Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore cloud_computing

cloud_computing

Published by Thalanglibrary, 2020-11-05 02:56:19

Description: cloud_computing

Search

Read the Text Version

พื้นฐานเทคโนโลยีเสมือน บทนำ เทคโนโลยีเสมือนเปนเทคโนโลยีที่ชวยสรางสภาพแวดลอมที่เปนอิสระตอกันใหกับสถาปตยกรรมแบบ หลายผูอาศัย เมื่อใชเทคโนโลยีเสมือนทรัพยากรในโครงสรางทางกายภาพ เชน กำลังการประมวลผล พื้นที่ จัดเก็บขอมูล เครือขาย หนวยความจำหลัก เปนตน จะถูกนำมาแบงปนใหกับผูใชหลายคนเสมือนหนึ่งผูใช แตละคนไดเขาถึงทรัพยากรเหลานั้นทางกายภาพ แตในเชิงกายภาพ ทรัพยากรเหลานั้นมาจากทรัพยากร เดียวกันทำใหผูใหบริการสามารถทำเครื่องที่มีคุณสมบัติการทำงานที่สูงมาจัดสรรแบงใหผูใชบริการหลายราย เชาแตล ะสว นไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและคมุ คา 3.1 ความหมายของเทคโนโลยเี สมือน เสมือน มีความหมายตรงตัววา สิ่งที่ไมจริง ในทางวิทยาการคอมพิวเตอรเสมือนแปลวา สภาพฮารดแวร ที่ไมใชของจริง เทคโนโลยีเสมือน คือ เทคโนโลยีท่ีทำซ้ำการทำงานของฮารดแวรทางกายภาพและนำเสนอสู ระบบปฏิบัติการเสมือนหนึ่งวาเปนฮารดแวรจริงโดยการสรางสภาพแวดลอมเสมือนขึ้น การทำเสมือนนั้น สามารถทำไดตงั้ แตแอปพลเิ คชัน เครอื ขาย ซอฟตแ วร ทเ่ี ก็บขอ มูล ระบบปฏบิ ตั ิการ ฯลฯ ดงั ภาพที่ 3.1 ในทาง ปฏบิ ัติเครอ่ื งทางกายภาพท่ีเรียกวา โฮสต (Host) ประมวลผลแอปพลิเคชันเทคโนโลยีเสมือนท่ีเรยี กวา ไฮเปอร ไวเซอร (Hypervisor) และเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนที่ถูกติดตั้งอยูบนไฮเปอรไวเซอรเรียกวา เกสต (Guest) ดังนน้ั ระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ีทำงานอยูบนเคร่ืองโฮสตจ ะถูกเรียกวา ระบบปฏิบตั กิ ารโฮสต และระบบปฏิบัติการท่ี ทำงานอยบู นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเสมือนจะถูกเรียกวา ระบบปฏิบตั ิการเกสต เทคโนโลยเี สมอื น แอปพลิเคชนั เครือขาย ซอฟตแ วร ที่เกบ็ ขอมลู ระบบปฏบิ ัติการ …... ไฮเปอรไ วเซอร การทําเสมอื นแบบเต็ม การทําเสมือนแบบ การทําเสมือนโดยใช ดา นขาง ฮารด แวรช ว ย ภาพที่ 3.1 รปู แบบท่ีหลากหลายของเทคโนโลยเี สมือนในปจ จุบนั ดดั แปลงรปู จาก: (Chirammal, Mukhedkar, and Vettathu 2016:6) 31

3.2 หลักการพื้นฐานเทคโนโลยีเสมือน กอนที่จะกลาวถึงประเภทในเทคโนโลยีเสมือนนั้น ผูอานควรเขาใจวิธีการทำงานของเทคโนโลยีเสมือน กอนวามันทำงานอยางไร โดยเริ่มตนจากวงแหวนการปองกัน (Protection Ring) ตาม เปนหลักการทาง วิทยาการคอมพิวเตอรที่ปกปองขอมูลหรือความลมเหลวจากการบังคับใชกฎความมั่นคงปลอดภัยเมื่อเขาถึง ทรพั ยากรในระบบคอมพิวเตอร ดงั ภาพที่ 3.2 วงแหวน 3 (Ring 3) สิทธิพเิ ศษต่าํ สดุ วงแหวน 2 (Ring 2) วงแหวน 1 (Ring 1) วงแหวน 0 (Ring 0) แกน (Kernel) ไดรเวอรอ ุปกรณ สทิ ธพิ เิ ศษสูงสุด ไดรเ วอรอ ปุ กรณ แอปพลิเคชนั ภาพที่ 3.2 วงแหวนการปองกนั ดัดแปลงรปู จาก: (Chirammal et al. 2016:8) ในวงแหวนการปองกันวงแหวนชั้นในสุดวงแหวน 0 เปนชั้นที่มีสิทธิพิเศษสูงสุด เปนชั้นที่ซอฟตแวร ติดตอโดยตรงกับฮารดแวร เชน หนวยประมวลผลกลาง หรือหนวยความจำหลัก โดยทั่วไปเฉพาะแกนของ ระบบปฏิบัติการเทานั้นที่ทำงานอยูวงแหวนชั้นนี้ วงแหวนชั้นถัดมาคือวงแหวน 1 และวงแหวน 2 สงวนไวให เฉพาะไดรเวอรอุปกรณนั้นเขาถึงโดยทั่วไปมี 2 ชั้น สวนชั้นท่ี 3 (Ring 3) เปนชั้นที่แอปพลิเคชันทำงาน โดยท่ี หากแอปพลิเคชันตองการเขาถึงฮารดแวร ระบบปฏิบัติการทั้งลีนุกซและวินโดวสจะเปดชองทางใหเขาถึงได ผานการเรียกอินพุตเอาตพุต (I/O Call) ไปยังแกนของระบบปฏิบัติการ แลวแกนของระบบปฏิบัติการจะ ตัวกำหนดสิทธิ์การเขาถึงวาแอปพลิเคชันดังกลาวสามารถเขาถึงฮารดแวรไดมากนอยเพียงใด โดยสรุป ใน สภาพที่ไมมีเทคโนโลยีเสมือน ระบบปฏิบัติการทำงานท่ีวงแหวน 0 สวนแอปพลิเคชันทำงานท่ีวงแหวน 3 ดัง ภาพที่ 3.3 32

วงแหวน 3 แอปพลิเคชันของผูใช วงแหวน 2 วงแหวน 1 ระบบปฏบิ ัตกิ ารเกสต การเรียก วงแหวน 0 อนิ พุต เอาตพุต สิทธพิ เิ ศษ ฮารด แวร ภาพที่ 3.3 การทำงานของระบบปฏบิ ตั ิการบนวงแหวนการปองกัน ดัดแปลงรปู จาก: (Chirammal et al. 2016:9) ที่ชั้นวงแหวน 0 นั้นแอปพลิเคชันสามารถรันคำสั่งในโหมดไรการปองกันคือสามารถเขาถึงฮารดแวรทุก อยางไดอยางไรเงื่อนไข ในเทคโนโลยีเสมือน ไฮเปอรไวเซอรจำเปนตองเขาถึงหนวยประมวลผลกลาง หนวยความจำหลัก และอุปกรณอินพุตเอาตพุต ดังนั้น ไฮเปอรไวเซอรจะตองทำงานชั้นที่ใกลวงแหวน 0 ที่สดุ ซง่ึ โดยท่ัวไป หากไมใ ชการชวยเหลือของการทำงานของหนวยประมวลผลกลางท่ีทำงานเฉพาะ ไฮเปอรไวเซอร จะตองทำงานชั้นที่วงแหวน 0 และระบบปฏิบัติการเครื่องเกสตจะทำงานชั้นที่วงแหวน 1 แทน แต ระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจะไมทราบถึงชั้นการทำงานของไฮเปอรไวเซอร ทำให ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครื่องเกสตจ ะตองทำงานช้ันวงแหวน 0 ดว ยเชนกัน ปญหาคอื มีเพียงซอฟตแวรเดียวเทาน้ันที่ สามารถทำงานบนชั้นวงแหวน 0 ได ดังนั้น ระบบปฏิบัติการเครื่องเกสตจะตองทำงานในวงแหวนชั้นที่สูงกวา แตยงั คงสงั่ งานไปยงั ฮารด แวรไ ด 3.3 วิธีการและประเภทในเทคโนโลยีเสมอื น แมวา เทคโนโลยีเสมือนสามารถถูกใชกบั หลายสว น ดัง เชน ฮารดแวร เครอื ขาย พนื้ ท่จี ดั เก็บขอมลู แอป พลิเคชัน การเขาถึง เปนตน ตำราเลมนี้จะเนนเทคโนโลยีเสมือนที่เปนกระบวนการซอนความซับซอนของ ฮารดแวรทางกายภาพทำใหเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง สามารถติดตั้งระบบปฏิบัติการไดหลายตัว หรือ เรียกวา แพลตฟอรมเสมือนโดยจะมีการทำงานของไฮเปอรไวเซอร (Hypervisor) มากั้นระหวางฮารดแวรและ ระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ีทำงานอยบู นไฮเปอรไ วเซอรอ ีกที การทำเสมือนของเทคโนโลยเี สมอื นแบงรูปแบบการทำงานออกเปน 3 ประเภท คือ 1) การทำเสมือนแบบเต็ม (Full virtualization) ในการทำเสมือนแบบเต็ม คำสั่งสิทธิพิเศษจะถูก เลยี นแบบเพื่อเอาชนะขอจำกัดทีร่ ะบบปฏิบัตกิ ารเกสตท่ีทำงานในวงแหวน 1 และไฮเปอรไวเซอรท่ี 33

ทำงานชั้นวงแหวน 0 การทำเสมือนแบบเต็มเปนวิธีการที่ถูกนำมาใชในไฮเปอรไวเซอรรุนแรก เทคนิคนี้ตองใชวิธกี ารแปลงคำส่งั ของหนว ยประมวลผลกลางจากระบบปฏิบตั กิ ารเกสตไ ปยังไฮเปอร ไวเซอรเพือ่ เขา ถงึ ฮารด แวรอกี ที ซง่ึ การแปลงคำสัง่ ของหนว ยประมวลผลกลางน้ันมีคาใชจ ายมากทำ ใหประสิทธิภาพของระบบปฏิบัติการเกสตชากวาการทำงานของระบบปฏิบัติการโดยตรงจาก ฮารด แวรมาก ดังภาพท่ี 3.4 วงแหวน 3 แอปพลเิ คชนั ผูใช การส่งั งานโดยตรง วงแหวน 2 จากผูใ ช วงแหวน 1 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเกสต วงแหวน 0 เคร่อื งคอมพวิ เตอร การแปลงคาํ สง่ั ของ เสมือน หนวยประมวลผล ฮารดแวรข อง กลางของ เครือ่ งคอมพิวเตอรโ ฮสต ระบบปฏิบตั ิการ ภาพที่ 3.4 รปู แบบการทำเสมอื นแบบเต็ม ดดั แปลงรูปจาก: (Chirammal et al. 2016:10) อยา งไรกต็ าม การทำเสมือนแบบเต็มจะทำใหระบบปฏบิ ัตกิ ารเกสตน ้ันเปน อะไรก็ได โดยทไี่ มร บั รูวา ตวั ระบบปฏิบัติการเกสตกำลังทำงานอยบู นไฮเปอรไวเซอร 2) การทำเสมือนแบบดานขาง (Paravirtualization) ในการทำเสมือนแบบดานขาง ระบบปฏิบัติการ เกสตจำเปนตองถูกแกไขเพื่ออนุญาตใหเขาถึงวงแหวน 0 ได หรือเรียกงายๆ คือ ระบบปฏิบัติการ เกสตรูจักวิธีการคุยกันกับไฮเปอรไวเซอรดวยวิธีพิเศษ เรียกวา ไฮเปอรคอล (Hypercalls) ทำให ระบบปฏิบัติการเกสตสามารถเขาถึงสิทธิพิเศษที่วงแหวน 0 ไดโดยตรง วิธีการนี้ระบบปฏิบัติการ เกสตทราบดีวากำลงั ทำงานอยูในสภาพแวดลอมเสมือน วิธีการนี้ใหประสิทธิภาพท่ีดีกวาเทคโนโลยี เสมือนแบบเต็ม แตระบบปฏิบัติการที่มาใชงานนัน้ จะตองมีแกนของระบบปฏิบัติการที่คอมไพลมา เพอ่ื ทำงานในสภาพแวดลอ มเสมอื นเทา นนั้ ดงั ภาพท่ี 3.5 34

วงแหวน 3 แอปพลิเคชันผใู ช การสัง่ งานโดยตรง วงแหวน 2 จากผูใช วงแหวน 1 วงแหวน 0 ระบบปฏิบัติการเกสต การเรยี กคาํ สั่งผานการทํา เฉพาะ เสมอื นถกู เปล่ยี นเปน คําสั่ง ของระบบปฏบิ ัติการปกติ การทาํ เสมือน ฮารด แวรของ เครื่องคอมพวิ เตอรโฮสต ภาพที่ 3.5 รูปแบบการทำเสมอื นแบบดานขา ง ดดั แปลงรูปจาก: (Chirammal et al. 2016:11) 3) การทำเสมือนโดยใชฮารดแวรชวย (Hardware assisted virtualization) ทั้ง Intel และ AMD ทราบดีกวาการทำเสมือนแบบเต็มและการทำเสมือนแบบดานขางมีขอจำกัดหลายอยาง ดังนั้น ใน สถาปตยกรรมแบบ x86 ดังนั้น Intel และ AMD จึงคิดคนสวนขยายคำสั่งของหนวยประมวลผล กลางเรียกวา Intel VT-x และ SVM ตามลำดับ การทำเสมือนโดยใชฮารดแวรชวยถูกออกแบบมา ใหประสิทธิภาพของระบบปฏิบัติการเกสตย ังมีประสทิ ธิภาพเต็มเสมอื นทำงานกับฮารดแวรโดยตรง โดยที่ไมผานไฮเปอรไวเซอร ตอมาสวนขยายคำสั่งเหลานั้นไดถูกพัฒนาตอและเปลี่ยนชื่อเปน VT และ SVM ในปจจุบันโดยการเพิ่มใหชั้นวงแหวน 1 มีสิทธิพิเศษสามารถเขาถึงฮารดแวรไดโดยตรง ดวยสวนขยายนี้ทำใหระบบปฏิบัติการเกสตที่ทำงานอยูชั้นวงแหวน 1 ติดตอกับฮารดแวรโดยตรง โดยท่ีไมต องเลยี นแบบคำสงั่ ในชัน้ วงแหวน 0 ดังภาพที่ 3.6 35

วงแหวน 3 แอปพลเิ คชนั ผูใช วงแหวน 2 การเรียก วงแหวน 1 อนิ พุต เอาตพ ุต วงแหวน 0 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเกสต วงแหวน 1 สทิ ธิพเิ ศษ ไฮเปอรไวเซอร ฮารดแวรข อง เครอื่ งคอมพวิ เตอรโฮสต ภาพท่ี 3.6 รูปแบบการทำเสมือนโดยใชฮารด แวรชวย ดัดแปลงรูปจาก: (Chirammal et al. 2016:13) การทำเสมือนในปจ จบุ ันตา งใชว ธิ ีการทำเสมือนโดยใชฮารด แวรช ว ย เพราะ เทคนคิ นีจ้ ะทำใหเทคโนโลยี เสมือนสามารถใชท รพั ยากรทม่ี ีอยใู นเครื่องไดอยา งมีประสิทธิภาพ 3.4 ประโยชนของการใชเทคโนโลยเี สมอื น เนื่องจากเทคโนโลยีเสมือนทำใหเกิดการจำลองฮารดแวรที่มีอยู 1 ชุดใหกลายเปนหลายชุดได จึงเกิด ประโยชนใ นหลายประการ ดังน้ี 1) ชวยดึงทรัพยากรของเครื่องแมขายไดสูงสุด เทคโนโลยีเสมือนชวยประหยัดพลังงาน และดึง ความสามารถของทรัพยากรเคร่ืองแมขายมาใชไดสูงสุด จงึ ทำใหศ นู ยกลางขอมูลสามารถลดจำนวน เครื่องแมขายที่ตองติดตั้ง ดังนั้น จำนวนสวิตช จำนวนเครือขาย ระบบไฟฟา เครื่องปรับอากาศ ก็ จะลดลงดวย ในขณะที่ผูอานสามารถจัดสรรเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนหลายเครื่องใหมีทรัพยากร รวมกันเทากับเครื่องแมขา ย 2) ความโดดเดี่ยวของบริการ หากไมมีเทคโนโลยีเสมือนแลว ทุกคนจะตองรันแอปพลิเคชันอยูใน เครื่องแมขายเพียงเครื่องเดียว ระบบปฏิบัติการเดียวกัน ทำใหอาจเกิดปญหาการบริหารจัดการ โดยเฉพาะเครื่องความมั่นคงปลอดภัย เทคโนโลยีเสมือนจัดสภาพแวดลอมที่เครื่องคอมพิวเตอร เสมือนเปน อสิ ระตอ กนั อยแู ลว จึงไมตอ งกงั วลเรอ่ื งน้ี 3) จัดหาทรัพยากรใหผูใชบริการไดรวดเร็วกวา ในกรณีที่เปนเครื่องคอมพิวเตอรเปลา ผูดูแลระบบ อาจตองใชระยะเวลาสักพักในการติดตั้งระบบปฏิบัติการและแอปพลิเคชันที่จำเปนกอนเริ่มใชงาน แตสำหรับเคร่ืองคอมพิวเตอรเ สมือน ผูอ านสามารถมีตนฉบบั ของระบบปฏิบตั ิการและแอปพลิเคชัน 36

เรม่ิ ตนและสรางเปนเคร่อื งคอมพวิ เตอรเสมอื นไดทีละหลายเครื่องพรอมกันก็ได และไมต อ งเสียเวลา พว งสายแลนกับเครอื่ งแมข า ยอกี ดว ย 4) การกูคืนจากภัยพิบัติ การกูคืนขอมูลเปนเรื่องงายในเทคโนโลยีเสมือนเพราะมีเครื่องมือท่ีชวย บนั ทึกสถานะของเคร่ือง ณ เวลาใดเวลาหน่ึงไวได ทำใหเ มือ่ เกิดปญหาการสามารถกูคืนสถานะของ เคร่อื ง ณ เวลาทส่ี ำรองขอมลู ไวได 5) กระจายโหลดการทำงานไดแบบไดนามิก โดยทั่วไปโหลดการทำงานของเครื่องแมขายมัก เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เทคโนโลยีเสมือนสามารถทำใหผูอานยายเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนที่มี โหลดการทำงานเยอะในเครื่องคอมพิวเตอรทางกายภาพเครื่องเดียวกัน กระจายออกไปยังเครื่อง คอมพวิ เตอรเคร่อื งอื่นได 6) สภาพแวดลอมทท่ี ำใหการพัฒนาและทดสอบซอฟตแ วรเ ร็วขึ้น เม่ือนึกถงึ การทดสอบซอฟตแวรท่ี พัฒนามาแลวติดตั้งลงไปในเครื่องแมขายนั้นเปนเรื่องยาก เพราะจะตองตั้งคาบางอยางที่เม่ือ ทดสอบซอฟตแ วรเ สร็จแลวจะตองตงั้ คา กลับมาเปน ดงั เดิมทำใหเสียเวลาและวนุ วายมาก เทคโนโลยี เสมือนชวยสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนที่ใชทดสอบซอฟตแวรโดยเฉพาะ และสามารถเปดปด การทำงานตามตองการ แมจะเกิดความลมเหลวจากการตั้งคาระบบปฏิบัติการระหวางทดสอบ ซอฟตแวรก ไ็ มเกดิ ปญหาในเครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน 7) เพิ่มความเสถียรและความมั่นคงปลอดภัยในกับระบบ เทคโนโลยีเสมือนสรางเลเยอรอีกชั้น ระหวางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนกับฮารดแวรจริง ในบางครั้งฮารดดิสกในเครื่องแมขายเสียหาย หากไมมีเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน เครื่องแมขายทั้งเครื่องก็จะไมสามารถทำงานได แตดวย เทคโนโลยีเสมือนจะมีเฉพาะเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ สมอื นที่ใชงานฮารดดิสกตัวน้นั ทเ่ี สียหายไป และยัง สามารถกูคืนกลับมาไดงาย ในกรณีของความมั่นคงปลอดภัย ในบางครั้งผูอานอาจมีเครื่อง คอมพิวเตอรเสมือนที่ไมตองการใหเชื่อมตออินเทอรเน็ต เทคโนโลยีเสมือนปดการเชื่อมตอ อินเทอรเ นต็ เฉพาะเครื่องได เครอื่ งสรางเครอื ขายเสมือนภายในหนวยที่สามารถเชื่อมตอกันระหวาง เครื่องคอมพิวเตอรเสมอื นกลมุ หน่ึงไดทำใหเ กิดความมนั่ คงปลอดภยั ในการบริหารจัดการเครอื ขา ย 8) ความเปน อสิ รภาพของระบบปฏบิ ตั ิการ เทคโนโลยีเสมือนชว ยใหร ะบบปฏิบัติการเกสตท ี่ทำงานอยู นั้นรูจักเฉพาะฮารดแวรของไฮเปอรไวเซอร ไมใชฮารดแวรจริงทำใหการทำงานเปนอิสระกับ ฮารดแวรที่ไมตองติดตั้งไดรเวอรเฉพาะเมื่อยายเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนไปยังเครื่องแมขายอื่น ประโยชนข อน้ีทำใหหากหนวยงานตองอัพเกรดเคร่ืองแมขายก็ไมตองกังวลวา เครื่องแมขายรุนใหม จะเขา กนั ไดกับระบบปฏบิ ัติการและแอปพลิเคชนั เดิมทท่ี ำงานอยบู นเครอ่ื งแมขายรุนเกา หรือไม ดว ยขอดีขอไดเปรียบดังกลา ว ทำใหเ ทคโนโลยีเสมือนเปนที่นิยมในทุกผูใหบ รกิ ารคลาวดใ นปจ จุบัน 37

3.5 องคป ระกอบและการปฏิสมั พนั ธระหวา งองคประกอบ ในการใชงานเทคโนโลยีเสมือนนั้น ไฮเปอรไวเซอรเปนซอฟตแวรหนึ่งที่รับผิดชอบในการติดตามและ ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนหรือระบบปฏิบัติการเกสต ไฮเปอรไวเซอรยังรับผิดชอบการทำเสมือนใน รูปแบบตาง ๆ ที่ไมเหมือนกันของแตละเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน ทำใหระบบปฏิบัติการเกสตทุกตัวที่ทำงาน อยูบนไฮเปอรไวเซอรจะรูจักฮารดแวร และใชไดรเวอรรุนเดียวกันทั้งหมด อยางไรก็ตาม ไฮเปอรไวเซอรใน ปจจุบันถูกแบงออกมาเปน 2 ประเภท คือ ไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 (Type 1 hypervisor) และไฮเปอรไว เซอรป ระเภท 2 (Type 2 hypervisor) ไฮเปอรไ วเซอรป ระเภท 1 เปนไฮเปอรไวเซอรท ป่ี ฏิสัมพนั ธกบั ฮารดแวรโดยตรงโดยท่ไี มจำเปนตองติดตั้ง ระบบปฏิบัติการกอนติดตั้งซอฟตแวรนี้ ดังภาพที่ 3.7 ไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 มีขอดีคือติดตั้งและตั้งคาได งาย โปรแกรมมีขนาดเล็ก และการที่ไมตองติดตั้งระบบปฏิบัติการกอนติดตั้งซอฟตแวรทำใหผูอานไมเสีย ทรัพยากรใหกับระบบปฏิบัติการดังกลาวดวย แตการปรับแตงนั้นทำไมไดเลย เนื่องจากไมสามารถติดต้ัง ซอฟตแวรอื่นหรืออุปกรณอื่นในไฮเปอรไวเซอรประเภทนีไ้ ด ทำใหเฉพาะฮารดแวรข องเครื่องแมขายที่ไฮเปอร ไวเซอรส นับสนนุ เทา น้นั จงึ สามารถใชง านไฮเปอรไ วเซอรป ระเภทนไี้ ด เครอ่ื งคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอร เสมอื น เสมือน ไฮเปอรไ วเซอร ฮารดแวร ภาพท่ี 3.7 รูปแบบการทำงานของไฮเปอรไ วเซอรประเภท 1 ดดั แปลงมาจาก: (Chirammal et al. 2016:14) ไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 เปนไฮเปอรไวเซอรที่ทำงานอยูบนระบบปฏิบัติการอีกที ทำใหสามารถ ปรับแตงระบบปฏิบัติการหรือติดตั้งอุปกรณเสริมพรอมไดรเวอรไ ด ไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 นี้เปนซอฟตแ วร ตัวหนง่ึ ท่ตี อ งพงึ พาระบบปฏบิ ตั กิ ารบนโฮสตอีกที ดงั ภาพท่ี 3.8 ขอดีของไฮเปอรไวเซอรประเภทน้ี คอื สามารถ ใชไดกับฮารดแวรที่หลากหลาย หรือแมกระทั่งเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีทรัพยากรสูงอาจนำมาติดตั้ง ไฮเปอรไ วเซอรเพือ่ ใชง านหลายระบบปฏิบัติการพรอมกนั 38

เครอ่ื งคอมพิวเตอร เครื่องคอมพวิ เตอร เสมอื น เสมอื น ไฮเปอรไวเซอร ระบบปฏิบัติการโฮสต ฮารดแวร ภาพท่ี 3.8 รูปแบบการทำงานของไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 ดัดแปลงมาจาก: (Chirammal et al. 2016:15) อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบแนวคิดระหวางไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 และไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 จะพบวาไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 จะมีประสิทธิภาพการทำงานที่ดีกวาไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 เพราะ ทำงานติดตอกับฮารดแวรโดยตรง สวนไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 รองรับฮารดแวรไดหลากหลายกวา และ สามารถติดต้ังโปรแกรมอน่ื ได 3.6 เครื่องมอื และอนิ เตอรเ ฟสสำหรับการบริหารจดั การเทคโนโลยเี สมือน เมอื่ ติดตั้งโปรแกรม KVM โปรแกรมจะเปล่ียนแกนของลนี ุกซใ หก ลายเปนไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 ดวย การเพิ่มโมดูล KVM ชื่อ virtio และ vfio ลงไปในแกนของระบบปฏิบัติการลีนุกซเพื่อรองรับการทำเสมือนของ หนวยประมวลผลกลาง โดยท่ีผอู า นยังคงสามารถตดิ ต้ังซอฟตแวรหรืออปุ กรณอ่ืนบนระบบปฏบิ ตั ิการไดอีกดวย ทำใหไดคุณสมบัติที่ดีของไฮเปอรไวเซอรทั้ง 2 ประเภท แตในสวนการทำเสมือนของอุปกรณอินพุตเอาตพุต โปรแกรม KVM ใชเครื่องมือที่เรียกวา QEMU ซึ่งเปนโปรแกรมจำลองฮารดแวร เชน ที่เก็บขอมูล เครือขาย การดแสดงผล การด PCI อุปกรณ USB พอรตอนุกรม พอรตขนาน เปนตน เพื่อใหสามารถสรางเครื่อง คอมพวิ เตอรเ สมือนที่มีฮารดแวรครบเหมือนเคร่ืองคอมพวิ เตอรท่ัวไปได นอกจากนีย้ งั มซี อฟตแ วรชื่อ libvirt ที่ เคร่อื งมอื เสมือนตวั กลางชวยบรหิ ารจัดการและตดิ ตอระหวา ง KVM และ QEMU ทำให QEMU นั้นงายตอการ ใชง าน บงั คบั ใชกฎความม่นั คงปลอดภัย และตั้งคาเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเสมอื น 39

เครื่องมอื ของ KVM ท่ชี ว ยจดั การเทคโนโลยเี สมอื นผานการคำส่งั มีอยู 2 เครือ่ งมอื คอื 1) virsh เปนเครื่องมือสำหรับจัดการทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน มีคำสั่งยอยตาม พารามิเตอรเ พ่ิมเติม เชน - virsh start และ virsh shutdown สำหรับเริ่มตนและปดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร เสมือน - virsh list สำหรบั แสดงรายการเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมือน - virsh create สำหรับสรางเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมอื นจากแฟม การตงั้ คา - virsh สำหรบั เขา สเู ชลลเพอื่ เขาสโู หมดปฏสิ มั พันธ 2) virt-install เปนเคร่ืองมอื สำหรับสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมอื นใหม เครื่องมอื ดงั กลา ว เปน เคร่อื งมือพืน้ ฐานที่มาพรอมกบั โปรแกรม KVM ทำใหผ อู านสามารถปฏสิ ัมพันธกับ โปรแกรม KVM ได อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน มีเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใหสามารถบริหารจัดการโปรแกรม KVM ไดงา ยขึ้นผานเวบ็ เบราเซอร เชน cockpit (RedHat Inc. 2020b) แตสำหรบั ผอู านทต่ี อ งการใชง านระบบ เทคโนโลยีเสมือน KVM พรอมบริการแบบครบวงจร ผูอานอาจลองศึกษาเพิ่มเติมจากบริการ OpenNode (OpenNode LLC 2020) และ Proxmox VE (Proxmox Server Solutions GmbH 2020) ทั้งสองบริการมี คุณสมบตั ทิ ใี่ กลเ คียงกนั ตา งกันตรงที่ OpenNode จะใชล นี ุกซด ิสตริบิวชนั CentOS สวน Proxmox VE จะใช ลีนกุ ซดิสตรบิ ิวชนั Debian โดยที่ Proxmox VE ไดรบั ความนิยมมากกวา (Kovari and Dukan 2012) 40

บทสรุป เทคโนโลยีเสมือน คือ เทคโนโลยีที่ทำซ้ำการทำงานของฮารดแวรทางกายภาพและนำเสนอ สูระบบปฏิบัติการเสมือนหนึง่ วาเปนฮารดแวรจริงโดยการสรางสภาพแวดลอมเสมือนข้ึน ในทางปฏิบัติ เครื่อง ทางกายภาพที่เรียกวา โฮสต (Host) รันแอปพลิเคชันเทคโนโลยเี สมือนที่เรยี กวา ไฮเปอรไ วเซอร (Hypervisor) และเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ สมอื นท่ีถกู ตดิ ต้ังอยบู นไฮเปอรไวเซอรเ รียกวา เกสต (Guest) หลักการของวงแหวนการปองกันเปนพื้นฐานที่อธิบายการทำงานของเทคโนโลยีเสมือน โดยวงแหวน ชั้นในสุดหรือชั้นลางสุดจะมีสิทธิพิเศษสูงกวาวงแหวนชั้นบนหรือชั้นนอก โดยปกติเฉพาะระบบปฏิบัติการ เทานั้นจะทำอยูอยูวงแหวน 0 แตเมื่อมีระบบปฏิบัติการเกสตอยูบนวงแหวนชั้นถัดไป ไฮเปอรไวเซอรจะเปน ผูดแู ลการเขาถงึ สทิ ธพิ ิเศษตาง ๆ รูปแบบการทำงานของเทคโนโลยเี สมอื นแบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1) การทำเสมือนแบบเต็ม รูปแบบการทำงานน้ีระบบปฏิบัติการเกสตจ ะทำงานอยูบ นวงแหวน 1 เม่ือ ระบบปฏิบัติการเกสตตองการสิทธิพิเศษการเขาถึงอุปกรณภายในเครื่อง ไฮเปอรไวเซอรจะแปลง คำสั่งของระบบปฏิบัติการเกสตใหเปนคำสั่งเขาถึงฮารดแวรของเครื่องคอมพิวเตอรโฮสต วิธีการน้ี ทำใหป ระสทิ ธภิ าพการทำงานชา เพราะตองมีการแปลงคำส่ังตลอดเวลา แตระบบปฏบิ ัตกิ ารเกสตจะ ไมร บั รวู า กำลงั ทำงานอยบู นระบบปฏบิ ัตกิ ารเสมอื น 2) การทำเสมือนแบบดานขาง รูปแบบการทำงานนี้ระบบปฏิบัติการเกสตจะถูกแกไขใหเปน ระบบปฏบิ ัติการทีท่ ำงานบนไฮเปอรไวเซอรเ ฉพาะ และจะทำงานทว่ี งแหวน 0 เลย คำส่ังสิทธิพิเศษ สำหรับเขา ถึงอุปกรณจะเปนคำสัง่ ที่ถูกแกไขไวในระบบปฏิบัตกิ ารเกสตอยูแลว วิธีการนี้จะไมทำให เสียประสิทธิภาพการทำงานเพราะไมมีการแปลงคำสั่ง แตระบบปฏิบัติการเกสตจะตองเปน ระบบปฏิบัติการที่คอมไพลมาใชกบั เทคโนโลยีเสมือนโดยเฉพาะเพื่อใหระบบปฏิบัติการสามารถทำ เสมือนใหกับอุปกรณตาง ๆ ได และแนนอนวาไมใชทุกระบบปฏิบัติการจะมีการคอมไพลเพื่อใชกบั เทคโนโลยเี สมือนจงึ มขี อ จำกัดทต่ี วั ระบบปฏบิ ัตกิ าร 3) การทำเสมอื นโดยใชฮารดแวรช ว ย เน่ืองจากรปู แบบการทำงานขางตนท้ังสองรปู แบบยงั มีขอจำกัด อยูมาก บริษัทผลิตหนวยประมวลผลจึงสรางหนวยประมวลผลที่มีคำสั่งพิเศษที่สามารถเขาถึงผาน ไฮเปอรไวเซอรได ทำใหระบบปฏิบัติการสามารถเขาถึงสิทธิพิเศษของอุปกรณตาง ๆ ผานคำสั่ง พิเศษของหนวยประมวลผลกลาง วิธีการนี้ไมเสียประสิทธิภาพการทำงานและไมจำเปนตองใช ระบบปฏิบัติการที่คอมไพลมาโดยเฉพาะ แตจะตองมีหนวยประมวลผลกลางที่รองรับคำสั่งพิเศษ คือ Intel VT-x และ AMD-V สำหรับหนว ยประมวลผลกลาง Intel และ AMD ในปจ จบุ นั ประโยชนของการใชเทคโนโลยเี สมือนโดยหลัก คือ จะชวยใหสามารถใชทรัพยากรของเครื่องแมขายได สูงสุด และมีความโดดเดี่ยวของบริการ ซอฟตแวรตัวกลางหรือไฮเปอรไวเซอรในปจจุบันแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 สามารถทำงานปฏิสัมพันธกับฮารดแวรไดโดยตรงโดยที่ไมจำเปนตอง ติดตั้งระบบปฏบิ ัติการกอน และไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 ที่ตองติดตั้งระบบปฏิบตั ิการกอนการติดต้ังไฮเปอร ไวเซอร 41

ประโยชนของการใชเทคโนโลยีเสมือนโดยหลัก คือ เทคโนโลยีเสมือนชวยประหยัดพลังงาน และดึง ความสามารถของทรัพยากรเครื่องแมขายมาใชไดสูงสุดและทำใหการบริหารจัดการและการดูแลเชิงเทคนิค สามารถทำไดงา ย โปรแกรม KVM เปนไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 ทำงานโดยอาศัยโมดูล virtio และ vfio เปลี่ยน ระบบปฏิบัติการลีนกุ ซใหเปนไฮเปอรไวเซอร และมีเครื่องมือที่จำเปนสำหรับจัดการโปรแกรม KVM คือ virsh และ virt-install 42

แบบฝก หัดบทท่ี 3 1. บอกความหมายของเทคโนโลยเี สมือน 2. บอกรูปแบบของการทำเสมอื นในปจ จบุ ัน 3. ทำไมการทำเสมอื นแบบเตม็ จึงมีประสทิ ธภิ าพชา 4. ขอ จำกดั ทส่ี ำคญั การทำเสมอื นแบบดานขางคืออะไร 5. บอกชอ่ื สวนขยายชุดคำสงั่ ทใ่ี ชชวยทำเสมอื นในหนวยประมวลผลกลาง Intel และ AMD 43

6. บอกประโยชนข องการใชเ ทคโนโลยีเสมือน 7. อธิบายการปฏิสัมพันธระหวา งเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ สมือนและไฮเปอรไวเซอร 8. ไฮเปอรไ วเซอรประเภท 1 และไฮเปอรไ วเซอรป ระเภท 2 ตา งกันอยางไร 9. อธบิ ายความสมั พันธระหวา ง KVM และ QEMU 10. บอกชอื่ เคร่ืองมอื ทใ่ี ชจ ดั การโปรแกรม KVM และแตละเครอ่ื งมือใชทำอะไรบาง 44

เทคนิคการเตรียมเครอื่ งสำหรับฝกปฏบิ ัติการเทคโนโลยเี สมือน บทนำ ในปจ จบุ นั เทคโนโลยเี สมือนเปนเทคโนโลยีที่มีการใชงานอยางแพรห ลาย โดยผูอ านสามารถเรยี นรู และ ฝกฝนจากเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัว ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มทักษะและความชำนาญในการนำเทคโนโลยีเสมือนไป ประยุกตใชใ นงานอ่นื ทเี่ ก่ยี วของตอไป ในบทนี้ ผอู า นจะไดเรียนรเู ทคนิคและวธิ กี ารเตรียมเครื่องคอมพิวเตอรที่ ใชงานทั่วไปใหสามารถติดตั้งและใชงานเทคโนโลยีเสมือนได ซึ่งขั้นตอนและวิธีการจะแตกตางกันตาม ระบบปฏิบัติการและยี่หอของหนวยประมวลผลกลางที่ใช โดยรองรับระบบปฏิบัติการทั้งลีนุกซ และ ไมโครซอฟทว นิ โดวส 4.1 ความตอ งการระบบและการตรวจสอบความพรอมของระบบ ในตำราเลมนี้จะเนน การใชงานโปรแกรม KVM เนอ่ื งจากเปนโปรแกรมโอเพน ซอรสที่ไมมีคาใชจาย และ มีความทันสมัยถูกนำไปใชงานแพรหลายที่สุด (Chierici and Veraldi 2010; Deshane et al. 2008; The OpenStack Foundation 2014) โดยผูใหบริการคลาวดสวนใหญนิยมนำโปรแกรม KVM ไปปรับแตงหรือ พัฒนาเครื่องมือที่ชวยทำใหการทำงานของโปรแกรม KVM เปนอัตโนมัติมากขึ้น (OpenNode LLC 2020; Proxmox Server Solutions GmbH 2020; The OpenStack Foundation 2020) อีกทั้ง โปรแกรม KVM รองรบั การทำเสมือนโดยใชฮารดแวรช ว ยไดทำใหมีประสิทธภิ าพและมีการตอบสนองการทำงานที่เร็ว (Che et al. 2010; Zuo et al. 2010) อยางไรก็ตาม โปรแกรม KVM สนับสนุนการทำงานบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ เทานั้น ดังนั้น หากเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานอยูมีระบบปฏิบัติการเปนลีนุกซ ผูอานสามารถเตรียมเครื่องให สามารถใชง านเทคโนโลยีเสมือน และตดิ ต้งั โปรแกรม KVM ไดโดยตรง ซึ่งแมโปรแกรม KVM จะเปนไฮเปอรไว เซอรประเภท 1 แตหลักการทำงานของโปรแกรม KVM คือเปลี่ยนระบบปฏิบัติการลีนุกซเดิมใหกลายเปน ไฮเปอรไ วเซอรโ ดยเพิ่มโมดูลการทำเสมอื นไวท่แี กนของระบบปฏบิ ัติการลนี ุกซ ในกรณีที่ระบบปฏิบัติการเปนไมโครซอฟทวินโดวส 10 ผูอานสามารถเลือกใชโปรแกรม Hyper-V หรือ VMWare Workstation Player (VMWare Inc. 2020a) เพ่อื ตดิ ตัง้ ระบบปฏิบัติการลนี กุ ซไวฝ ก ปฏิบัติ โดยเปด การทำงานของการทำเสมือนซอน (Nested Virtualization) ซึ่งเปนเทคนิคที่ใชติดตั้งไฮเปอรไวเซอรซอนอยู ในไฮเปอรไวเซอรอีกชั้นหนึ่ง การเขาถึงนอุปกรณหรือสิทธิพิเศษของระบบปฏิบัติการเกสตในไฮเปอรไวเซอร ชั้นในจะถูกสงตอผานไฮเปอรไวเซอรชั้นในไปยังไฮเปอรไวเซอรชั้นนอกเพื่อเขาถึงอุปกรณในขั้นตอนสุดทาย ในปจจุบันวินโดวส 10 เวอรชัน 2004 รุนเสถียรรองรับการทำเสมือนซอนไดเฉพาะหนวยประมวลผลกลาง Intel เทานั้น แตหากตองการใชการทำเสมือนซอนในหนวยประมวลผลกลาง AMD จะตองอัพเดท ระบบปฏิบัติการวินโดวส 10 ใหเปนเวอรชัน 2004 Build 19645 หรือใหมกวา (Microsoft Inc. 2020a) ซ่ึง เปนวินโดวส 10 รุนสำหรับวงใน (Insider) ซึ่งในปจจุบันรองรับการทำเสมือนซอนผานโปรแกรม VMWare Workstation Player เทาน้ัน 45

4.2 การเตรยี มเคร่ืองโดยการต้งั คา ท่ีไบออส ในขั้นตอนแรก ผูอานตองมั่นใจกอนวาไดเปดการทำงานของ CPU Virtualization ในไบออส (BIOS) ของเคร่ืองที่ใชงานอยูหรือไม เน่อื งจากคาเร่ิมตนของโรงงานจะปดการทำงานน้ีไว ผูอานสามารถแกไขโดยรีบูต เครอื่ งและกดปมุ Delete หรอื F2 หรือปมุ อืน่ ๆ ขึ้นอยูกบั ผผู ลิตเมนบอรดและผูผลิตโนตบุกจะกำหนดเพื่อเขา สกู ารตง้ั คาไบออสกอนเขาระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวส โดยทว่ั ไปจะอยูใ นเมนู Advanced > CPU Configuration สวนการตั้งคาอาจใชคำวา Virtualization หรือ Virtualization Technology หรือ Intel Virtualization Technology หรือ AMD SVM อยางใดอยางหนึ่ง โดยใหเลือกเปดการทำงาน (Enabled) และรีบูตเพื่อเขาสู ระบบปฏิบัตกิ ารวินโดวส หลังจากท่เี ปดการทำงานของ CPU Virtualization เสรจ็ เรียบรอย ผอู านสามารถตรวจสอบคุณสมบัติน้ี ไดจ ากโปรแกรม Task Manager ดงั นี้ 1) กดปุม CTRL + SHIFT + ESC บนคียบอรด หรือคลิกขวาที่แทบ Start Menu แลวเลือก Task Manager เพอ่ื เปดโปรแกรม Task Manager 2) ในกรณที ี่ไมป รากฎแทบ็ Performance ใหเ ลือก ใหคลิกที่ปมุ More details เพ่ือแสดงรายละเอียด เพ่มิ เตมิ 3) เลือกแทบ็ Performance และเลอื กรายการ CPU 4) ตรวจสอบคุณสมบัติ Virtualization วาเปน Enabled หรือไม ดังภาพที่ 4.1 หนาตางแสดง คุณสมบตั ิของหนว ยประมวลผลกลาง ถา ใชแสดงวา ไดตง้ั คา ที่ BIOS เสร็จสมบรู ณ ภาพท่ี 4.1 หนาตา งแสดงคณุ สมบตั ขิ องหนวยประมวลผลกลาง 46

4.3 การรบั อัพเดทระบบปฏิบตั ิการวินโดวสรุนสำหรับวงใน ในกรณีที่หนวยประมวลผลกลางของเครื่องที่ใชงานอยูเปน AMD ผูอานจำเปนจะตองเปลี่ยนรุนของ วินโดวสใหเปนรุนสำหรับวงใน เพื่อใชงานคุณสมบัติที่พัฒนาขึ้นใหม แตยังไมถูกปลอยใหใชงานในรุนเสถียร โดยผูอานจำเปนตองล็อกอินวินโดวสดวยบัญชีของไมโครซอฟท เชน บัญชีอีเมล hotmail.com msn.com outlook.com เปนตน จึงจะสามารถดำเนินการในขั้นตอนวิธีการเปลี่ยนระบบปฏิบัติการวินโดวสเปนรุน สำหรบั วงในตอ ไปไดด งั น้ี 1) คลกิ ทปี่ มุ Start เลือกเมนู Settings จะปรากฏหนา ตาง Settings 2) จากนั้นเลอื กไอคอน Update & Security จะปรากฏหนา ตา ง Windows Update 3) เลอื กเมนฝู ง ซา ยเปน Windows Insider Program 4) ตรงเมนู Pick your Insider Settings ใหเลือกเปน Dev channel และเลือก Stop getting preview builds เพื่อกลับเขาสูรุนเสถียรเมื่อคุณสมบัติการทำเสมือนซอนถูกปลอยในรุนเสถียรตัว ถดั ไป 5) รบี ตู เครื่อง และกลับเขา มาเมนู Windows Update อีกครั้ง 6) คลิกปมุ Check for updates เพ่อื ดาวนโ หลดและติดตง้ั วนิ โดวสรนุ สำหรับวงใน ดงั ภาพที่ 4.2 ภาพที่ 4.2 หนาตา งการต้ังคา วินโดวส รุนสำหรับวงใน หากดำเนนิ การถูกตอง วนิ โดวส 10 จะดาวนโ หลดและตั้งแตว ินโดวสรุนสำหรับวงใน และรีบูตเคร่ืองอีก ประมาณ 2 – 3 ครั้ง และจะปรากฏขอความ Windows 10 Insider Program. Evaluation Copy ที่มุมขวา ลา งของหนา จอเดสกท็อป 47

4.4 การติดต้ังโปรแกรม Hyper-V โปรแกรม Hyper-V เปนโปรแกรมที่ใชจำลองเทคโนโลยีเสมือนคลายกับโปรแกรม KVM แตทำงานบน ระบบปฏิบัติการวินโดวสและแถมมากับระบบปฏิบัติการวินโดวส 10 ยกเวนรุนโฮมอิดิชัน (Home Edition) โดยไมมีคาใชจาย สำหรับผูอานที่ใชรุนโฮมอิดิชันอยูสามารถเลือกติดตั้งโปรแกรม VMWare Workstation Player แทนได ข้ันตอนการติดต้งั Hyper-V นนั้ สามารถทำไดโดยคลกิ ทป่ี มุ Start Menu และพมิ พว า Turn Windows features on or off และเลือกรายการดังกลาวจะปรากฏหนาตางเพิ่มลดฟเจอรของระบบปฏิบัติการวินโดวส ดงั ภาพท่ี 4.3 จากน้นั เลอื กรายการตอไปน้ี - Hyper-V > Hyper-V Management Tool - Hyper-V > Hyper-V Platform - Virtual Machine Platform - Windows Hypervisor Platform จากน้ันคลกิ ท่ีปมุ OK และรบี ตู เคร่อื งใหมอกี ครั้ง ภาพที่ 4.3 หนา ตา งเพม่ิ ลดฟเ จอรข องระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส ขอควรระวัง ในกรณีที่หนวยประมวลผลกลางเปนยี่หอ AMD หากผูอานติดตั้งโปรแกรม Hyper-V อยู ผูอานจะไมสามารถใชคุณสมบัติการทำเสมือนซอนในโปรแกรม VMWare Workstation Player ได ดังนั้น ผูอานจำเปนตองถอนการติดตั้งโปรแกรม Hyper-V กอนโดยเขาไปที่ Turn Windows features on or off และเลือกออกจากรายการขางตน ทง้ั 4 รายการทีใ่ ชต ิดต้งั โปรแกรม Hyper-V 48

4.5 การตดิ ตงั้ โปรแกรม VMWare Workstation Player โปรแกรม VMWare Workstation Player เปนโปรแกรมที่ใชเทคโนโลยีเสมือน ลักษณะของโปรแกรม VMWare Workstation Player มีลักษณะการทำงานเหมือนโปรแกรม KVM เพียงแตถูกออกแบบใหใชงาน โดยผูใชทั่วไปบนระบบปฏิบัติการวินโดวส เทานั้น โดยบริษัท VMWare Inc. เปดใหใชงานโปรแกรม VMWare Workstation Player ฟรีโดยไมมีคาใชจายเรื่องลิขสิทธิ์ในกรณีที่ไมไดทำเพื่อการคา โปรแกรม VMWare Workstation Player ไดตั้งแตเวอรชัน 12 จะรองรับเฉพาะวินโดวส 10 รุน 64 บิตเทานั้น และสามารถใช ความสามารถของการทำเสมือนซอนไดในวินโดวส 10 อยางไมมีปญหา แตเดิมโปรแกรม VMWare Workstation Player มปี ญหาเรื่องความเขา กนั ไดกับ Hyper-V ดงั นั้น หากในเครอ่ื งติดตั้งโปรแกรม Hyper-V อยูแลว จะไมสามารถใชงานโปรแกรม VMWare Workstation Player ได แตทางบริษัทไมโครซอฟทและ บรษิ ัทวีเอ็มแวรไ ดแ กไขปญหาความเขากนั ไดโดยทงั้ สองโปรแกรมนี้ทำใหส ามารถใชงานพรอมกันไดเมื่ออัพเดท วินโดวส 10 เปนเวอรชัน 2004 หรือใหมกวา และอัพเดท VMWare Workstation Player 15.5 หรือใหมกวา (VMWare Inc. 2020b) ในกรณีที่ตองการคุณสมบัติการทำเสมือน ทั้งหนวยประมวลผลกลางยี่หอ Intel และ AMD สามารถใช งานไดทั้งโปรแกรม Hyper-V และ VMWare Workstation Player ไดอยางไมมีปญหา แตหากตองการทำ เสมือนซอน ถาเครื่องของผูอานใชหนวยประมวลผลกลางเปน AMD จะสามารถใชงานไดเมื่ออัพเดทวินโดวส เปน รุนสำหรับวงใน และยังคงสามารถใชไ ดเ พียง VMWare Workstation Player เทา น้ัน ผ ู  อ  า น ส า ม า ร ถ ด า ว น  โ ห ล ด โ ป ร แ ก ร ม VMWare Workstation Player ไ ด  จ า ก เ ว ็ บ ไ ซ ต https://www.vmware.com โดยคลิกเลือกเมนูดานบน Products > Personal Desktop > VMWare Workstation Player และคลิกที่ลิงก Download Now หรือเขาผานที่อยูโดยตรงไดที่ https://www .vmware.com /products/workstation-player.html ในการติดตั้งโปรแกรม VMWare Workstation Player เมื่อดับเบิลคลิกตัวติดตั้งขึ้นมาจะปรากฎ หนาตา งแนะนำการตดิ ต้งั โปรแกรมดงั ใหกด Next เพื่อไปขนั้ ตอนถดั ไป ดงั ภาพท่ี 4.4 49

ภาพท่ี 4.4 หนา ตางการตดิ ตั้ง VMWare Workstation Player จากนั้นใหเลือก I accept the terms in the License Agreement และคลิกปุม Next เพื่อยอมรับ เงือ่ นไขการใชงานโปรแกรม และดำเนนิ การในขน้ั ตอนถัดไป ดงั ภาพท่ี 4.5 ภาพที่ 4.5 หนาตา งการยอมรับเงื่อนไข เลอื กไดเรกทอรีสำหรบั ตดิ ตง้ั โปรแกรม VMWare Workstation Player แตห ากไมตองการเปล่ียนแปลง ไดเรกทอรีเรม่ิ ตน สามารถคลิก Next เพ่ือดำเนินการในขนั้ ตอนถัดไป 50

ภาพท่ี 4.6 หนาตา งการเลือกโฟลเดอรส ำหรบั ตดิ ตั้งโปรแกรม จากนั้นจะปรากฏหนาตางสอบถามใหตรวจสอบการอัพเดทโปรแกรมทุกครั้งที่เปดใชงาน และความ สมัครใจที่จะสงขอมูลที่ไมเปนขอมูลสวนบุคคลเพื่อพัฒนาโปรแกรม ผูอานอาจคลิกเลือกหรือไมก็ได จากนั้น คลกิ Next เพ่อื ดำเนนิ การในขั้นตอนถดั ไป ดังภาพท่ี 4.7 ภาพท่ี 4.7 หนาตา งสอบถามการอพั เดทโปรแกรม เลือกตำแหนงที่ตองการสรางทางลัดสำหรับเรยี กใชงานโปรแกรม VMWare Workstation Player โดย เริ่มตน ตวั ตดิ ตั้งจะสรา งทางลัดไวท ่ีเดสกท ็อป และสตารท เมนู จากนน้ั ใหคลิก Next เพอ่ื ดำเนินการในขั้นตอน ถัดไป ดงั ภาพที่ 4.8 51

ภาพที่ 4.8 หนาตางการสรางทางลัดสำหรับเรยี กใชงานโปรแกรม เมื่อการสอบถามขอมูลของตัวติดตั้งครบหมดแลว คลิกปุม Install เพื่อดำเนินการติดตั้งโปรแกรม VMWare Workstation Player ดังภาพที่ 4.9 ภาพท่ี 4.9 หนาตางตดิ ต้ังโปรแกรม เมื่อติดตั้งเสร็จแลว สามารถคลิกปุม Finish เพื่อจบการติดตั้งไดทันที เนื่องจากผูอานไมไดใชงาน โปรแกรมเพื่อการคาและเพอ่ื การศกึ ษาหาความรูเพม่ิ เติม ดังภาพที่ 4.10 52

ภาพที่ 4.10 หนา ตางสิน้ สดุ การตดิ ต้งั โปรแกรม หลังจากตดิ ตัง้ โปรแกรม VMWare Workstation 15 Player เสรจ็ สมบรู ณ ในการเรยี กใชงานโปรแกรม ครั้งแรก โปรแกรมจะถามเพื่อยืนยันวาผูอานใชโปรแกรมไมใชเพื่อการคาดังภาพที่ 4.11 ใหเลือก Use VMWare Workstation 15 Player for free for non-commercial use และคลิกปุม Continue เพื่อเขาสู โปรแกรม ภาพท่ี 4.11 หนาตา งเลอื กประเภทการใชงานโปรแกรม 53

4.6 การดาวนโ หลดระบบปฏิบัตกิ ารลนี ุกซ ในตำราเลมนี้ ผูเขียนจะใชระบบปฏิบัติการลีนุกซ CentOS 8 (The CentOS Project 2020b) จะเปน ระบบปฏิบัติการอางอิงสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยีเสมือน เนื่องจาก CentOS เปนระบบปฏิบัติแมขาย หนึ่งที่เปนที่นิยมในปจจุบัน และระบบปฏิบัติการ CentOS 8 มีระยะเวลาสนับสนุนของซอฟตแวรไปจนถึงป พ.ศ. 2572 (The CentOS Project 2020a) ทำให หากผูอานนำความรูที่ไดจากตำราไปใชงานจริง ผูอานจะ สามารถนำขั้นตอนที่อธิบายในตำราเลมนี้ไปใชงานไดจนถึงป พ.ศ. 2572 กอนระบบปฏิบัติการจะหยุดการ อพั เดทคณุ สมบตั ิและความมัน่ คงปลอดภยั การดาวนโ หลด CentOS 8 เริม่ ตน จากเขาเว็บ https://www.centos.org/ แลว คลิกท่ี CentOS Linux จากนนั้ เลือก ISO ประเภท x86_64 ดังภาพที่ 4.12 ภาพท่ี 4.12 หนาตา งการดาวนโหลด CentOS 8 จากนั้น ผูอานจะไดรับรายการเว็บไซตที่ชวยเก็บรักษาแฟมขอมูล ISO ใหเลือกรายการเว็บไซตใดก็ได ที่ตั้งอยูในประเทศ เมื่อเลือกเว็บไซตที่ตองการแลวจะปรากฎรายการ iso ใหเลือกอยูทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ boot dvd1 และ minimal สำหรับแฟมขอมูล boot จะเปนแฟมขอมูลที่มีขนาดเล็กที่สุดไมมีระบบปฏิบัติการ CentOS แตจะมี เครอื่ งท่ีชว ยใหส ามารถตดิ ตั้งระบบปฏบิ ัติการผา นเครอื ขา ย หรือเขาไปดูแลรกั ษาเครอ่ื งทตี่ ดิ ตง้ั ระบบปฏิบัติการ อยูกอนแลว สวนแฟมขอมูล dvd1 จะประกอบดวยระบบปฏิบัติการและแพ็คเกจของแอปพลิเคชันตาง ๆ ท่ี สามารถบรรจุในแผนดีวีดี 1 แผนได และแฟมขอมูล minimal จะประกอบดวยระบบปฏิบัติการและแพ็คเกจ ทจ่ี ำเปน สำหรบั การทำงานเบอื้ งตนของระบบปฏิบตั กิ าร ผูอานสามารถติดตั้งระบบปฏิบัติการจากแฟมขอมูล dvd1 หรือ minimal ก็ได แตจากประสบการณ ของผูเขียนพบวา แมแฟมขอมูล dvd1 จะประกอบดวยแอปพลิเคชันเกี่ยวกับเทคโนโลยีเสมือนที่ตองการใช และติดตั้งในที่สุด แตโดยธรรมชาติของแพ็คเกจเหลานี้มักมีการอัพเดทอยูเสมอ แตแฟมขอมูลสำหรับติดต้ัง 54

ไมไ ดอ ัพเดทตามแพ็คเกจเหลานัน้ ดังน้นั ผูอานจึงควรดาวนโ หลดแฟมขอมูลประเภท minimal แทนเน่ืองจาก มีขนาดเล็ก ดาวนโ หลดไดเร็ว และเมือ่ ตดิ ต้ังระบบปฏิบตั ิการแลวคอยดำเนนิ การติดต้ังโปรแกรมท่ีเกี่ยวของกับ เทคโนโลยเี สมอื นในภายหลงั เพอื่ จะไดโปรแกรมเวอรช ันท่ีมีความทันสมัยท่สี ุด 4.7 การสรางเครอ่ื งคอมพิวเตอรเสมือนใน Hyper-V สำหรับโปรแกรม Hyper-V เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จสมบูรณแลว ผูอานสามารถเรียก Hyper-V Manager ไดโดยคลิกที่ปุม Start menu แลวพิมพวา Hyper-V Manager และเลือกรายการเมนูดังกลาว จะ ปรากฏเคร่ืองมอื Hyper-V Manager ดงั ภาพท่ี 4.13 ภาพที่ 4.13 หนาตางโปรแกรม Hyper-V Manager ผูอ า นสามารถสรา งเครื่องคอมพิวเตอรเ สมือนในโปรแกรม Hyper-V ไดโดยเลอื กจากเมนฝู ง ขวา New > Virtual Machine จะปรากฎหนาตาง New Virtual Machine Wizard ดังภาพที่ 4.14 และตั้งชื่อเครื่องเปน CentOS8 จากนั้นคลิกที่ปุม Next และเลือกประเภทเครื่องเปน Generation 2 ดังภาพที่ 4.15 เพื่อรองรับ คุณสมบัติของฮารดแวรรุนใหม ซึ่งจะทำใหประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนดีขึ้นเมื่อ เทยี บกบั เคร่อื งประเภท Generation 1 55

ภาพท่ี 4.14 หนาตางต้ังชื่อเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมือน ภาพที่ 4.15 หนา ตา งกำหนดรนุ ของเครือ่ งคอมพิวเตอรเ สมอื น 56

ภาพท่ี 4.16 หนาตา งกำหนดปรมิ าณหนว ยความจำหลัก จากนั้นจะปรากฏตัวเลือกสำหรับกำหนดปริมาณของหนวยความจำหลัก ซึ่งการใชโปรแกรม KVM น้ัน จะตองกำหนดหนวยความจำหลักในชอง Startup Memory ไมนอยกวา 2GB และคลิกไมเลือกคำวา Use dynamic Memory for this virtual machine ดังภาพที่ 4.16 เพื่อเพิ่มความเสถียรใหกับระบบปฏิบัติการ ประเภทลีนุกซ จากน้นั จะปรากฏหนา ตางใหเลือกเครือขายโดยจะเลอื กเปน Default Switch เพื่อให Hyper-V กำหนด คุณสมบัตขิ องเครือขา ยอตั โนมตั ิ ภาพที่ 4.17 หนา ตางกำหนดขนาดของดิสกเสมือน 57

จากนั้นจะปรากฎหนาตางดังภาพที่ 4.17 เพื่อกำหนดพื้นที่ฮารดดิสกซึ่งมีขนาดไมนอยกวา 60GB และ สามารถเลอื กที่ตงั้ ของดิสกไดตามตองการ ภาพที่ 4.18 หนา ตา งเลอื กแฟมขอมูลดิกสส ำหรับติดตง้ั ระบบปฏบิ ตั ิการ ในหนา ตา งสุดทายของการสรางเครื่องคอมพวิ เตอรเสมือนจะใหผูอานเลือกแฟม ขอมูลดิสกสำหรับติดตั้ง ระบบปฏบิ ตั กิ ารดงั ภาพที่ 4.18 โดยเลอื กแฟม ขอ มูล ISO ของระบบปฏบิ ัติการ CentOS 8 เมื่อสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมอื นใน Hyper-V เสร็จแลว โดยเริ่มตน เครื่องคอมพิวเตอรเสมือนเหลานี้ ถูกออกแบบมาใหติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวสเปนระบบปฏิบัติการเกสตเปนหลัก แตยังคงสนับสนุน ระบบปฏบิ ตั กิ ารลีนุกซไดด ว ยการยกเลิก Secure Boot โดยสามารถตั้งคาไดโดยคลิกขวาท่ีเครื่องคอมพิวเตอร เสมือน CentOS8 และเลือก Settings จะปรากฎหนาตางการตั้งคา จากนั้นเลือกแท็บ Security และไมเลือก Enable Secure Boot เนื่องจากอิมเมจของ CentOS นั้นไมไดถูกเซ็นโดยรับรองที่ผานการรับรองจากผู ประกอบกิจการ ออกใบรับรองอิเลก็ ทรอนกิ ส (Certificate Authority) ดงั ภาพท่ี 4.19 58

ภาพที่ 4.19 หนา ตา งแสดงการต้ังคาของเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมือน หลังจากที่สรางและตั้งคาเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนในโปรแกรม Hyper-V โดยเริ่มตน เครื่อง คอมพิวเตอรเสมือนดังกลาวจะไมรองรับการทำเสมือนซอน ผูอานสามารถเปดการทำงานการทำเสมือนซอน ใหกบั เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ สมอื นเคร่ืองน้ันได ดังน้ี 1) หากบัญชีผูใชท่ีผูอานใชงานอยูเปนบัญชีผูดแู ลระบบหรือใชงานในเครื่องคอมพิวเตอรสวนตวั บัญชี ผูใชสวนใหญจะอยูในกลุม Administrators ใหคลิกขวาที่ปุม Start Menu และเลือก Windows Powershell (Admin) แตหากบัญชีผูใชที่ผูอานใชงานเปนบัญชีที่ถูกจัดสรร บัญชีที่ใชงานอยูนี้ จะตองอยูในกลุมผูใช Hyper-V Administrators เทานั้น จึงจะสามารถดำเนินการตอไปได (Microsoft Inc. 2020d) โดย คลกิ ขวาที่ปมุ Start Menu และเลอื ก Windows Powershell แทน 2) เมือ่ ปรากฏหนา ตาง Windows Powershell แลว สามารถพิมพคำสั่ง # Set-VMProcessor -VMName <VMName> -ExposeVirtualizationExtensions $true เชน เครอื่ งคอมพิวเตอรเสมือนท่สี รางขนึ้ ชื่อ CentOS8 ใหพมิ พว า # Set-VMProcessor -VMName CentOS8 -ExposeVirtualizationExtensions $true คำสงั่ ดงั กลาวจะสามารถพิมพไ ดเ ฉพาะเม่ือเครื่องคอมพวิ เตอรเ สมอื นอยูสถานะปดการทำงาน 59

4.8 การสรา งเคร่อื งคอมพิวเตอรเ สมือนใน VMWare Workstation Player สำหรับโปรแกรม VMWare Workstation Player เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จสมบูรณแลว ผูอานสามารถ เรียกโปรแกรมไดโดยคลิกที่ปุม Start menu แลวพิมพวา VMWare Workstation Player และเลือกรายการ เมนูดงั กลา ว จะปรากฎหนาจอหลักของโปรแกรม ดงั ภาพท่ี 4.20 ภาพท่ี 4.20 หนา จอหลักของโปรแกรม VMWare Workstation Player ผูอานสามารถสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนในโปรแกรม VMWare Workstation Player ไดโดยคลิก ที่เมนู Create a New Virtual Machine ทางดานขวามือของหนาจอหลัก จะปรากฏหนาตาง New Virtual Machine Wizard ดัง โดยเริ่มตนใหเลือก I will install the operation system later กอน เพราะ เนื่องจากวา หากเลือก Installer disc image file และเลือกอิมเมจของระบบปฏิบัติการลีนุกซมาตั้งแตหนา แรก โปรแกรม VMWare Workstation Player มคี ุณสมบัตทิ ี่เรียกวา Easy Install ที่จะติดต้ังระบบปฏบิ ัตกิ าร ลีนุกซและตั้งคาเบื้องตนใหโดยอัตโนมัติ ซึ่งจากติดตั้งและตั้งคาดังกลาวเหมาะสมสำหรับการใชงานของผูใช ทั่วไป ไมใชงานบริหารระบบแมขายอยางเฉพาะเทคโนโลยีเสมือน ดังนั้น ผูอานจึงควรติดตั้งระบบปฏิบัติการ ลีนุกซดวยตนเองเพื่อจะไดติดตั้งเฉพาะแพ็คเกจที่จำเปน ทำใหเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนใชพื้นที่และ หนวยความจำเทาท่จี ำเปน เทาน้นั จากนั้นใหคลิกปุม Next เพอื่ ดำเนนิ การข้ันตอนถดั ไป ดังภาพที่ 4.21 60

ภาพท่ี 4.21 หนาตา งการสรางเครื่องคอมพวิ เตอรเ สมอื น เลือกระบบปฏิบัติการเปน Linux และ Version เปน CentOS 8 64-bit และคลิกปุม Next เพื่อตั้งช่ือ ใหกับเคร่อื งคอมพวิ เตอรเ สมือน และกำหนดตำแหนง ที่ตั้งของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือนตามตองการ ดังภาพที่ 4.22 และภาพท่ี 4.23 ภาพที่ 4.22 หนาตา งการเลือกระบบปฏิบัตกิ าร 61

ภาพท่ี 4.23 หนา ตา งการตงั้ ชอื่ เครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน จากน้ันจะปรากฏหนาตา ง เพอ่ื กำหนดพน้ื ท่ฮี ารด ดิสกซ ่ึงมีขนาดไมนอยกวา 60GB และมีตัวเลอื กสำหรับ จัดเก็บดิสกเสมือนไวสองตัวเลือก คือ แบบท่ี 1 Store virtual disk as a single file คือ เก็บดิสกเสมือนเปน แฟมขอมูลเดียวขนาดใหญ วิธีการนี้จะชวยใหสำรองขอมูลไดงาย และเกิดการจัดสรรดิสกไวกอนทำให ประสิทธิภาพการทำงานของดิสกมีความเรว็ ใกลเคยี งการใชงานดิสกทางกายภาพ แบบท่ี 2 Split virtual disk into multiple files คือ เก็บดิสกเสมือนเปนแฟมขอมูลขนาดไมเกิน 4 กิ๊กกะไบตจำนวนหลายแฟมขอมูล วิธีการนี้จะชว ยใหขนาดของดิสกเสมือนโดยรวมมีขนาดท่ีเล็กกวา เม่ือเทียบกับแบบท่ี 1 แตจะมีประสทิ ธิภาพค การทำงานของดิสกเสมือนที่ชากวาแบบที่ 1 ซึ่งจากประสบการณของผูเขียน หากผูอานสรางเครื่อง คอมพิวเตอรเ สมือนเพือ่ ใชฝ ก ปฏิบัติตามตำราเลมน้ี และมดี สิ กท ีใ่ ชง านเปน SSD ผอู านควรเลอื กตัวเลือกแบบที่ 2 เนื่องจากของดิสกเสมือนระหวางการใชงานจะมีขนาดเล็กกวาแบบท่ี 1 มาก แตประสิทธิภาพแตกตางจาก แบบที่ 1 ไมม ากนัก จากนนั้ คลิกปุม Next เพ่ือดำเนินการขั้นตอนถัดไป ดงั ภาพที่ 4.24 62

ภาพท่ี 4.24 หนาตางการกำหนดพนื้ ทฮ่ี ารดดสิ ก จากนั้นจะปรากฏหนาตางสรุปคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน ใหคลิกปุม Customize Hardware เพื่อกำหนดคุณสมบตั ทิ ี่จำเปน สำหรบั การทำงานของโปรแกรม KVM ดงั ภาพท่ี 4.25 ภาพท่ี 4.25 หนาตางสรุปการสรา งเคร่อื งคอมพวิ เตอรเสมอื น 63

เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจำเปนตองตั้งคาอนุญาตการทำเสมือนซอน ใหคลิกขวาที่รายการ เครอื่ งคอมพิวเตอรเสมือน และเลอื ก Settings ในหนา ตาง Hardware คลิกทเ่ี มนูฝงซายเปน Processors และ เลือกจำนวนแกนของหนวยประมวลผลกลางใหไมเกินจากจำนวนแกนที่เครื่องที่ใชงานอยูมี แตควรกำหนด อยางนอย 2 แกน เพื่อใหอีก 1 แกนถูกใชโดยเฉพาะโปรแกรม KVM และคลิกเลือกทั้ง Virtualize Intel VT- x/ETP or AMD-V/RVI และ Virtualize CPU performance counters เพอื่ เปด การทำงานการทำเสมอื นซอน ดังภาพท่ี 4.26 ภาพที่ 4.26 หนาตา งการเลอื กจำนวนแกนหนวยประมวลผล จากนั้นเลือกเมนูฝงซายเปน New CD/DVD (IDE) และเลือกแฟมขอมูล ISO ของระบบปฏิบัติการ CentOS 8 ดงั ภาพท่ี 4.27 64

ภาพท่ี 4.27 หนาตา งการเพิ่มไฟลร ะบบปฏิบตั ิการ ขั้นตอนสุดทายคือระบุจำนวนหนวยความจำหลักที่ตองใชงาน ดังภาพที่ 4.28 ผูอานควรระบุใหมี ปริมาณไมนอยกวา 2GB จากน้นั คลิกปมุ OK เพอ่ื จบการตั้งคา เครื่องคอมพิวเตอรเ สมอื น จากน้นั ผูอา นสามารถ เปดการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนไดดวยการเลือกเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนที่ตองการ และคลิก เลือก Play virtual machine เพื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน โดยโปรแกรม VMWare Workstation Player จะแสดงหนาจอของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนใหเองโดยอตั โนมัติ สำหรับการใชงานโปรแกรม VMWare Workstation Player นน้ั ผูอ านจะพบวาเมื่อเครอื่ งคอมพิวเตอร เสมือนทำงานแลว การใชเมาสและคียบอรดของเครื่องภายนอกโปรแกรม และเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน ภายในโปรแกรมจะเปนอิสระอยางสิ้นเชิง ดังนั้น หากผูอานตองการพิมพขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน ผูอานสามารถใชเมาสคลิกที่หนาจอ หรือกด CTRL + G เพื่อปอนขอมูลเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน แตหาก ตองการกลบั มาปฏิสมั พนั ธกับระบบปฏิบัติการวินโดวส สามารถกด CTRL + ALT พรอมกันเพ่ือกลับออกมาได 65

ภาพที่ 4.28 หนา ตา งการระบจุ ำนวนหนวยความจำหลัก 4.9 การติดตง้ั ระบบปฏิบตั กิ ารลีนกุ ซ หลังจากทีเ่ ปดเครื่องคอมพวิ เตอรเสมือนข้ึนมาแลว หากผูอานไดเลือกไดรฟดีวีดีของเครื่องคอมพิวเตอร เปน แฟม ขอมูล ISO ของระบบปฏิบัตกิ าร CentOS 8 ไดถ ูกตอ งจะปรากฏหนาจอใหตดิ ตั้งระบบปฏบิ ัติการ โดย ใชเ มาสค ลิกทีห่ นาจอแลว กดลูกศรเลอื่ นข้ึน และเลอื ก Install CentOS Linux 8 ดงั ภาพท่ี 4.29 ภาพที่ 4.29 หนา จอตดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั กิ าร 66

ภาพท่ี 4.30 หนา จอการเลือกภาษาและคยี บอรด จากนน้ั จะปรากฏหนา จอใหเ ลอื กภาษาและคยี บ อรด ดงั ภาพที่ 4.30 โดย CentOS 8 สนับสนนุ คยี บอรด ภาษาไทย แตผูเขียนแนะนำวาผูอานสามารถเลือกภาษาและคียบอรดเปน English และ English (United States) ได เนื่องจากการปฏิสัมพันธกับโปรแกรม KVM และเครื่องมืออื่น ๆ ในระบบปฏิบัติการลีนุกซไมมี ความจำเปนตองใชคียบอรดภาษาไทย และการเลือกคียบอรดภาษาไทยอาจเกิดความยุงยากในภายหลังเวลา สลับภาษาของคียบอรด อีกดวย ภาพที่ 4.31 หนาจอหลักสำหรบั การติดตงั้ ระบบปฏิบัตกิ าร 67

จากน้ันจะปรากฏหนาจอหลักสำหรบั การตดิ ตัง้ ระบบปฏบิ ัติการ CentOS ดงั ภาพท่ี 4.31 โดยผูอานควร ตงั้ คา ดังนี้ 1) เวลาและวนั ท่ี ใหตงั้ คาเปนวันที่และเวลาปจ จบุ นั และเลอื กโชนเวลาเปน Asia/Bangkok 2) Installation Destination ใหเลือกเปน Automatic partitioning โดยการคลิกที่ Installation Destination และกดปุม Done คำเตือนสีแดงที่หนาจอจะหายไป การจัดสรรแบงพารทติชันโดย อัตโนมัตินี้ ตัวชวยติดตั้งจะจัดสรรใหพารทติชันรูท (/) และพารทติชันโฮม (/home) มีขนาดใหญ ที่สุด 3) Network & Host name ใหค ลิกเลอื ก Ethernet และเปด การทำงานไวโดยอัตโนมัติ 4) Software Selection ใหเลือกเปน Minimal Install เพราะจะติดตั้งเฉพาะแพ็คเกจเทาที่จำเปน เทานัน้ เมื่อตั้งคาครบถว นแลวสามารถเร่ิมการติดตั้งไดโ ดยกดปุม Begin Installation โดยในระหวา งการติดตัง้ ระบบปฏิบัติการนั้น ผูอานจะตองตั้งคารหัสผานของบัญชีผูดูแลระบบ (root) ดังภาพที่ 4.32 เนื่องจากการตั้ง คาเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมือนนี้ ผูอา นบางทานต้ังคาใหฝกฝนเฉพาะในเคร่ืองของตนเอง จึงตองการตั้งรหัสผาน ใหสั้นและจดจำงาย ในกรณีนี้ ตัวชวยติดตั้งจะไมยอมใหตั้งคารหัสผานที่ออนแอ แตสามารถขามคำเตือนนี้ได โดยการกดปุม Done จำนวน 2 ครั้ง เมื่อติดตั้งแพ็คเกจเสร็จสมบูรณ หนาจอติดตั้งจะปรากฏปุม Reboot ดัง ภาพที่ 4.33 หลงั จากกดเคร่ืองจะรีบูตและเขาสรู ะบบปฏบิ ตั กิ าร CentOS 8 ภาพที่ 4.32 หนาจอกำหนดรหัสผา นผดู ูแลระบบ 68

ภาพที่ 4.33 หนา จอแสดงผลการติดตง้ั เสรจ็ สมบูรณ หลังจากที่ระบบปฏิบัตกิ าร CentOS ไดเริ่มทำงานจนพรอมใชงานแลว จะปรากฏหนาจอใหล็อกอิน ดัง ภาพที่ 4.34 ผูอานสามารถใชรหัสผูใช root และรหัสผานที่ไดกำหนดไวเพื่อล็อกอินได ระบบปฏิบัติการ CentOS 8 มีโปรแกรมที่คอยควบคุมสวนกลางเรียกวา systemd (อานวา ซิสเท็มดี) ในกรณีที่ตองการรีบูต เครอ่ื ง สามารถใชค ำสง่ั ไดด ังนี้ # systemctl reboot แตห ากตองการปดเครอื่ งสามารถใชคำสัง่ ดงั น้ี # systemctl poweroff ภาพที่ 4.34 หนาจอล็อกอิน 69

4.10 การเขา ถึงระยะไกลระบบปฏบิ ตั กิ ารลีนกุ ซ เนื่องจากพิมพเพื่อปฏิสัมพันธระบบปฏิบัติการลีนุกซในเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนผานอินเตอรเฟซของ ทั้งโปรแกรม Hyper-V และ VMWare Workstation Player อาจเกิดความไมสะดวกโดยเฉพาะเวลาคัดลอก หรือวางขอมูล การเลื่อนดูขอมูลหนาจอ โดยเฉพาะผูอานที่เริ่มตนใชงานรูปแบบการปฏิสัมพันธแบบบรรทัด คำสั่ง (Command line) และระบบปฏิบัติการลีนุกซจะเปดการเขาถึงระยะไกลหลังการติดตั้งเปนคาเริ่มตน ดังนั้น เพื่อใหการปฏิสัมพันธงายขึ้น ผูอานสามารถใชงานโปรแกรมเขาถึงระยะไกล เพื่อพิมพบรรทัดคำสั่งให งายขึ้น เชน โปรแกรม Putty (Tatham Simon 2020) ซึ่งเปนโปรแกรมฟรีแวร และสามารถดาวนโหลดไดท่ี https://www.putty.org/ ซึ่งในเว็บไซตมีเครื่องมืออื่น ๆ ที่สำคัญตอการปฏิสัมพันธในลีนุกซหลายตัว หาก เปนเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัวของผูอานเอง ผูเขียนแนะนำใหเลือกติดตั้งดวยแพ็คเกจ MSI Windows Installer เพราะจะไดเคร่ืองมือท่ีครบถวนและสามารถเขาถึงโปรแกรม Putty ผา น Start Menu ไดท นั ทีและมี เคร่ืองมือสำหรับทดลองฝก ปฏิบัติในบทเรยี นถัดไป แตหากผอู า นมีสทิ ธ์ิเปนผใู ชงานธรรมดาในเคร่ืองทีใ่ ชงานอยู ก็สามารถดาวนโหลดเฉพาะ putty.exe และ pscp.exe เพื่อเขาถึงระยะไกลไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมือนที่ สรา งขน้ึ มาไดดงั ภาพท่ี 4.35 ภาพที่ 4.35 สวนหนึ่งของหนา เวบ็ ดาวนโ หลดโปรแกรม Putty กอนการใชงานโปรแกรม Putty ผูอานจำเปนจะตองรูที่อยูไอพีของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนที่ติดต้ัง ลีนุกซกอ น โดยล็อกอนิ ดวยบญั ชี root พรอมรหสั ผา นทีร่ ะบไุ วตอนตดิ ตงั้ ทเี่ ครือ่ งคอมพิวเตอรเสมือน และพมิ พ คำส่งั ตรวจสอบทอ่ี ยไู อพี ดงั นี้ # ip addr 70

เมอื่ พมิ พคำสั่งเสร็จ จะปรากฏผลลัพธดังภาพที่ 4.36 ทอ่ี ยไู อพีจะอยูท่ีอนิ เตอรเ ฟสขนึ้ ตน ดวย eth eno ens หรือ enp ท้งั น้ีชอ่ื ทแ่ี สดงขึ้นอยูกับประเภทของไดรเ วอรทใ่ี ชกับอนิ เตอรเฟส (Red Hat Inc. 2020a) จาก ภาพท่ี 4.36 ทอ่ี ยไู อพีเปน 192.168.227.128 ภาพที่ 4.36 การเรยี กดูไอพีของเคร่ือง เมื่อทราบที่อยูไอพีแลวสามารถนำที่อยูไอพีไปกรอกที่โปรแกรม Putty ดังภาพที่ 4.37 จากนั้นคลิกปุม Open เพอ่ื เขา ถึงระยะไกล ในกรณีที่ใช Putty เขาถึงระยะไกลเปนครั้งแรก โปรแกรม Putty จะแสดงวาลายนิ้วมือของเครื่อง คอมพิวเตอรเสมือนผานโพรโตคอล SSH ไมตองกลับของเดิม ซึ่งในความเปนจริงคือ ยังไมมีขอมูลตรงสวนน้ี เก็บอยูทีเ่ ครื่องฝง วินโดวส ใหผูอานคลิก Yes เพื่อดำเนินการตอ ตราบใดก็ตามที่เครื่องคอมพิวเตอรทีม่ ีทีอ่ ยูไอ พีนั้นไมถูกติดตั้งระบบปฏบิ ัติการใหม โปรแกรม Putty จะไมแสดงหนาตา งแจงเตือนลายนิ้วมือใหกับผูอานอกี ในสภาพการใชงานจริง (Production environment) หากโปรแกรม Putty แจงเตือนหนาตางดังกลาว ทั้ง ๆ ที่ผูอานไมไดติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซใหม แสดงวาเครื่องที่ผูอานใชอยูอาจถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการใหม หรือถูกแฮกแลว ซึ่งผูอานควรใชความระมัดระวังในการพิมพคำสั่งใด ๆ กับเครื่องที่โปรแกรม Putty แสดง หนาตา งแจง เตอื นลายน้วิ มอื 71

ภาพท่ี 4.37 หนาตา งโปรแกรม Putty 72

บทสรุป สำหรบั การติดตง้ั โปรแกรม KVM น้ัน หากผูอา นตดิ ตั้งพรอมระบบปฏบิ ตั กิ ารลนี ุกซในเคร่ืองคอมพวิ เตอร โดยตรง โปรแกรม KVM มคี วามตอ งการขั้นตำ่ คือ หนว ยประมวลผลกลางตองสนบั สนุนคำส่งั สว นขยายสำหรับ การทำเสมอื น แตการฝก ปฏบิ ตั ิของบคุ คลท่ัวไป ผอู า นมักมรี ะบบปฏบิ ตั กิ ารวินโดวสอยูแลว ดงั นน้ั เพือ่ ใหผ อู าน สามารถติดตั้งโปรแกรม KVM บนระบบปฏิบัติการวินโดวสได เครื่องคอมพิวเตอรจะตองรองรับการทำเสมือน ซอ น เงื่อนไขการทำเสมือนซอนของเครื่องมีที่หนวยประมวลผลกลางเปนยี่หอ Intel สามารถใชวินโดวส 10 พรอมโปรแกรม Hyper-V ที่มาพรอมกับระบบปฏิบัติการเพื่อฝกปฏิบัติไดทันที แตหากเครื่องมีหนวย ประมวลผลกลางเปนยี่หอ AMD ผูอานจะตองอัพเดทวินโดวส 10 เปนเวอรชัน 2004 และสมัครเขาใชรุน สำหรับวงใน และฝก ปฏบิ ัติผา นโปรแกรม VMWare Workstation Player เทา นั้น ผูอา นสามารถดาวนโ หลดระบบปฏิบัติการ CentOS 8 ไดโ ดยระบบปฏิบตั ิการมีการสนับสนุนไปจนถึงป พ.ศ. 2572 ทำใหผูอานสามารถนำขั้นตอนจากในตำราไปในงานในสภาพจริงได โดยอิมเมจที่เหมาะสมสำหรับ การใชงานคือ minimal เพราะประกอบดวยระบบปฏิบัติการและแพ็คเกจที่จำเปนสำหรบั การทำงานเบืองตน ของระบบปฏิบัติการเทา นั้น ในการเปดการทำเสมือนซอนของเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนใน Hyper-V ผูอานจะตองใชคำสั่ง Set- VMProcessor -VMName <VMName> -ExposeVirtualizationExtensions $true กอนการติดต้ังโปรแกรม KVM ในการเปดการทำเสมือนซอนของเครื่องคมอพิวเตอรเสมือนใน VMWare Workstation Player ผูอาน จะตองตั้งคา Virtualize Intel VT-x/EPT or AMD-V/RVI และ Virtualize CPU performance counters จากเมนยู อย Processors กอ นการติดตงั้ โปรแกรม KVM คำสัง่ สำหรบั รบี ตู เคร่ืองและปดเครือ่ ง คอื systemctl reboot และ systemctl poweroff หากตองการ เขา ถึงระยะไกลผูอา นสามารถใชโปรแกรม Putty โดยตรวจสอบท่อี ยูไอพีจากคำส่งั ip addr ในลีนกุ ซ 73

แบบฝก หดั บทที่ 4 1. การทำเสมือนซอ นคืออะไร 2. หากเครื่องของผูอานมีหนวยประมวลผลกลางเปน AMD ผูอานควรมีขั้นตอนเตรียมเครื่องอยางไรเพื่อใช การทำเสมือนซอ น 3. คุณสมบตั ขิ องระบบปฏิบัตกิ ารวนิ โดวส 10 อะไรบางทจ่ี ำเปนสำหรับการทำงานของโปรแกรม Hyper-V 4. อิมเมจของระบบปฏิบัติการ CentOS ประเภทใด เหมาะสมสำหรับการตดิ ตงั้ ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ สมือน 5. หากตองการเปดการทำงานของการทำเสมือนซอนในโปรแกรม Hyper-V จะตอ งทำอยางไร 74

6. หากตองการเปดการทำงานของการทำเสมือนซอนในโปรแกรม VMWare Workstation Player จะตอง ทำอยางไร 7. ในขั้นตอนการติดตั้งระบบปฏิบัติการ CentOS หากตองการตั้งคารหัสผานงาย ๆ สำหรับบัญชีผูใช root จะตองทำอยางไร 8. บอกคำส่งั ท่ีใชใ นการรีบูตเครอ่ื งและคำส่งั ทใ่ี ชปดเคร่ืองในระบบปฏิบัตกิ ารลีนุกซ 9. บอกคำสั่งท่ใี ชตรวจสอบท่อี ยูไ อพขี องการด เครือขายในระบบปฏบิ ตั กิ ารลีนกุ ซ 10. การแจงเตือนลายนวิ้ มอื ของเครือ่ งทีต่ องการเขา ถึงระยะไกลในโปรแกรม Putty มีความสำคญั อยา งไร 75

76

การตดิ ตัง้ และใชง านเบอื้ งตน ระบบเทคโนโลยีเสมอื น บทนำ เทคโนโลยีเสมือนชวยใหเครื่องคอมพิวเตอรจำนวนหนึ่งเครื่องสามารถแยกออกเปนเครื่องคอมพิวเตอร เสมือน ดวยหลักการทำงานของไฮเปอรไวเซอรที่มาชวยจำลองฮารดแวรโดยเปนตัวกลางระหวาง ระบบปฏิบตั กิ ารในเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือนกบั ฮารด แวร ในปจ จบุ นั ดว ยการออกแบบหนวยประมวลผลกลาง ใหมีสวนขยายที่รองรับการทำงานของไฮเปอรไวเซอร ระบบปฏิบัติการสามารถปฏิสัมพันธกับฮารดแวรผาน ไฮเปอรไวเซอรไดโดยมีประสิทธิภาพใกลเคียงกับการที่ระบบปฏิบัติการปฏิสัมพันธกับฮารดแวรโดยตรง โดย ระบบเทคโนโลยีเสมอื นในตำรานีใ้ ชโ ปรแกรม KVM ซ่ึงเปน โปรแกรมทม่ี คี วามนิยมสงู สดุ 5.1 การตรวจสอบความพรอ มติดตั้งโปรแกรมไฮเปอรไ วเซอร เนื่องจากโปรแกรม KVM เปนไฮเปอรไวเซอรที่ทำเสมือนโดยใชฮารดแวรชวย (Hardware assisted virtualization) ดังนั้น เครื่องที่จะสามารถสั่งให KVM ทำงานไดจะตองมีหนวยประมวลผลกลางท่ีสนับสนุน การทำเสมือนโดยใชฮารดแวรชวยซึ่งหนวยประมวลผลกลางรุนใหมที่ออกมาขายในทองตลาดสนับสนุนสวน ขยายนีอ้ ยูแลว คณุ สมบัตขิ องเคร่อื งขน้ั ต่ำทต่ี อ งเตรียมพรอม คือ 1) เครื่องที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนุกซ ซึ่งในตำรานี้จะใช CentOS 8 (The CentOS Project 2020b) เปนระบบปฏิบัติการอางอิงสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยีเสมือน (Microsoft Inc. 2020d) 2) เครื่องที่ติดตั้งควรมีดิสกขนาดอยางนอย 60GB และพื้นที่อยางนอย 6GB สำหรับติดตั้งโปรแกรม KVM และอีกทกุ 6GB สำหรบั แตล ะเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเสมือนทส่ี รา งขึ้น 3) หนวยความจำหลักอยางนอย 2GB สำหรับโปรแกรม KVM และอีก 2GB สำหรับแตละเครื่อง คอมพวิ เตอรเสมีอนท่สี งั่ ใหท ำงานพรอมกนั 4) มีหนวยประมวลผลกลางที่สนับสนุนสวนขยายการทำเสมือนและระบบปฏิบัติการที่รับรูสวนขยาย การทำเสมือน ผูอานสามารถตรวจสอบวาหนวยประมวลผลกลางสนับสนุนสวนขยาย Intel VT-x หรือ SVM หรือไม ดว ยคำสั่ง # cat /proc/cpuinfo | egrep \"vmx|svm\" หากหนวยประมวลผลกลางสนับสนุนสวนขยายอยางใดอยางหนึ่งจะปรากฎผลลัพธดังภาพที่ 5.1 ตวั อักษร vmx หรือ svm จะถกู เปล่ยี นเปน สีแดงเพอ่ื ใหสังเกตวา มขี อ ความทีต่ รงกัน 77

ภาพที่ 5.1 ผลลัพธก ารตรวจสอบวา หนวยประมวลผลกลางสนับสนุนสวนขยายหรือไม หรอื คำสั่ง # lscpu | grep Virtualization เมื่อพิมพคำสั่ง หากหนวยประมวลผลกลางสนับสนุนสวนขยายของหนวยประมวลผลกลาง Intel และ AMD จะไดผ ลลพั ธด ังภาพท่ี 5.2 และภาพที่ 5.3 ตามลำดบั ภาพที่ 5.2 ผลลพั ธการตรวจสอบการสนบั สนุนสวนขยาย VT-x ภาพท่ี 5.3 ผลลัพธการตรวจสอบการสนับสนุนสวนขยาย AMD-V ในกรณีที่หนวยประมวลผลกลางที่ใชงานอยูเปนรุนใหม แตไมพบการแสดงผล ผูอานอาจตองเปดการ ทำงานของ Virtualization ของ BIOS เมื่อบูตเครื่องกอนเขาวินโดวสและเปดการทำเสมือนซอน หากพบการ แสดงผลกแ็ สดงวาเคร่ืองพรอมสำหรับการติดตั้งโปรแกรม KVM เรียบรอย ซ่งึ ในกรณที ตี่ ิดตั้ง CentOS 8 ลงไป ในเครื่องโดยตรงโดยที่ไมมีระบบปฏิบัติการวินโดวจะไมพบปญหาการไมสนับสนุนสวนขยาย Intel VT-x และ AMD-V หากเครื่องที่จะติดตั้งโปรแกรม KVM มีคุณสมบัติพรอมครบทั้ง 4 อยาง ผูอานสามารถดำเนินการติดต้งั ทนั ที 5.2 การตดิ ต้งั ซอฟตแ วรแ พค็ เกจท่ีจำเปน เนื่องจากการทำระบบเสมือน เปนที่นิยมในปจจุบัน ระบบปฏิบัติการ CentOS 8 จึงจัดกลุม แอปพลิเคชันที่จำในการทำงานอยางหนึ่งใหเปนโมดูลเพ่ือใหงายตอการติดตั้ง อยางไรก็ตามโปรแกรม KVM เปนโปรแกรมที่มีขนาดใหญและมีความซับซอนจึงมีขั้นตอนการติดตั้งหลายขั้นตอน โดยหลักมีขั้นตอน 2 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 78

1) ตดิ ตง้ั แพค็ เกจท่เี กี่ยวขอ ง และตรวสอบสถานะไฮเปอรไ วเซอร 2) เปด บรกิ ารไฮเปอรไ วเซอร ตรวจสอบสถานะของบริการผูอานสามารถเริ่มตน ติดตงั้ แพค็ เกจจากกลุม ของ virt ขั้นตอนที่หนึ่ง การติดตั้งแพ็คเกจที่เกี่ยวของ แพ็คเกจที่จัดชุดไวเรียกวา โมดูล โดยโมดูลของระบบ เสมอื นชื่อ virt สามารถพมิ พค ำส่ัง ดังนี้ # yum module install virt เพ่อื ใหการบรหิ ารจดั การระบบเสมอื นเปนไปดว ยความงา ย จงึ ควรติดตัง้ แพ็คเกจอกี 2 แพค็ เกจ คือ 1) virt-install เปน แพค็ เกจเครื่องมือที่ใชส รางเครอื่ งคอมพวิ เตอรเสมือน 2) virt-viewer เปนแพ็คเกจเครื่องมือแบบงายสำหรับแสดงหนาจอคอมพิวเตอรของเครื่อง คอมพิวเตอรเสมือน ซึ่งสามารถเชื่อมตอจากภายนอกผานโพรโตคอล VNC ได ทำใหผูอานสามารถ ติดต้งั ระบบปฏิบัติการทีบ่ างทตี อ งใชเ มาสคลิก หรอื ใชคยี บ อรดเลือกตงั้ คากอ นการติดต้งั โดยคำสงั่ ท่ใี ชตดิ ตั้ง ดังน้ี # yum install virt-install virt-viewer เมื่อติดตั้งเรียบรอย เพื่อใหแนใจวาเครือ่ งคอมพิวเตอรท ี่ใชงานอยูพรอ มสำหรบั การทำงานระบบเสมอื น สามารถใชคำสั่งตอไปนี้เพื่อตรวจสอบสถานะ โดยโปรแกรมจะขึ้นวา PASS หมายถึงผานการตรวจสอบ หรือ FAIL หมายถึงไมผา นการตรวจสอบ) ดงั ภาพที่ 5.4 # virt-host-validate ภาพที่ 5.4 การตรวจสอบสถานะความพรอ มสำหรบั การทำงานระบบเสมอื น 79

อยางไรก็ตามคำสั่งตรวสอบความพรอมอาจแสดงผลเปน WARN หมายถึง ไมจำเปนตองแกไข แตหาก แกไขจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบใหดีขึ้น เมื่อติดตั้งเสร็จ ผูอานสามารถตรวจสอบวา kvm ไดเปลี่ยน แกนของลนี กุ ซใหเ ปนไฮเปอรไวเซอรหรือยัง ดว ยคำสง่ั # lsmod | grep kvm ภาพที่ 5.5 การตรวจสอบโมดูล kvm หากแสดงผลเปนดังภาพที่ 5.5 วามี kvm และ kvm_intel สำหรับหนวยประมวลผลกลาง Intel หรือ kvm_amd สำหรบั หนว ยประมวลผลกลาง AMD แสดงวา สามารถพรอมทำงานเปน ไฮเปอรไ วเซอร เฉพาะเครี่องที่ใชหนวยประมวลผลกลาง AMD และทดลองฝกปฏิบัติจากโปรแกรม VMWare อาจ ประสบปญหาการสรางเครื่องคอมพิวเตอรในภายหลังซึ่งในปจจุบันเปนขอผิดพลาดของโปรแกรม VMWare และระบบปฏิบัติการวินโดวส 10 รุนสำหรับวงใน ดังนั้น ผูอานจำเปนตองแกไขแฟมขอมูล kvm.conf เพ่ือ แกไขขอ ผิดพลาดเบอ้ื งตน โดยเพม่ิ การตัง้ คา ตัวเลือก KVM ดวยคำสั่งน้ี # echo \"options kvm ignore_msrs=1\" >> /etc/modprobe.d/kvm.conf # echo \"options kvm report_ignored_msrs=0\" >> /etc/modprobe.d/kvm.conf จากนั้นเฉพาะเครื่องที่ใชหนวยประมวลผลกลาง AMD จำเปนตองรีบูตเครื่องกอนการเปดบริการของ ไฮเปอรไ วเซอร ลำดับถัดไปคือ การเปดบริการของไฮเปอรไวเซอรชื่อ libvirtd เพื่อใหเครื่องมือสามารถปฏิสัมพันธกับ แกนของระบบปฏิบตั ิการได ดวยคำสง่ั # systemctl start libvirtd และสั่งใหเปดการทำงานของบริการไฮเปอรไวเซอรทุกครัง้ ที่ระบบปฏิบัติเริม่ การทำงาน ในกรณีที่อาจมี การรีบูตเครื่อง หรือปด เครือ่ งไป # systemctl enable libvirtd จากนั้นผูอานสามารถตรวจสอบการทำงานของบริการไฮเปอรไวเซอรไดวาทำงานถูกตองหรือไม ดวย คำส่ัง # systemctl status libvirtd 80


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook