่ึงระบาดมากในช่วงที่มีลมฝนแรง ถ้าระบาด มากๆ อาจท�ำใหผ้ ลผลติ ลดลง ขายไม่ได้ราคา นายสริ ภพ สทิ ธปิ ญั ญา เจา้ ของสวนมะนาวเมอื งพาน บา้ นใหม่ เจริญ หมู่ 12 ต.แม่อ้อ อ.พาน จ.เชียงราย เกษตรกรผู้ใช้ภูมิปัญญา ชาวบ้านในการก�ำจัดโรคแคงเกอร์ในมะนาว แนะน�ำ 2 วิธีที่ใช้ใน การปราบโรคน้ี โดย 2 วิธีน้ีจะใช้ได้ผลกับการระบาดในช่วงแรกๆ ของโรคแคงเกอรใ์ นมะนาว 20 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รพู ชื ”

วธิ ีท่ี 1 ปูนกินหมาก 2 ขดี นำ้�เปลา่ 20 ลติ ร วตั ถดุ บิ ทใ่ี ช้ น�ำ ปนู กินหมากผสมกบั น�้ำ 1. ปูนกินหมาก 2 ขดี 2. น้�ำเปลา่ 20 ลติ ร ทิ้งไว้ วิธีใช้ 5-10 นาที น�ำปูนกินหมากมาผสมกับ ใช้ผา้ ชุบน้ำ�ปูน นำ�้ ทงิ้ ไวป้ ระมาณ 5-10 นาที จากนน้ั ทาบางๆ บริเวณ กรองเอาแต่น้�ำปูน แล้วใช้เศษผ้า ล�ำ ตน้ ของมะนาว ชบุ นำ้� ปนู ทาบางๆ บรเิ วณล�ำตน้ ของ มะนาวที่เกิดโรค ครั้งแรกทา 3 วัน ท่เี กดิ โรค ต่อ 1 ครั้ง ติดตอ่ กัน 3 คร้ัง จากน้นั ให้ทาสัปดาห์ละคร้ัง และสังเกตว่า ถ้าอาการของโรคลดลง ให้ทาเหลือ เดือนละ 1 ครั้ง ใช้เป็นประจ�ำ เพื่อ ควบคุมไมใ่ ห้โรคแพร่กระจาย คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 21 ชดุ “ความรใู้ นการก�ำจัดศตั รพู ืช”

วธิ ีท่ี 2 ปนู ขาวกอ่ สรา้ ง 1 ถุง ขนาด 5 กโิ ลกรมั น้�ำ เปล่า 100 ลติ ร วตั ถดุ ิบทีใ่ ช้ น�ำ ปูนขาวมาละลายน�ำ้ 1. ปูนขาวก่อสร้าง 1 ถุง ขนาด 5 กโิ ลกรมั ท้ิงไว้ 2. นำ้� เปล่า 100 ลติ ร 5-10 นาที ให้นอนก้น วิธีใช้ กรองเอาเฉพาะ น�ำปูนขาวก่อสร้างมาละลายน้�ำ น�ำ้ ปนู ใส 2 ลติ ร ทิง้ ไวป้ ระมาณ 15-20 นาที ให้นอนกน้ จากนั้นให้กรองเอาเฉพาะน้�ำปูนใส ผสมนำ�้ เปลา่ ประมาณ 2 ลิตร ผสมกบั น�ำ้ เปล่า 100 100 ลติ ร ลิตร ฉีดพ่นต้นมะนาวให้ท่ัว 7 วันคร้ัง เพื่อป้องกันและก�ำจัดโรคแคงเกอร์ ฉดี พ่นใหท้ ่วั ทกี่ �ำลงั ระบาด เนอื่ งจากนำ�้ ปนู พวกนเ้ี ปน็ ดา่ ง จงึ ไมค่ วรผสมรวมกบั ปยุ๋ ฮอรโ์ มน ทางใบสมนุ ไพรตา่ งๆและสารเคมี ทางใบท่ีเป็นกรด เพราะจะท�ำให้ นำ้� ปนู ใสเสอี่ มสภาพ จงึ เหมาะกบั การใชเ้ ดย่ี วๆ เทา่ นนั้ 22 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรใู้ นการกำ� จัดศตั รพู ชื ”

สารพดั โรคในพริก กบั วธิ ปี อ้ งกนั และแกป้ ญั หา ช่วงที่เกษตรกรก�ำลังเก็บเก่ียวผลผลิตพริกที่ออกผลมาอย่าง มากมาย แตม่ หี ลายรายทตี่ อ้ งประสบปญั หาการระบาดของโรคตา่ งๆ ซึ่งในบางคร้ังระบาดเยอะจนแก้ปัญหากันไม่หวาดไม่ไหว ท�ำเอา เกษตรกรตอ้ งกุมขมบั ปวดหวั หาวิธีแกป้ ัญหากันยกใหญ่ มาดกู ันวา่ โรคของพริกมีอะไรบ้าง? การป้องกันและแก้ปัญหาอย่างถูกวิธีนั้น มีวิธีอย่างไร? เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง มีคุณภาพ ไม่เกิดความเสียหาย และไดร้ ับผลตอบแทนทีค่ ุ้มคา่ แก่การลงทุน คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 23 ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รูพชื ”

โรคแอนแทรก็ โนสหรอื โรคกงุ้ แหง้ สาเหตมุ าจากเชอื้ รา ขอ้ สงั เกต คอื พรกิ จะ เป็นจุดฉ�่ำน้�ำรูปวงรีหรือรูปไข่ และแผลจะขยาย ได้กว้างอย่างไม่มีขอบเขต จากน้ันแผลจะบุ๋มลึก เป็นสีน�้ำตาล และมีจุดสีด�ำเรียงซ้อนกันในแผล และแผลอาจมีเมือกสีส้มอ่อน ผลพริกจะโค้งงอ หรือหดย่นคล้ายกุ้งแห้ง ในขั้นรุนแรงจะท�ำให้ก่ิง แหง้ เชอื้ โรคนสี้ ามารถตดิ ไปกบั เมลด็ พนั ธ์ุ ปลวิ ไป ตามลม หรอื ตกค้างในดิน และสามารถระบาดได้ อยา่ งรวดเรว็ ในสภาพอากาศทมี่ อี ณุ หภมู ริ ะหวา่ ง 27 ถึง 30 องศาเซลเซยี ส แชเ่ มล็ดพนั ธุ์ในน�้ำ อนุ่ การป้องกันและกำ� จัด ใชส้ ารเคมีหรือ เลือกเมล็ดพันธุ์ที่ไม่เป็นโรค คลุกเมล็ดพันธุ์ น�ำ้ หมกั สมนุ ไพร ดว้ ยสารเคมีเชน่ สารแมนโคเซบหรอื สารคารเ์ บน็ ดาซมิ กอ่ นปลกู เพอ่ื ฆา่ เชอ้ื โรคทต่ี ดิ มากบั เมลด็ พนั ธ์ุ หรอื แช่ ฉดี พน่ ใหท้ ่ัว เมล็ดพันธุ์ในน้�ำอุ่นอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที ควรเว้นระยะห่างตามความเหมาะสม เพื่อให้ อากาศถ่ายเท ต้นพริกได้รับแสงแดดทั่วถึง และง่าย ตอ่ การก�ำจดั โรค ควรพน่ สารเคมหี รอื นำ้� หมกั สมนุ ไพร ป้องกันโรค ช่วงท่ีต้นพริกออกดอกจนถึงช่วงที่ติดผล ตัดก่ิงหรือผลที่เป็นโรคไปท�ำลายด้วยการเผา เพื่อลด เชอื้ สาเหตใุ หน้ อ้ ยลง หากพบการระบาดของโรค ใหใ้ ช้ สารเคมีหรือน้�ำหมกั สมุนไพรก�ำจดั โรคฉดี พน่ ให้ทั่ว 24 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรใู้ นการก�ำจัดศัตรูพชื ”

โรคเนา่ เปยี ก โรคนมี้ เี ชอื้ ราเปน็ สาเหตุ ท�ำใหเ้ นอื้ เยอ่ื ของ ยอดอ่อน ใบอ่อน ตาดอก และดอกเน่าเละ เป็น สนี ำ้� ตาลด�ำ โดยลกุ ลามจากยอดลงมา ใบจะไหม้ มีสีน้�ำตาลด�ำอย่างรวดเร็ว และลุกลามไปยัง ส่วนอ่ืนๆ ซ่ึงความช้ืนในแปลงท่ีสูงจะท�ำให้เกิด การระบาดอยา่ งรนุ แรงได้ ดแู ลตัดแต่งตน้ พรกิ ใหด้ ูโปรง่ การป้องกนั และกำ� จัด เวน้ ระยะปลูกท่เี หมาะสม เวน้ ระยะปลกู ทเ่ี หมาะสม ไมป่ ลกู ตน้ พรกิ ชดิ กนั จนเกนิ ไป ท�ำใหก้ ารระบาย อากาศไมด่ ี และมีความช้นื สูง ดูแลตัดแต่งทรงพุ่มของต้นพริกให้ ดูโปร่ง และไม่แน่นทึบจนเกินไป หาก พบกิ่งที่เป็นโรค ให้ตัดทิ้งและน�ำไปเผา ท�ำลาย แลว้ ใชส้ ารเคมี เชน่ สารไตรโฟรนี สารประกอบทองแดง หรอื สารไทอะเบน ดาโซล ฉีดพ่นก�ำจัดโรค หรือใช้น�้ำหมัก สมนุ ไพรก�ำจดั คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 25 ชุด “ความรู้ในการกำ� จดั ศัตรูพืช”

โรคเห่ียวทเ่ี กดิ จากเชอื้ ราฟซู าเรยี ม ออกซสิ ปอรมั โรคนมี้ กั เกดิ ขนึ้ เมอ่ื มกี ารปลกู พรกิ ซำ้� ทเ่ี ดมิ เปน็ เวลานาน เพราะเช้ือราอาศัยอยู่ในซากตา่ งๆ ในดนิ ได้ดี เร่ิมจากเข้าท�ำลายส่วนรากหรือล�ำต้นที่ระดับ คอดินหรือใต้ดิน เมื่อรากเน่า ใบล่างจะเหลืองและ ลกุ ลามขน้ึ ดา้ นบนเหยี่ วและรว่ งอาการรนุ แรงถงึ ขนั้ ยนื ต้นตาย มกั เกดิ โรคในระยะออกดอกและตดิ ผล การป้องกนั และกำ� จดั ปลูกพชื หมนุ เวยี น ข้าวโพด พรกิ ถว่ั หลีกเลี่ยงการปลูกพริกซ้�ำท่ีเดิมเป็นเวลานาน หากจ�ำเปน็ ตอ้ งปลกู ซ�้ำที่เดิม ควรปลูกพืชหมนุ เวียน ไถพรวนดินเพือ่ ลดการสะสมเชอ้ื โรค เช่น ข้าวโพด หรือพืชตระกูลถ่ัว เป็นต้น หรือก�ำจัด ซากพืชออกจากพ้ืนท่ีเพาะปลูก แล้วไถพรวนดิน เพ่ือลดการสะสมเชื้อโรค ปรับสภาพความเป็นกรด เป็นด่างของดิน และเพิ่มจุลินทรีย์ในดินด้วยการ ใส่ปูนขาวหรอื ปูนมาร์ล อตั รา 200 ถึง 400 กโิ ลกรัม ต่อไร่ และใส่อินทรียวัตถุ อัตรา 2 ถึง 4 ตันต่อไร่ ที่ส�ำคัญเกษตรกรต้องถอนต้นท่ีเป็นโรคออกจาก แปลง แลว้ ใชส้ ารเมตาแลกซลิ หรอื สารอที รไิ ดอะโซล หรอื สารพซี เี อน็ บผี สมอที รไิ ดอะโซล หรอื สารชวี ภณั ฑ์ ราดดนิ บริเวณที่ถอนตน้ ออกไป 26 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรใู้ นการกำ� จัดศัตรูพืช”

โรคเหย่ี วทเี่ กดิ จากเชอื้ ราไฟทอฟทอรา แคพไซไค ลกั ษณะอาการของโรค โคนตน้ และรากจะเนา่ เกิดอาการเหี่ยวในระยะติดผล ผลมีลักษณะฉ่�ำน�้ำ เนอื้ ผลเปน็ สดี �ำ ในขน้ั รนุ แรงจะเขา้ ท�ำลายเมลด็ และ ยืนต้นตาย เพมิ่ จลุ นิ ทรยี ์ในดนิ การป้องกันและกำ� จัด ดว้ ยการใส่ปูนขาว หลีกเล่ียงการปลูกพริกซ้�ำท่ีเดิมเป็นเวลานาน ใสป่ ุย๋ คอกและป๋ยุ หมกั หากจ�ำเป็นต้องปลูกซ้�ำท่ีเดิม ควรปลูกพืชหมุนเวียน ผสมเชอื้ จุลินทรยี ์ปฏิปักษ์ เช่น ข้าวโพด หรือพืชตระกูลถั่ว เป็นต้น หรือก�ำจัด ซากพืชจากพื้นท่ีเพาะปลูก แล้วไถพรวนดิน เพ่ือลด การสะสมเช้ือโรค ปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่าง ของดิน และเพิ่มจุลินทรีย์ในดินด้วยการใส่ปูนขาว หรือปูนมาร์ล ในอัตรา 200 ถึง 400 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่อินทรียวตั ถใุ นอตั รา 2 ถงึ 4 ตนั ต่อไร่ ก่อนปลูก ต้นกล้า ใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก ผสมเช้ือจุลินทรีย์ ปฏิปักษ์ เช่น เช้ือราไตรโคเดอร์มา หรือเชื้อบาซิลลัส อตั รา 80 ถึง 150 กรัม รองกน้ หลุม หม่ันส�ำรวจแปลงปลูก หากพบต้นท่ีเป็นโรค ให้ถอนออกไปเผาท�ำลาย และพ่นสารเคมีป้องกัน ก�ำจัดโรค เช่น สารเมทาแลกซิล หรือสารฟอสอีทิล- อะลมู เิ นียม คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 27 ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รูพืช”

โรคเหยี่ วทเ่ี กดิ จากเชอื้ แบคทเี รยี เชอื้ แบคทเี รยี จะเขา้ ท�ำลายทางรอยแผล ที่เกิดจากการเข้าท�ำลายของแมลงหรือสัตว์ ที่อาศัยอยู่ในดิน ท�ำให้เกิดอาการเห่ียวเขียว กระจายเปน็ กลมุ่ ๆ ยอดและกง่ิ ใบจะลลู่ งในชว่ ง กลางวนั และฟน้ื ตวั ในชว่ งกลางคนื ในขน้ั รนุ แรง จะเห่ียวและยืนต้นตายขณะท่ีใบยังเขียวอยู่ได้ ภายใน 2 ถงึ 3 วนั การป้องกันและก�ำจดั ถอนต้นที่เป็นโรคออกไปท�ำลายด้วย การเผาไถตากดิน เพื่อท�ำลายเช้ือใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เพ่ือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์แข่งขันในดินปลูกพืช หมนุ เวียน เชน่ ขา้ วโพด หรอื พชื ตระกลู ถ่วั ถอนตน้ ที่เป็นโรค ปลูกพชื หมนุ เวียน ออกจากแปลง เชน่ ข้าวโพด พรกิ ถั่ว แล้วนำ�ไปเผาทำ�ลาย 28 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรใู้ นการก�ำจดั ศัตรพู ืช”

โรครากเนา่ และโคนเนา่ การปอ้ งกนั และก�ำจัด โรคน้ีมีสาเหตุเกิดจากราเมล็ด ให้ก�ำจัดเศษซากต้นพริกและวัชพืชออก ผักกาด ท�ำใหต้ ้นกล้าเนา่ หรือท�ำให้ต้น จากแปลงปลูกให้หมด หลังการเก็บเก่ียว ไม่ควร ที่เจริญเติบโตแล้วเกิดอาการใบเหลือง ไถกลบ เม่ือก�ำจัดเศษต่างๆ ออกไปหมดแล้ว จึง เหี่ยว ร่วง และยนื ต้นตาย ไถพลิกดิน และตากดินไว้อย่างน้อย 7 วัน เพื่อ ฆ่าเชื้อโรคท่ีอาจตกค้างอยู่ในดิน ควรปลูกพืช แชเ่ มล็ดพันธุ์ หมนุ เวยี น กอ่ นปลกู พรกิ รอบตอ่ ไป ใสป่ นู ขาวและ ในน้ำ�อุน่ อนิ ทรยี วตั ถใุ หด้ นิ เพอ่ื ปรบั สภาพดนิ และชว่ ยเพม่ิ จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน แช่เมล็ดพันธุ์ในน้�ำ ถอนตน้ ที่ อุน่ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นานประมาณ 30 เป็นโรคออก นาที และ/หรือคลุกสารป้องกันและก�ำจัดเชื้อรา จากแปลง ตรวจสอบตน้ กล้าก่อนการย้ายปลกู เพ่ือให้แน่ใจ ว่าต้นกล้ามีความแข็งแรงและปลอดโรค รองก้น แลว้ น�ำ ไป หลุมปลูกต้นกล้าด้วยสารเช้ือราไตรโคเดอร์มา เผาทำ�ลาย ฮาร์เซียนัม หรือผงจุลินทรีย์บาซิลลัส ซับติลิส ควรปลกู พรกิ ในระยะหา่ งทเี่ หมาะสม ไมค่ วรปลกู ชดิ กันเกนิ ไป และหมัน่ ส�ำรวจแปลงปลกู หากพบ อาการของโรคปรากฏ หรือพบการระบาดให้รีบ ก�ำจัดในทันที โดยการถอนต้นพริกไปเผาท�ำลาย จากน้ันขุดดินบริเวณหลุมปลูกออกไปนอกแปลง แล้วใช้สารเทอร์ราคลอร์ หรือสารเทอร์ราคลอร์ ซเู ปอร-์ เอกซ์พน่ หรอื ราดดนิ เพอ่ื ก�ำจดั เชอื้ หรอื คลกุ ดนิ บรเิ วณหลมุ ปลกู ดว้ ยสารเชอื้ ราไตรโคเดอรม์ า คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 29 ชุด “ความรู้ในการกำ� จดั ศตั รพู ชื ”

โรคใบด่างทเ่ี กิดจากเช้ือไวรสั CVMV(Chilliveinalmottlevirus) เช้ือไวรัสชนิดน้ีท�ำให้เน้ือใบด่างเขียวซีด โดยเฉพาะสว่ นของปลายใบ ขนั้ รนุ แรงใบจะเลก็ ลีบ ใบยอดหด ส้ัน ร่วงง่าย ต้นพริกจะหยุดการ เจริญเติบโต ให้ผลผลิตน้อยลง ขนาดผลเล็กลง ผลดา่ ง รปู รา่ งบดิ เบยี้ ว และผวิ ผลขรขุ ระ แพรเ่ ชอื้ ด้วยการสัมผัส โดยมีเพล้ียอ่อนเป็นแมลงพาหะ เชอ้ื ไวรสั สาเหตขุ องโรคนมี้ พี ชื อาศยั อยหู่ ลายชนดิ เชน่ ต้นล�ำโพง ตน้ ยาสูบ และมะเขือเทศ การปอ้ งกันและกำ� จัด ถอนต้นพริกท่ีเป็นโรคใบด่างไปเผาท�ำลาย ก�ำจัดเศษซากต้นพริกไปให้หมดด้วยเช่นกัน ป้องกันและก�ำจัดเพล้ียอ่อนด้วยการฉีดพ่นสารสกัดจากพืช เช่น สะเดา หางไหล สาบเสือ ตะไคร้หอม และดาวเรือง ผสมกับน�้ำผสมผงซักฟอกเจือจาง หรือน�้ำยาล้างจานเจือจาง หม่ัน ตรวจสอบแปลงปลกู หากพบการเกดิ โรคใหร้ บี ก�ำจดั กอ่ นแพรร่ ะบาดก�ำจดั วชั พชื บรเิ วณแปลงปลกู เปน็ ประจ�ำ เพอ่ื ไมใ่ ห้เปน็ แหลง่ อาศยั ของแมลงพาหะ ปลูกพืชหมนุ เวยี นสลับกับการปลูกพริก ถอนตน้ ท่ีเป็นโรค กำ�จัดเพลีย้ อ่อนดว้ ยการ ไปเผาทำ�ลาย ฉีดพน่ สารสกัดจากพชื 30 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการกำ� จดั ศตั รูพชื ”

โรคใบด่างทเี่ กิดจากเช้ือไวรสั PVY ป้องกันและกำ�จัดโรค วธิ เี ดียวกบั โรคใบดา่ ง (Potato virus Y) ท่ีเกดิ จากเชือ้ ไวรัส CVMV เรม่ิ จากเสน้ ใบบวม ใส ใบดา่ ง หดยน่ ตน้ แคระแกรน็ ผลผลติ ลดลง ขนาดผลเลก็ ดา่ ง และรปู รา่ งผดิ ปกติ มเี พลยี้ อ่อนเป็นแมลงพาหะเช่นเดียวกับโรคใบด่างที่เกิดจากเชื้อ ไวรสั CVMV และมีพชื อาศยั คือ ตน้ ยาสูบ และมะเขือเทศ การปอ้ งกันและก�ำจดั ป้องกันและก�ำจัดโรคด้วยวิธีเดียวกับโรคใบด่างท่ี เกดิ จากเชอื้ ไวรสั CVMV ไมค่ วรปลกู พรกิ สายพนั ธท์ุ อ่ี อ่ นแอ ไม่ทนต่อโรคร่วมกับพืชอาหารของเชื้อสาเหตุของโรคนี้ เช่น มันฝรัง่ ยาสูบ และมะเขือเทศ ปอ้ งกนั และก�ำ จดั ดว้ ยวธิ เี ดยี วกบั โรคใบดา่ งท่เี กดิ จากเช้อื ไวรสั โรคใบดา่ งจากเชอ้ื ไวรสั CVMV CMV (Cucumber mosaic virus) ท�ำให้ใบด่าง มีสีเขียวอ่อนสลับสีเขียวเข้ม หรือ สีเหลือง หรือจุดเหลืองกระจายตามใบ ต้นแคระแกร็น ไม่ออกดอก ใบเล็กลง ผลมีจุดสีเหลืองซีด ผิวผลหยาบ ผลมีรูปร่างผิดปกติ เพลี้ยอ่อนเป็นพาหะน�ำโรค และมัก เกิดการระบาดรว่ มกับพืชตระกลู แตง การป้องกันและก�ำจดั ป้องกันและก�ำจัดด้วยวิธีเดียวกับโรคใบด่างที่เกิด จากเช้ือไวรัส CVMV ไม่ควรปลูกพริกสายพันธุ์ที่อ่อนแอ ไม่ทนตอ่ โรครว่ มกบั พืชตระกูลแตง ถอนตน้ และก�ำจดั เศษ ซากต้นพริกที่เป็นโรคไปเผาท�ำลาย ก�ำจัดวัชพืชไม่ให้เป็น แหล่งอาศยั ของเพลย้ี ออ่ น คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 31 ชดุ “ความรใู้ นการก�ำจัดศตั รพู ืช”

โรคใบด่างทีเ่ กดิ จากเช้ือไวรัส TEV (Tobacco etch virus) เกิดอาการเส้นใบมีลักษณะใส เป็นแถบ ใบและผลด่างเป็นวงซ้อน ส่วนเนื้อเยื่อเป็นวงแห้ง สีเหลือง ผลมีรูปร่างและขนาดที่ผิดปกติ ใบอ่อน ที่แตกมาใหม่มีขนาดเล็กลง ใบด่าง หด ย่น อาจ เกิดอาการรากแห้ง เปลี่ยนเป็นสีน้�ำตาล ต้นเหี่ยว ใบร่วง และตน้ ตายภายใน 1 ถงึ 2 สปั ดาห์ มเี พลยี้ อ่อนเปน็ พาหะน�ำโรค โรคใบหงกิ เหลือง เกดิ จากเชอื้ ไวรสั ใบหงกิ เหลอื ง ทท่ี �ำให้ ใบพริกด่างเหลือง และโปร่งแสงระหว่างเส้น ใบ หรือเส้นใบเหลืองเป็นร่างแหบริเวณโคน ใบและขอบใบ ใบโค้งงอคล้ายรูปถ้วย กลาง ใบหงิกย่น ผลผลิตลดลง ต้นพริกหยุดการ เจริญเติบโต โรคน้ีมีแมลงหว่ีขาวเป็นพาหะ พบระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง โดยมีพืชอาศัย หลายชนิด เช่น กระเจี๊ยบมอญ แตงกวา พืช ตระกูลถั่วบางชนิด บวบเหล่ียม พรกิ ฟักเขยี ว ฟักทอง มะเขือเทศ มะระจีน กะทกรก ครอบ จักรวาล พันงูเขียว มะเขือยักษ์ ไม้กวาด สาบแร้งสาบกา ผกั แครด และหญา้ ยาง 32 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรูใ้ นการกำ� จดั ศัตรพู ืช”

การป้องกันและกำ� จดั ป้องกันและก�ำจัดโรคด้วยวิธีเดียวกันกับ โรคใบด่างท่ีเกิดจากเช้อื ไวรสั CVMV ไม่ควรปลกู พริกสายพันธุ์ที่อ่อนแอ ไม่ทนต่อโรคร่วมกับพืช ตระกูลแตง ถอนต้นและก�ำจัดเศษซากต้นพริกท่ี เปน็ โรคไปเผาท�ำลาย ก�ำจดั วชั พชื ไมใ่ หเ้ ปน็ แหลง่ อาศัยของเพล้ยี ออ่ น ป้องกันและก�ำ จดั ดว้ ยวธิ เี ดียวกับ โรคใบด่างจากเช้ือไวรัส CVMV การป้องกันและกำ� จัด เลอื กพนั ธพ์ุ รกิ ทม่ี คี วามตา้ นทานตอ่ โรค ใชแ้ ผน่ พลาสตกิ สบี รอนซค์ ลมุ แปลงเพอื่ ไลแ่ มลง ลดการระบาดของแมลงพาหะ โดยควบคุมวชั พชื และท�ำกับดกั กาวเหนยี ว หม่นั ส�ำรวจ หากพบ ตน้ พรกิ ทมี่ อี าการของโรค ใหท้ �ำการถอนไปเผาท�ำลาย ก�ำจดั วชั พชื ทเ่ี ปน็ แหลง่ อาศยั และสะสม ของเชอ้ื ไวรสั ใชส้ ารเคมี เชน่ สารอมิ ดิ าโคลพรดิ สารคารโ์ บซลั แฟน สารอะซเี ฟต สารไบเฟนทรนิ หรอื ใชน้ ำ้� หมกั สมนุ ไพรก�ำจัดแมลงหวี่ขาว ปลกู พืชหมนุ เวียนสลับกับการปลกู พรกิ ใชแ้ ผน่ พลาสตกิ สีบรอนซค์ ลุมแปลง กำ�จัดวชั พชื ทเ่ี ปน็ แหลง่ อาศยั เพอ่ื ไล่แมลงและลดการระบาดของแมลงพาหะ และแหลง่ สะสมของเช้ือไวรสั คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 33 ชดุ “ความรูใ้ นการก�ำจดั ศตั รูพชื ”

โรคใบจุดตากบ มีเช้ือสาเหตุคือเชื้อรา ท�ำให้เกิดแผล วงกลมหรือทางยาว มขี อบแผลสีนำ้� ตาลเขม้ เนื้อ แผลสีน้�ำตาลอ่อน กลางแผลสีเทา หรือขาวท่ี บริเวณใบ ล�ำต้น ผล และก้านผล ในขั้นรุนแรง แผลจะขยายตดิ กนั ท�ำใหใ้ บไหมห้ รอื หลดุ พบการ ระบาดในสภาพอากาศรอ้ นชนื้ มลี มและสตั วเ์ ปน็ พาหะ เช้ือสาเหตุของโรคนี้สามารถมีชีวิตอยู่ได้ นานในซากพชื ในดิน และเมลด็ พันธุ์ ลดการใหน้ �ำ้ การปอ้ งกันและกำ� จดั และฉดี พน่ สารเคมี เพอ่ื ป้องกันและก�ำ จดั โรค ไม่ควรปลูกต้นพริกแน่นหรือชิด กันจนเกินไป ควรปลูกเว้นระยะตามค�ำ เวน้ ระยะปลกู ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้อากาศถ่ายเท แนะน�ำในบทความการปลูกพริก เพื่อให้ อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ชว่ ยลดความชนื้ และปอ้ งกนั โรค เมอ่ื พบการเกดิ โรค ใหร้ บี ก�ำจดั ในทนั ที เพอ่ื ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด ในการก�ำจดั โรคนนั้ ใหล้ ดการใหน้ ำ�้ และ พ่นสารเคมีป้องกันและก�ำจัดโรค เช่น สารแมนโคเซบ หรือสารมาเนบ หรือสาร เบโนมิล หรอื น�้ำหมกั สมนุ ไพร 34 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการกำ� จดั ศตั รูพืช”

โรคล�ำตน้ ไหม้ ไถพลกิ ดนิ ตากทง้ิ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 7 วนั โรคนี้เป็นอีกโรคหน่ึงที่มีเช้ือราเป็นสาเหตุของ โรค อาการเรมิ่ จากรอยไหม้สดี �ำบริเวณล�ำตน้ การปอ้ งกนั และกำ� จดั ให้ไถพลิกดินและตากท้ิงไว้อย่างน้อย 7 วัน ก่อนท�ำแปลงปลูก จัดการระบบระบายในแปลงปลูก ระวงั อยา่ ให้น้ำ� ท่วมขงั ระวงั อย่าให้น�้ำจากแปลงปลูก ต้นพรกิ ทเี่ ปน็ โรคไหลผา่ นแปลงที่ไม่เป็นโรค ถอนต้นพริกที่เป็นโรคไปเผาท�ำลาย ใช้เชื้อ ปฏิปักษ์ คือ เช้ือราไตรโคเดอร์มา และแบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทีลิส หรือสารเมทาแล็กซิล หรือสาร คลอโรทาโลนิล หรือสารฟอสฟอริกแอซิด ฉดี สารเดอโรซาน โรคกงุ้ แหง้ เทยี ม หรอื สารรอฟรัส เกดิ จากเชอื้ รา ลกั ษณะอาการ คอื ดา้ นบนของใบ เพือ่ ป้องกัน เป็นแผลกลมสนี ำ�้ ตาล อาจมขี อบสเี หลอื งหรอื วงสนี ำ้� ตาล และกำ�จัดโรค ซอ้ นกนั คล้ายโรคกุ้งแห้ง โรคนี้มักเกิดท่ีผลมากกว่าท่ีใบ บริเวณรอยเจาะของแมลงวันผลไม้ หรือเน้ือเยื่อท่ีบาง ผลเปล่ียนเป็นสีขาวซีดและแห้ง จากการขาดแคลเซียม และโบรอน ในสภาวะอากาศช้ืน มักเกิดเส้นใยคล้าย ก�ำมะหยี่สีด�ำปกคลมุ แผล การปอ้ งกนั และก�ำจดั ดแู ลและบ�ำรงุ ตน้ พรกิ ใหไ้ ดร้ บั ธาตอุ าหารครบถว้ น ใชส้ ารเดอโรซานหรอื สารรอฟรสั เพอ่ื ปอ้ งกนั และก�ำจดั โรค คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 35 ชุด “ความรใู้ นการก�ำจดั ศัตรพู ืช”

โรคราแป้ง เกิดจากเช้ือรา มักระบาดในฤดูหนาว สังเกตเห็นอาการเร่ิมต้น มีผงคล้ายแป้งสีขาว ปกคลมุ ใบแก่ สว่ นลา่ งของล�ำตน้ หรอื สว่ นอนื่ ๆ เชน่ ยอดออ่ น ใบออ่ น หรอื ผลออ่ น ใหผ้ ดิ รปู รา่ ง และดูดนำ�้ เลย้ี งท�ำให้เหลอื งและต้นแห้งตาย การป้องกันและก�ำจดั ก�ำจัดซากพืช วัชพืชในแปลงให้หมด และใช้สารไดโนแคป ไตรโฟรีน และเบโนมิล ก�ำจดั เชอ้ื รา โรครากปม เกดิ จากไสเ้ ดอื นฝอยใชป้ ากแทง เน้ือเยื่อแล้วดูดน้�ำเล้ียงจากรากเป็น อาหาร ท�ำให้ต้นพริกชะงักการเจริญ เติบโต ผลผลิตลดลงและขนาดเล็กลง รากเป็นปมและเน่า ต้นแคระแกร็น เห่ียว ใบเหลือง จุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุ ของโรคอน่ื ๆ เขา้ ท�ำลายตน้ และตน้ ตาย ได้ การแพร่ระบาดของไส้เดือนฝอยน้ัน จะไปกับดิน น�้ำ ต้นกล้า และเคร่ืองมือ ทใี่ ชใ้ นแปลงปลกู ทมี่ ีไส้เดือนฝอย 36 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรใู้ นการกำ� จัดศัตรูพืช”

การปอ้ งกันและกำ� จัด ฟางแห้ง โรยแกลบหรือฟางแห้งให้ทั่ว แกลบ พื้นที่ท่ีจะเพาะปลูก หนาประมาณ 5 เซนติเมตร จากนั้นเผาแกลบหรือ โรยแกลบหรือฟางแห้งใหท้ ่ัวพืน้ ท่ีท่จี ะปลกู ฟางให้ทั่วนาน 8 ช่ัวโมง (อุณหภูมิท่ี เหมาะสมอยู่ที่ 600 องศาเซลเซียส) แลว้ เผาแกลบหรอื ฟางใหท้ ว่ั นาน 8 ชว่ั โมง แล้วใช้ดินโรยเพื่อดับไฟ เมื่อดินเย็นลง กอ่ นและหลงั ปลกู เรม่ิ ท�ำแปลง และท�ำการเพาะปลกู ตาม ปกติ หม่ันส�ำรวจแปลงปลูก หากพบ ควรไถพลกิ ดนิ ตากทิ้งไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 7 วัน ตน้ ท่เี ปน็ โรค ให้ถอนไปเผาท�ำลาย ก่อนและหลังปลูกควรไถพลิก หนา้ ดนิ ตากแดดทิ้งไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 7 วนั หากพบการระบาดของไส้เดือนฝอย ไม่ควรใช้เครื่องมือการเกษตรบริเวณ ท่ีพบการระบาดร่วมกับพื้นท่ีอ่ืน ใส่ปุ๋ย อนิ ทรยี ์เชน่ ปยุ๋ หมกั หรอื ปยุ๋ คอกชว่ ยลด ปรมิ าณไสเ้ ดอื นฝอย ปลกู พชื ตระกลู ถว่ั เช่น ถ่วั ลสิ ง หรอื ปอเทือง ปลูกดาวเรอื ง และงาสลบั กบั พรกิ ประมาณ1ถงึ 2ครง้ั เพ่อื ตดั วงจรชวี ติ ไสเ้ ดือนฝอย ขอบคณุ หนงั สอื วางแผนการปลกู สารพดั พรกิ ชว่ งแพง โดย อภชิ าติ ศรสี ะอาด และพชั รี ส�ำโรงเยน็ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 37 ชุด “ความรใู้ นการก�ำจัดศัตรพู ืช”

พิชิตราน�้ำคา้ ง โรคพชื สดุ ฮติ ฤดหู นาว เม่ือประเทศไทยเข้าสู่ฤดูหนาว โรคในพืชในฤดูหนาว ก็จะตามมาอย่างไม่หยุดไม่หย่อน ยิ่งพืชผักและผลไม้ฤดูหนาว ซึ่งจ�ำหน่ายได้ราคาดี โดยเฉพาะเกษตรกรในพ้ืนที่ภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้องระมัดระวังและดูแลพืชผลทางการ เกษตรเป็นอย่างมาก เพราะมีความเส่ียงสูงต่อการเกิดโรคพืชที่มา พร้อมกับอากาศหนาว จนอาจจะส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตร เสยี หายได้ 38 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรู้ในการก�ำจัดศัตรพู ชื ”

พชื ทม่ี กั พบโรค จ�ำ พวกแตง พชื ในตระกลู โรคท่ีมักจะเกิดกับพืชในหน้าหนาวที่เป็น ผกั กะหล�ำ่ ขา้ วโพดหวาน และไมด้ อก ศัตรูตวั รา้ ย ซง่ึ มกั พบเจอบอ่ ยช่วงทม่ี ีความชืน้ ในอากาศสงู อากาศหนาว น�ำ้ คา้ งลงจดั และ มเี ชอ้ื ราเปน็ ผงสขี าวหรอื เทา ฝนตกชุก คือ โรคราน�้ำค้าง มักพบในพืชผัก จ�ำพวกแตง พืชในตระกูลผักกะหล�่ำ ข้าวโพด ในตน้ ออ่ นจะเรม่ิ มแี ผล หวาน และไม้ดอก หากพืชเป็นโรคนี้จะส่งผล สเี หลอื งทใ่ี บเลย้ี ง ใหผ้ ลผลิตลดลง ซึ่งหากเปน็ มากและไม่ได้รบั การแก้ไข จะท�ำให้พืชเห่ยี วแห้งตายในทีส่ ุด วธิ กี ารสงั เกตงา่ ยๆ วา่ พชื ของเราตดิ โรค ราน�้ำค้างหรือไม่ ให้ดูท่ีใบของพืชจะมีกลุ่ม เชอ้ื ราเปน็ ผงสขี าวหรอื เทา และหลงั ใบจะเปน็ สีเหลือง และเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาลมีลักษณะ เหลยี่ ม สว่ นใหญเ่ กดิ จากใบทอ่ี ยดู่ า้ นลา่ งกอ่ น แล้วลามมาด้านบน ในต้นอ่อนจะเริ่มมีแผล สเี หลอื งทใี่ บเล้ยี ง และมกั จะหลดุ ร่วงไป คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 39 ชดุ “ความรูใ้ นการก�ำจัดศัตรพู ืช”

เวลารดน�ำ้ พชื วิธีพิชิตโรคราน�้ำค้างน้ันไม่ยาก ใหร้ ดจากดา้ นบน และเป็นเทคนิคแบบท่ีไม่ใช้สารเคมี ของพมุ่ ลงดา้ นลา่ ง เป็นหลักการของ นายสมปอง ฉิมด�ำ ของตน้ เรยี กวา่ เกษตรกร ต.บา้ นขาว อ.ระโนด จ.สงขลา ได้แนะน�ำวิธีการป้องกันโรคราน้�ำค้าง “ลา้ งใบพชื ” ในพืชปลูก วิธีง่ายๆ โดยเวลารดน�้ำพืช ให้รดจากส่วนบนของพุ่มลงด้านล่าง น�ำ้ สม้ ควนั ไม้ ของตน้ เรยี กวา่ “ลา้ งใบพชื ” ในชว่ งเชา้ ควบคูไ่ ปกบั การใหน้ �้ำ เพ่อื เปน็ การลา้ ง น้�ำค้างออกจากใบพืช โดยเฉพาะช่วง ที่อากาศหนาวเย็น หรือน�้ำค้างลงจัด หลังล้างใบพืชแล้ว ควรฉีดพ่นน้�ำส้ม ควันไม้ อัตรา 100 ซีซี ต่อน�้ำเปล่า 12 ลิตร ฉีดพ่นจากบนลงล่าง คลุมให้ทั่ว ต้นพืช ทุก 7-10 วัน เท่านี้ก็สามารถ ช่วยแก้ปัญหาโรคราน�้ำค้างท่ีเข้ามา รบกวนการปลูกพืชได้แล้ว ซ่ึงวิธีนี้ ใช้กับพืชตระกูลแตงและผักอื่นๆ แล้ว จะได้ผลดีมาก เมื่อปฏิบัติเป็นประจ�ำ จะชว่ ยแก้ปัญหาเรือ่ งโรครานำ�้ คา้ งได้ ในชว่ งทอ่ี ากาศหนาวเยน็ หรอื น�ำ้ คา้ งลงจดั ขอบคณุ www.rakbankerd.com หลงั ลา้ งใบพชื แลว้ ควรฉดี พน่ น�ำ้ สม้ ควนั ไม้ 40 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความรใู้ นการกำ� จัดศตั รูพืช”

ปราบเชอ้ื รา ทม่ี ากบั ฝน อย่างที่รู้ๆ กันว่า หากช่วงไหนฝนตกบ่อย หรืออากาศ ชื้นมากๆ เกษตรกรส่วนใหญ่ก็จะประสบปัญหากับโรคเชื้อราต่างๆ ที่ตามมากับความชุ่มชื้นของฝน ซ่ึงวิธีป้องกันและแก้ไขน้ันไม่ยาก อยา่ งทคี่ ิด การป้องกันพืชให้เสียหายน้อยที่สุดก็คือ ควรยกร่องและจัดท�ำ ทางระบายน้�ำในแปลงปลูกให้ดี เพ่ือป้องกันน�้ำท่วมขัง ซ่ึงจะท�ำให้ รากพืชขาดอากาศและตายได้ หากปลูกพืชท่ีเป็นโรงเรือน ควรให้ อากาศถ่ายเทสะดวก เพ่ือลดความช้ืนและป้องกันเชื้อรา เช่น เช้ือรา พิเทียม ท�ำให้เกิดรากเน่า โคนเน่า โรคยอดเน่าของต้นกล้าในพืชไร่ เชื้อราไฟทอฟทอรา ท�ำให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล เช้ือรา สเคลอโรเทยี ม ท�ำใหเ้ กดิ โรคกลา้ ไหม้ ราเมด็ ผกั กาด โรคเหย่ี วในพชื ผกั เช้ือราฟูซาเรียม ท�ำให้เกิดโรคเหี่ยวในไม้ดอก เช้ือราไรซ็อกโทเนีย ท�ำให้เกดิ โรคเนา่ คอดนิ คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 41 ชุด “ความรู้ในการกำ� จัดศัตรูพชื ”

หากพืชเกิดเชื้อราแล้ว เบ้ืองต้น น�ำ เชอื้ ราไตรโคเดอรม์ ามาโรยรอบๆ โคนตน้ ควรป้องกันการลุกลาม โดยเก็บผล นำ�ไตรโคเดอรม์ าผสมกับปุ๋ยหมัก ปยุ๋ คอก ที่ติดโรคไปท�ำลาย ตกแต่งก่ิงท่ีเป็น แลว้ น�ำ ไปรองก้นหลมุ หรือหวา่ นรอบทรงพ่มุ โรคและผลท่ีรว่ งไปท�ำลาย ควรระวงั โรคราแป้ง โรคราน�้ำค้าง โรคใบจุด และโรคแอนแทรกโนส โดยส�ำรวจ แปลงปลูกอย่างสม่�ำเสมอ เม่ือพบ ต้นท่ีเป็นโรค ให้ถอนไปท�ำลาย หรือ ถา้ เปน็ ไมม่ ากใชเ้ ชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อ เชอ้ื ราโรคพชื โรยรอบโคนตน้ ทแ่ี สดง อาการของโรครากเน่าโคนเน่า หรือ น�ำไตรโคเดอร์มา 1 ส่วน คลุกเคล้า ผสมกับปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก 50 ส่วน น�ำไปรองก้นหลุม หรือหว่านรอบ ทรงพุ่ม แต่ถ้าเป็นไม้กระถางก็คลุก ผสมกับดินปลูก อาจจะบวกหินแร่ ภูเขาไฟพูมิซซัลเฟอร์เพิ่มอีก 2-3 ช้อนโต๊ะต่อกระถาง เพียงเท่านี้พืช ของท่านก็จะปลอดภัยต่อโรคเชื้อรา ที่มากับฤดฝู นอยา่ งแนน่ อน ขอบคณุ ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ 42 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรใู้ นการก�ำจัดศัตรพู ชื ”

3 สูตรเด็ดกำ� จดั วชั พชื มน่ั ใจ ไมม่ สี ารเคมตี กคา้ ง ใครๆ ก็ทราบดีว่า ยาฆ่าหญ้าน้ันเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ และส่ิงแวดล้อมรอบแปลงเกษตร มีสารก่อให้เกิดมะเร็ง หากใช้ เป็นเวลานานอาจท�ำให้เป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ซ่ึงในแต่ละปีน้ัน ประเทศไทยมีการน�ำเข้ายาฆ่าหญ้าเป็นจ�ำนวนมาก ถึงแม้ทราบดี ถึงภัยของสารเคมี แต่เกษตรกรบางรายยังคงเส่ียงใช้ เพราะสะดวก ง่าย และเห็นผลในทนั ที ดังนั้น เราควรตระหนักถึงภัยของสารเคมีให้มาก ช่วยกันลด ละ เลิก ให้ได้มากท่ีสุด และหันมาใช้สารจากธรรมชาติแทนสารเคมี จะดที ่สี ุด คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 43 ชุด “ความรู้ในการก�ำจดั ศตั รพู ชื ”

สูตรท่ี 1 สูตรนำ้� สม้ สายชู น้ำ�ส้มสายชู เกลอื แกง นำ�้ ยาลา้ งจาน วตั ถดุ บิ ละลายส่วนผสมให้เข้ากนั น�ำ ไปพ่นก�ำ จดั วชั พชื • นำ�้ ส้มสายชู 3 ลิตร • เกลอื แกง 2 ถว้ ย • น้�ำยาลา้ งจาน 1 ถ้วย วิธีนำ� ไปใช้ • ละลายทุกอย่างให้เข้ากัน น�ำไปพ่น บรเิ วณทตี่ อ้ งการก�ำจดั หญา้ หรอื วชั พชื ใชเ้ วลาไม่เกิน 2 วัน จึงจะเห็นผล • ควรฉีดพ่นวันที่แดดจัด จะเห็นผลดี ท่สี ุด (ควรหลกี เลยี่ งวันทม่ี ฝี น) สตู รที่ 2 สตู รนำ�้ หัวผกั กาด (หวั ไชเทา้ ) นำ้�หวั ผกั กาด วัตถุดบิ น้�ำ มะพร้าวออ่ น • น้ำ� หวั ผักกาด 1 ส่วน • น�้ำมะพรา้ วอ่อน 1 ส่วน • ผงกลูโคส 1 ส่วน วิธที ำ� • น�ำสว่ นผสมทง้ั หมดผสมกนั หมกั ทงิ้ ไว้ 1 คนื ผงกลูโคส วิธีนำ� ไปใช้ น�ำ ส่วนผสมทง้ั หมดผสมกนั ใช้ 7 วันตอ่ ครง้ั ในอตั รา 20 ซซี ี ตอ่ น�้ำ 20 ลติ ร หมกั ทง้ิ ไว้ 1 คนื โดยใชใ้ นนาข้าวเม่ือข้าวยังเล็ก เพ่ือควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของหญา้ และสามารถใชฉ้ ดี พน่ มะนาวหรอื สม้ โอ ใหใ้ บรว่ ง จากนน้ั จะเรมิ่ ออกดอกนอกฤดกู าลไดอ้ กี ดว้ ย 44 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรใู้ นการก�ำจัดศตั รพู ืช”

เกลือแกง สตู รท่ี 3 สตู รเกลือ น�ำ้ เปล่า วัตถดุ บิ ป๋ยุ 21-0-0 • เกลือ 2 กิโลกรมั น�ำ เกลอื กับปยุ๋ มาผสมให้เข้ากัน • ปุ๋ย 21-0-0 2 กโิ ลกรัม • น�ำ้ 20 ลิตร วิธีท�ำ น�ำเกลือกับปุ๋ยมาผสมให้เข้ากัน จากนั้น น�ำไปผสมกบั น้�ำทเ่ี ตรียมไว้ วธิ ีน�ำไปใช้ สูตรน้ีให้น�ำไปฉีดในนาข้าวที่มีต้นข้าวสูง เหนือหัวเข่า เพียง 3 วัน ต้นหญ้าหรือวัชพืชก็จะ เหีย่ วแห้งตาย กลายเปน็ ปยุ๋ ให้กับขา้ วไดอ้ กี ดว้ ย หมายเหตุ ทุกสูตรก่อนน�ำไปใช้ควร จากน้ันผสมกับน�ำ้ ทเี่ ตรยี มไว้ ผสมน้�ำยาลา้ งจาน ประมาณ 1-2 ช้อนโต๊ะ แลว้ น�ำ ไปฉีดพน่ ต้นหญา้ หรือวัชพืช ตอ่ นำ�้ 20 ลติ ร ก่อนน�ำไปพ่นก�ำจดั วชั พืช ขอบคณุ www.postsod.com/rid-grass-agriculture คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 45 ชดุ “ความรู้ในการก�ำจดั ศัตรูพืช”

ดแู ลทเุ รยี นอยา่ งไร? เมอ่ื เปน็ “โรครากเน่าโคนเน่า” ในชว่ งทอี่ ากาศแปรปรวน ปรมิ าณนำ�้ ฝนมาก และฝนตกอยา่ งตอ่ เนอื่ งท�ำใหเ้ กดิ ความชนื้ ในอากาศสงู เกษตรกรหาโอกาสในการจดั การสวนและพน่ สารเคมี ไม่ได้ตามก�ำหนดเวลา ท�ำให้ “โรครากเน่าโคนเน่า” รุกระบาดสวนทุเรียน ผลผลิตเสียหาย เกษตรกรสวน ทุเรียนต้องใช้วิธีป้องกันก�ำจัดอย่างถูกต้องและเหมาะสม ช่วยแก้ ปญั หาตรงจดุ ลดความเสยี หายของผลผลติ หยดุ วงจรการระบาดของ โรครากเน่าโคนเน่าได้ผลจริง การเข้าท�ำลายของโรคเริ่มท่ีใบและกิ่งอ่อนมีอาการเน่า ใบอ่อน เหยี่ วเหลอื ง มจี ดุ แผลสนี ำ้� ตาลออ่ นฉำ่� นำ�้ และเปลย่ี นเปน็ สนี ำ้� ตาลด�ำ เส้นใบมีสีน้�ำตาลด�ำ ก่ิง ล�ำต้น และโคนต้นมีจุดฉ�่ำน้�ำสีน้�ำตาล และ มนี ำ�้ เยมิ้ ออกมาในชว่ งเชา้ เมอ่ื ถากเปลอื กจะพบวา่ เปลอื กเนา่ เนอ้ื ไม้ เป็นสีน้�ำตาล ส่วนท่ีเน่ามีกล่ินหืน แผลเน่าจะลุกลามรวดเร็ว มักพบ โรคร่วมกับการเข้าท�ำลายของมอดเจาะล�ำต้นทุเรียน และจะระบาด ในชว่ งฤดฝู นท่มี ีฝนตกชกุ ตดิ ต่อกนั 46 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชดุ “ความร้ใู นการก�ำจดั ศตั รพู ืช”

ตดั แต่งส่วนทเี่ ป็นโรค การควบคุมในเบื้องตน้ ไปเผาท�ำ ลายนอกแปลง หากพบโรคให้ตัดแต่งส่วนที่เป็นโรค น�ำไปเผา ฉดี ด้วยสาร ท�ำลายนอกแปลงปลูก จากนั้นให้ฉีดด้วยสารฟอสโฟนิก ฟอสโฟนิก แอซดิ 40% เอสแอล ผสมนำ้� สะอาด อตั รา 1:1 ใสก่ ระบอก ที่ลำ�ต้นหรอื กิง่ ฉดี ยา ฉดี เข้าล�ำต้นหรือกิง่ บริเวณตรงข้ามอาการของโรค ใกล้ๆ บริเวณ หรือส่วนท่ีเป็นเน้ือไม้ดีใกล้บริเวณท่ีเป็นโรค อัตรา 20 ท่เี ปน็ โรค มิลลิลิตรต่อต้น ทุก 30 วัน จากน้ันพ่นให้ท่ัวทรงพุ่มด้วย สารป้องกันก�ำจัดโรคพืชฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% พน่ ใหท้ วั่ ทรงพมุ่ ดับเบลิ ยูพี อตั รา 30-50 กรัมตอ่ นำ�้ 20 ลติ ร พ่นทุก 7 วนั ด้วยสารป้องกนั ใชส้ ลบั กบั สารเมทาแลกซลิ 25% ดบั เบลิ ยพู ี อตั รา 30-50 กรมั ตอ่ น�ำ้ 20 ลิตร ก�ำ จดั โรคพืช กรณโี รคเขา้ ทำ� ลายไม่รนุ แรง ใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์แบบใช้เช้ือราไตรโคเดอร์มา ฮาร์เซียนัม น�ำหัวเชื้อมาเพ่ิมปริมาณในข้าวสุก จากน้ัน หว่านส่วนผสมเช้ือสดให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่มจนถึงรอบ ชายพุ่ม อัตรา 50-100 กรัมต่อตารางเมตร หรือบริเวณ โคนต้นพชื ที่เกดิ โรค อัตรา 10-20 กรัมตอ่ ตน้  แบบใชเ้ ช้ือ แบคทเี รยี บาซลิ ลสั ซบั ทลี สิ  ใหใ้ ชเ้ ขม็ ฉดี ยาใสส่ ารละลาย ของเช้ือ อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน�้ำ 20 มิลลิลิตร ฉีดเข้า โคนต้นทุเรียน ต้นละ 3 จุด 1 คร้ัง จากนั้นลอกเปลือก ต้นทุเรียนบริเวณท่ีเป็นโรคออกแล้วทาด้วยผงเชื้อ อัตรา 1,000 กรมั ตอ่ น้�ำ 1 ลติ ร โดยจะต้องผสมสารจบั ใบ อตั รา 5 ซีซีต่อน�้ำ 20 ลิตร ราดดินบริเวณโคนต้นด้วยผงเชื้อ อัตรา 200 กรัมต่อน�้ำ 2 ลิตรต่อต้น โดยลอกเปลือกและ ราดดินซ้ำ� รวม 4 คร้งั คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” 47 ชดุ “ความรู้ในการกำ� จัดศตั รพู ืช”

กรณีโรคเขา้ ทำ� ลายรนุ แรง ขดู ผวิ เปลอื กบริเวณท่ีเปน็ โรคออก จากน้นั ทาแผลดว้ ย ใหเ้ กษตรกรถากหรอื ขดู ผวิ เปลอื กบรเิ วณทเี่ ปน็ โรคออก จากน้ันทาแผลด้วยสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช สารป้องกันก�ำ จดั โรคพืช ฟอสอีทิล-อะลูมิเนยี ม 80% ดบั เบิลยพู ี อัตรา 80-100 กรมั ตอ่ นำ�้ 1ลติ รหรอื สารเมทาแลกซลิ 25%ดบั เบลิ ยพู ี หากพบใบเหลือง ให้ราดดนิ อตั รา 50-60 กรัมต่อน�้ำ 1 ลิตร หรือสารเมทาแลกซิล+ ด้วยสารป้องกนั กำ�จัดโรคพชื แมนโคเซบ 65% ดับเบิลยูพี อัตรา 100 กรัมต่อน้�ำ 1 ลิตร ทุก 7 วัน จนกว่าแผลจะแหง้ พน่ สารฆา่ แมลงบนก่งิ หรือลำ�ตน้ ที่มีรูมอดเจาะ หากพบใบเหลอื งทงั้ ตน้ ใหร้ าดดนิ ดว้ ยสารปอ้ งกนั ก�ำจัดโรคพืชฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% ดับเบิลยูพี อตั รา 30-50 กรมั ต่อน้ำ� 20 ลติ ร หรือสารเมทาแลกซลิ 25% ดับเบลิ ยูพี อัตรา 30-50 กรัมตอ่ น�้ำ 20 ลติ ร โดย ร่วมกับการใช้ฟอสโฟนิก แอซิด 40% เอสแอล ผสม น้�ำสะอาด อตั รา 1:1 ใสก่ ระบอกฉดี ยา ฉีดเข้าล�ำต้น ถา้ พบกง่ิ แหง้ ทม่ี ีรอยเจาะท�ำลายของมอด ให้ตดั ไปเผาไฟท้ิง ส�ำหรับส่วนที่ไม่สามารถตัดท้ิงได้ ให้พ่น บนก่ิงใหญ่หรือล�ำต้นท่ีมีรูมอดเจาะด้วยสารฆ่าแมลง คลอร์ไพริฟอส 40% อีซี อัตรา 40 มิลลิลิตรต่อน�้ำ 20 ลิตร ส่วนต้นทุเรียนที่เป็นโรครุนแรงมากหรือ ยืนต้นแห้งตาย ให้ขุดออก แล้วน�ำไปเผาท�ำลาย นอกแปลง จากนั้นใสป่ นู ขาวและตากดนิ ไว้ระยะหน่ึง แล้วปลกู ใหม่ทดแทน ขอบคณุ www.kasetkaoklai.com และกรมวชิ าการเกษตร 48 คมู่ อื เกษตรกร “รไู้ วใ้ ชจ้ รงิ ” ชุด “ความรู้ในการกำ� จดั ศัตรูพืช”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook