A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 สภากาแฟ 37 ท่ีปรึกษา บทความพเิ ศษ มารี กรู ี 11 ห้องภาพสตั ว์ป่าไทย 43 สาระวทิ ย์ในศิลป์ 44 ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกุล บทความพเิ ศษ HUMAN IN SPACE 18 50 จฬุ ารตั น์ ตนั ประเสรฐิ 56 จมุ พล เหมะคีรินทร์ ร ะเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย 22 เปดิ โลกนทิ านดาว 57 65 บรรณาธกิ ารผพู้ มิ พผ์ ู้โฆษณา หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก 25 อ๋อ ! มันเปน็ อยา่ งนีน้ ่เี อง 69 ป้ันน�้ำ เปน็ ปลา กลุ ประภา นาวานุเคราะห์ Sci Infographic 27 Sci Quiz คำ�คมนักวทิ ย์ บรรณาธิการอำ�นวยการ รอ้ ยพนั วิทยา 30 นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ENdiototer’s บรรณาธกิ ารบริหาร วันั วิทิ ยาศาสตร์แ์ ห่ง่ ชาติิ ปริทศั น์ เทียนทอง วัันที่� 18 สิิงหาคม ของทุุกปีีเป็็นวัันวิิทยาศาสตร์์แห่่งชาติิ ซึ่่�งเป็็นวัันที่�พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว รััชกาลที่� 4 เสด็็จทอดพระเนตรสุรุ ิยิ ุปุ ราคาเต็ม็ ดวงเมื่�่อ พ.ศ. 2411 ที่่�บ้า้ นหว้้ากอ จังั หวััดประจวบคีรี ีีขัันธ์์ นัับได้้ว่่า กองบรรณาธิการ เป็็นวัันที่่�มีคี วามสำ�ำ คััญต่่อวงการวิทิ ยาศาสตร์์และดาราศาสตร์์ของไทย รกั ฉัตร เวทีวุฒาจารย์ ตามปกติิแล้้วในช่่วงเดืือนสิิงหาคม หน่่วยงานภาครััฐและสถาบัันการศึึกษาจะจััดงานสััปดาห์์วิิทยาศาสตร์์กัันเป็็น วัชราภรณ์ สนทนา ประจำ�ำ ทุุกปีี โดยมีีงานใหญ่่สำำ�คััญคืือ “มหกรรมวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ” ซึ่่�งเป็็นกิิจกรรมทาง อาทติ ย์ ลมูลปล่ัง วิทิ ยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีทีี่�ยิ่�งใหญ่ท่ ี่่�สุดุ ของปีี มีกี ิจิ กรรมมากมายพร้อ้ มองค์ค์ วามรู้�ที่�เปิดิ จินิ ตนาการ สร้า้ งความ วณี า ยศวงั ใจ ตื่�น่ เต้้น สร้า้ งแรงบัันดาลใจ และสร้้างความตระหนัักด้้านวิิทยาศาสตร์์ให้แ้ ก่่เยาวชนและประชาชนคนไทย ภัทรา สัปปนิ ันทน์ แต่่เนื่อ่� งด้้วยสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของ COVID-19 ในปััจจุุบันั ทำำ�ให้ก้ ารจัดั งาน “มหกรรมวิิทยาศาสตร์์และ นักเขียนประจ�ำ เทคโนโลยีแี ห่่งชาติิ” ในช่ว่ งเดืือนสิงิ หาคมต้อ้ งเลื่�อ่ นออกไปจััดในช่ว่ งปลายปีี พ.ศ. 2564 แทน (หากสถานการณ์์ เอื้�ออำ�ำ นวยให้้จััดงานได้้) โดยในปีีนี้้�การจััดกิิจกรรมอยู่�ภายใต้้นโยบายหลััก ศิิลปะ วิิทยาศาสตร์์ และเศรษฐกิิจ รวิศ ทศั คร สร้า้ งสรรค์์ และแนวคิดิ หลักั International Year of Fruits and Vegetables พงศธร กจิ เวช ป๋วย อุ่นใ จ สาระวิิทย์์ฉบัับนี้้�เลยจะพาไปติิดตามการจััดนิิทรรศการออนไลน์์จากเว็็บไซต์์ทั้้�งของคนไทยและของต่่างประเทศ วริศา ใจดี ที่�จะพาเราเข้า้ สู่�โลกแห่ง่ การเรียี นรู้้�รููปแบบใหม่่ในยุุค New Normal บรรณาธิการศิลปกรรม ☺หวัังว่่าเด็็กๆ จะได้้มีีโอกาสได้้ร่่วมกิิจกรรมวิิทยาศาสตร์์สนุุกๆ ในมหกรรมวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ จฬุ ารตั น์ นมิ่ นวล ในช่ว่ งปลายปีนี ี้้ค� รับั ศิลปกรรม 2 ปสริิงิทัหศั บานร์ค์ รมเณทียี 2านธ5ิทิก6อาร4ง เกิดศริ ิ ขันติกิตตกิ ลุ ศุภณัฐ บญุ นะบุตร ผผู้ ลติ ฝา่ ยสร้างสรรคส์ ่อื และผลติ ภณั ฑ์ ส�ำ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 111 อุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนง่ึ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดตอ่ กองบรรณาธกิ าร โทรศัพท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 อเี มล [email protected]
Cover Story กองบรรณาธกิ าร ท่่องโลกออนไลน์เ์ รีียนรู้้�วิทิ ยาศาสตร์์ ในยุคุ นิิวนอร์์มััล (New Normal) ด้้วยสถานการณ์ก์ ารแพร่ร่ ะบาดของโควิิด 19 ในปััจจุุบันั ทำำ�ให้เ้ ราไม่่สามารถ เข้า้ ไปเที่ย�่ วชมแหล่ง่ เรีียนรู้ใ�้ นสถานที่ต่� ่า่ งๆ เช่น่ พิิพิิธภัณั ฑ์์ ได้ต้ ามปกติิ ทำำ�ให้้ เด็็กๆ และเยาวชนขาดโอกาสในการเรีียนรู้้�นอกห้้องเรีียน เพราะการที่่�เด็็กๆ ได้เ้ ดินิ ทางไปทัศั นศึกึ ษากับั ทางโรงเรีียนหรือื ผู้�้ ปกครอง เป็น็ การช่ว่ ยส่่งเสริมิ และเปิดิ โลกแห่ง่ การเรีียนรู้ไ�้ ด้้เป็น็ อย่า่ งดีี โดยเฉพาะในชว่ งเดอื นสงิ หาคมของทกุ ปี นอกจากหนว่ ยงาน โลกออนไลน์ได้ โดยมีเว็บไซต์ของไทยและต่างประเทศมากมาย ภาครัฐหรือสถานศึกษาจะจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ที่เปิดให้ทุกคนได้เข้าไปเยี่ยมชม ค้นหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ขนึ้ แลว้ ยงั มงี าน “มหกรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาต”ิ ได้อย่างสนุกสนานไม่แพ้การไปเย่ียมชมในสถานที่จริง และยังมี ซึ่งเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีย่ิงใหญ่ท่ีสุด ข้อดีท่ีสำ�คัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ เราสามารถเข้าชมแหล่งความรู้ ของปี มกี จิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรม์ ากมายทช่ี ว่ ยเปดิ จนิ ตนาการ ทางออนไลน์ได้ 24 ชวั่ โมง ไม่วา่ เราจะอยทู่ ่ีไหนกต็ าม สรา้ งความตนื่ เตน้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ และสรา้ งความตระหนกั กองบรรณาธกิ ารนติ ยสารสาระวทิ ย์ไดร้ วบรวมเวบ็ ไซตแ์ หลง่ ด้านวทิ ยาศาสตร์ใหแ้ กเ่ ดก็ ๆ และเยาวชนทว่ั ประเทศ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรท์ นี่ า่ สนใจใหท้ กุ คนไดเ้ ขา้ ไปเยยี่ มชมและสนกุ แตใ่ นยุคน้ี ถึงแม้เด็กๆ จะต้องเรียนออนไลนอ์ ยู่ท่บี า้ น แต่ก็ ไปกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในยุคนิวนอร์มัลแล้วในบทความนี้ ยังสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจผ่านทาง ถา้ พรอ้ มแลว้ ลุยกันเลย สงิ หาคม 2564 3
Cover Story นิิทรรศการเสมืือน 360 องศา 1. NST Fair Virtual Exhibition http://www.thailandnstfair.com/virtual สนุกไปกับนิทรรศการเสมือน 360 องศา (virtual exhibition) ที่ยกเอานิทรรศการ 7 โซนจากงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2563 มาแสดงท่ีเว็บไซต์ http://www.thailandnstfair.com/virtual เมอื่ เราเลอื กคลกิ เขา้ สโู่ ซนนทิ รรศการทสี่ นใจ กจ็ ะปรากฏหนา้ นอกจากนบี้ รเิ วณแถบดา้ นลา่ งของจอยงั มเี มนใู หเ้ ลอื กใชง้ าน แสดงผลภาพพน้ื ทนี่ ทิ รรศการจรงิ แบบ 360 องศา โดยเราสามารถ อีก 5 เมนู ไดแ้ ก่ คลกิ เลอื กจดุ วงกลมสขี าวเพอื่ เขา้ สพู่ น้ื ทก่ี ารแสดงขอ้ มลู ตา่ งๆ ซงึ่ • ขอ้ มลู นิทรรศการ เพ่ือแสดงข้อความอธิบายเน้ือหาของ จะปรากฏทั้งขอ้ มูลภาพและคลิปวิดโี อ นิทรรศการโดยยอ่ • แบบทดสอบ เพอ่ื ท�ำ แบบทดสอบสน้ั ๆ ในเรอ่ื งทเ่ี ขา้ ชม • นทิ รรศการอ่นื ๆ เพอ่ื เลือกชมนทิ รรศการอ่นื ๆ • แชร ์ เพ่ือแชร์ลิงก์เข้าชมนิทรรศการให้เพ่ือนๆ บนเฟซบกุ๊ • หน้าหลัก เพ่ือกลบั สหู่ นา้ แผนทห่ี ลกั ของนทิ รรศการ สิงหาคม 2564 4
Cover Story 2. มิิวเซีียมสยาม ชาติไทย ห้องครวั มีชีวติ ทจ่ี ะพาไปเรยี นรู้เรอื่ งราวของอาหารไทย ระบบพิิ พิิ ธภััณฑ์์เสมือื นจริงิ ผ่านโมชันกราฟิก และห้องเรียนเสมือนจริงที่พาย้อนไปยัง ห้องเรียนในยุคอดตี https://www.museumsiam.org/ve.php เข้าชมนิทรรศการเสมือนจริง 360 องศา \"ถอดรหัสไทย\" ได้ท่ีลิงก์ https://www.museumsiam.org/virtualexhibition/ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam: DecodeThai_4 Discovery Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งแรกท่ีเน้น การสร้างประสบการณ์สดใหม่ในการชมพิพิธภัณฑ์ ดำ�เนินการ ภายใต้ปรัชญา Play + Learn = เพลิน นำ�เสนอด้วยรูปแบบที่ สรา้ งสรรคแ์ ละสนกุ สนาน โดยใชก้ จิ กรรมตา่ งๆ เปน็ ตวั ขบั เคลอ่ื น ท่สี ำ�คัญ ส�ำ หรบั นทิ รรศการถาวรชดุ ใหมท่ ม่ี จี ดั แสดงอยทู่ ม่ี วิ เซยี มสยาม คือ \"ถอดรหัสไทย\" (Decoding Thainess) ท่ีจะพาทุกคนไป เรยี นรพู้ ฒั นาการความเปน็ \"ไทย\" ตง้ั แตอ่ ดตี ถงึ ปจั จบุ นั จากบรบิ ท ทางสงั คมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปตามยคุ สมยั ผา่ นนทิ รรศการทม่ี รี ปู แบบ การน�ำ เสนอทแ่ี ปลกใหม่ เชน่ เทคโนโลยสี อ่ื ผสมเรอ่ื งราวการพฒั นา สงิ หาคม 2564 5
Cover Story 3. การประชุุมวิชิ าการประจำ�ำ ปีี สวทช. นิทรรศการ BCG Economy Model ครอบคลมุ 8 ด้าน เพ่อื ครั้้ง� ที่่� 16 NAC2021 ขับเคล่ือนประเทศไทย ดังนี้ 1. ดา้ นเกษตร https://www.nstda.or.th/nac/2021/exhibition/bcg/ 2. ด้านอาหาร 3. พลังงาน วสั ดุ และเคมีชวี ภาพ นิทรรศการออนไลน์ให้ข้อมูลความรู้เรื่องโมเดลเศรษฐกิจ 4. เคร่ืองมอื แพทย์ บีซีจี หรือ BCG Economy Model ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของ 5. ความหลากหลายทางชีวภาพ การประชุมวชิ าการประจำ�ปี สวทช. คร้งั ที่ 16 (พ.ศ. 2564) 6. เศรษฐกจิ หมุนเวยี น สำ�หรับ BCG Economy Model (Bio-Circular-Green 7. ยาและวัคซนี Economy Model) คือ รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจใหม่ ที่ใช้ 8. ท่องเทีย่ วและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม มาเสรมิ สรา้ งจดุ แขง็ ของ เขา้ ชมนทิ รรศการออนไลนท์ จี่ ะใหข้ อ้ มลู เนอื้ หา ภาพ และคลปิ ประเทศไทย ในด้านเกษตรและอาหาร, สขุ ภาพและการแพทย์, วดิ โี อไดท้ ลี่ งิ ก์ พลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ, การท่องเท่ียวและเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม https://www.nstda.or.th/nac/2021/exhibition/bcg/ ให้แข็งแกร่ง เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ https://www.nstda.or.th/nac/2021/exhibition/bcg/ และย่ังยืน สร้างความสามารถในการพ่ึงตนเอง สร้างภูมิคุ้มกัน https://www.nstda.or.th/nac/2021/exhibition/bcg/ และสามารถฟน้ื ตัวไดร้ วดเร็ว สิงหาคม 2564 6
Cover Story 4. The British Museum (อัังกฤษ) ท่ีมขี องสะสมมากท่ีสุดในโลก แม้ในช่วงน้ีจะไปเย่ียมชมถึงสถานท่ีจริงไม่ได้ แต่เราก็ยัง https://britishmuseum.withgoogle.com/ สามารถเขา้ ชมนทิ รรศการออนไลน์ The Museum of the world ของ British Museum ซึ่งทำ�ออกมาได้น่าสนใจมาก มีรูปแบบ British Museum กรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑ์ การแสดงผลลำ�ดับตามช่วงเวลา ต้ังแต่ยุคปัจจุบันย้อนกลับไป เก่าแก่ที่จัดแสดงเร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของมนุษย์ จนถึงช่วงก่อนคริสตกาล โดยแบ่งข้อมูลนิทรรศการออกเป็น ในทกุ แขนง จดั ตงั้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2296 และเปิดให้คนจากทัว่ โลก 5 ทวีป ได้แก่ ทวปี แอฟรกิ า ทวปี อเมรกิ า ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป เข้าชมได้ฟรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2302 จนถึงปัจจุบัน ของสะสมถาวร ของพพิ ธิ ภณั ฑม์ จี �ำ นวนราวแปดลา้ นชน้ิ ถอื เปน็ หนง่ึ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ และทวีปโอเชยี เนยี เม่ือคลิกเลือกข้อมูลของสะสมที่ ตอ้ งการดกู จ็ ะปรากฏภาพและขอ้ ความอธบิ าย นอกจากนี้ยังสามารถเลือกให้เล่นไฟล์เสียง ค�ำ อธบิ ายไดอ้ กี ดว้ ย และมขี อ้ มลู ของสะสมชน้ิ อน่ื ท่มี คี วามเช่ือมโยงกนั ใหเ้ ลือกเข้าไปชม สิงหาคม 2564 7
Cover Story 5. Smithsonian Institution National ในระหวา่ งทกี่ �ำ ลงั เดนิ ดพู พิ ธิ ภณั ฑส์ ามารถคลกิ ปมุ่ ลกู ศรทบี่ รเิ วณ Museum of Natural History พื้นทางเดินเพ่ือขยับไปในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงกัน นอกจากน้ี (สหรััฐอเมริิกา) ระบบยงั รองรับการใช้แวน่ ตาประเภท VR (virtual reality) ชว่ ย เพมิ่ อรรถรสในการเดนิ ชมเหมือนเขา้ ไปอยู่ในสถานทจ่ี ริง https://naturalhistory2.si.edu/vt3/NMNH/ Smithsonian Institution National Museum of Natural History เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑป์ ระวตั ศิ าสตร์ ธรรมชาตแิ หง่ ชาติ บรหิ ารงานโดยสถาบนั สมธิ โซ เนียน ต้ังอยู่ที่วอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริกา เป็น พิพิธภัณฑ์ท่ีมีช่ือเสียงโด่งดังเป็นท่ีรู้จักท่ัวโลก ในแต่ละปีมีผ้เู ขา้ เย่ยี มชมหลายล้านคน ในส่วนของการเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ออนไลน์ก็ทำ�ได้น่าต่ืนตาตื่นใจไม่แพ้การเข้าชม สถานที่จริง เม่ือเราเข้าสู่เว็บไซต์ https:// naturalhistory2.si.edu/vt3/NMNH/ แล้วก็ จะเจอ“เฮนรี(Henry)”ชา้ งแอฟรกิ ายนื รอตอ้ นรบั ผเู้ ข้ามาเยี่ยมชม เราสามารถเลือกจุดเย่ียมชมได้จากแผนท่ี ของพิพิธภัณฑ์ท่ีอยู่มุมขวาบนของจอภาพ และ สงิ หาคม 2564 8
Cover Story 6. Google Art & Culture Google ใชเ้ ทคโนโลยที ช่ี ว่ ยท�ำ ใหผ้ ชู้ มสามารถดรู ายละเอยี ด ของผลงานท่ีจัดแสดงได้ลึกมากกว่าการเข้าชมของจริงท่ี https://artsandculture.google.com/ พิพิธภัณฑ์ ด้วยเคร่ืองมือการซูมภาพท่ีทำ�ให้เราเห็นถึงพื้นผิว เห็นถงึ รอยแตกของสี รายละเอยี ดเล็กๆ บนผลงานของศลิ ปนิ ท่ี แพลตฟอรม์ ออนไลน์ Google Arts & Culture ของ Google ยากจะมองด้วยตาเปลา่ และวิดีโอ 360 องศา พรอ้ มค�ำ บรรยาย เปิดให้ทุกคนเข้าถึงผลงานท่ีจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์กว่า ทเี่ สมอื นอยใู่ นพพิ ธิ ภณั ฑ์ สามารถเลอื กหวั ขอ้ ทสี่ นใจไดท้ ี่ https:// 1,200 แห่งท่ัวโลก โดยรวมถึงพิพิธภัณฑ์และองค์กรด้านศิลปะ ของไทยดว้ ย artsandculture.google.com/ และ สามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน Google Arts & Culture ได้ทั้ง Google Play และ App Store อกี ดว้ ย สิงหาคม 2564 9
Cover Story 7. องค์์การพิิ พิิ ธภััณฑ์ว์ ิิทยาศาสตร์์ ท้ังหมดน้ีเป็นเพียงส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ท่ีมีอยู่ แห่ง่ ชาติิ (อพวช.) มากมายบนอินเทอร์เน็ต หวังว่าจะเป็นประโยชน์สำ�หรับทุกคน โดยเฉพาะน้องๆ เยาวชนท่ีแม้จะต้องเรียนออนไลน์อยู่ที่บ้าน https://nsm.or.th/Introduction.html ไม่สามารถเดินทางไปเที่ยวชมแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนได้ใน ช่วงนี้ แต่เราก็ยังมีแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ท่ีสนุกและได้ประโยชน์ ปดิ ทา้ ยกนั ดว้ ยองคก์ ารพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ หรอื มาให้ได้ค้นคว้า หาความรู้ เข้าชมเพลินๆ ให้หายเบ่ือได้ในยุค อพวช. แหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย นิวนอร์มัลนี้ ซงึ่ ตงั้ อยทู่ ค่ี ลองหา้ จงั หวดั ปทมุ ธานี เปดิ ตวั เวบ็ ไซต์โฉมใหมท่ ป่ี รบั เป็น virtual tour เตม็ รูปแบบ ในมมุ มองกราฟิกแบบ 360 องศา เพ่ือเย่ียมชมศูนย์นวัตกรรมแห่งอนาคต หรือ Futurium แหล่ง เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมแห่งอนาคต โดย เข้าชมไดท้ ีล่ ิงก์ https://nsm.or.th/Introduction.html ภายในหนา้ เวบ็ ไซตศ์ นู ยน์ วตั กรรมแหง่ อนาคต ทเี่ มนแู รกดา้ น ลา่ งเราจะพบกบั ขอ้ มลู การแนะน�ำ สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมดว้ ย รปู แบบภาพ 3 มติ ิ ทเ่ี ราคลกิ หมนุ ภาพดไู ด้โดยรอบ พรอ้ มขอ้ ความ อธบิ าย ส่วนเมนูถัดมาจะให้ข้อมูลแนะแนวอาชีพด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 20 อาชพี ทคี่ ลกิ เขา้ ไปดรู ายละเอยี ดแตล่ ะอาชพี ได้ พรอ้ มแอปพลิเคชันแนะนำ� ส�ำ หรับอาชีพนั้นๆ สงิ หาคม 2564 10
บทความพเิ ศษ อรพนิ ท์ วิภาสรุ มณฑล (เมนช) เรยี บเรียง มารีี กููรีี หนึ่่�งหญิงิ ผู้้�เปลี่่�ยนโฉมหน้้าโลกวิิทยาศาสตร์์ บทสุดุ ท้้าย ชีวี ิติ และผลงานของมารีีหลังั สงคราม-มารีใี นอเมริกิ า สหรััฐอเมริิกาเข้้าร่่วม ส ง ค ร า มกัั บ ฝ่่ า ย สััมพัั นธมิิตรในช่่วงปลาย สงคราม แต่ม่ ีีบทบาทสำำ�คัญั ที่ท�่ ำำ�ให้ฝ้ ่า่ ยสััมพัันธมิติ รชนะ ในที่�่สุุ ด สถานภาพของ อ เ มริิ ก า หลัั ง ส ง ค ร า มมีี ความสำำ�คััญต่่อยุุโรปมาก ขึ้้น� เพราะเป็น็ ประเทศที่อ�่ ุดุ ม ส มบููร ณ์์ ด้้ ว ย ท รัั พ ย า ก ร ธ รรม ช า ติิ แ ล ะ บุุ ค ล า ก ร เมื่่�อเทีียบกับั ยุุโรป ในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2463 Mrs. ภาพจาก : https://www.lindau-nobel.org/marie-curies-american-adventure/ William Brown Meloney หรอื Missy (มสิ ซ)ี บรรณาธิการแมกาซีนผู้หญิงฉบับหนึ่งใน บัลติมอร์มี 4 กรัม โรงงานในเดนเวอร์มี สละของมารเี ปน็ ทนุ อยแู่ ลว้ เปน็ ตวั ตง้ั ตวั ตี นวิ ยอร์ก ขอพบสัมภาษณม์ ารี กูรี ท่ีปารีส 6 กรัม ในขณะที่สถาบันเรเดียมมีเพียง ตั้งคณะกรรมการรณรงค์ประกาศหาทุน ตอนหน่ึงมารีพูดถึงการผลิตเรเดียม หนง่ึ กรมั เทา่ นนั้ ผลการพบปะมผี ลใหม้ สิ ซี 100,000 ดอลลาร์สหรัฐ เพื่อซ้ือเรเดียม เปรียบเทียบให้เห็นว่าอเมริกามีโรงงาน ซงึ่ นยิ มชมชอบในความสามารถความเสยี หน่ึงกรัมจากอเมริกามอบให้แก่สถาบัน ผลิตเรเดียมหลายโรงงาน มีปริมาณ เรเดียมในครอบครองรวมหลายกรมั เชน่ โรงงานในนิวยอร์กมี 7 กรัม โรงงานใน สงิ หาคม 2564 11
บทความพเิ ศษ เรเดียมเพื่อใช้ในการรักษาโรค เธอลง บรรเลงเพลงชาติสามประเทศ ฝร่ังเศส American Association of University พิมพ์เผยแพร่เรื่องราวการค้นพบเรเดียม โปแลนด์ และอเมริกา พร้อมๆ กัน Women ท่ี Carnegie Hall ในงานเต็มไป ตลอดจนประโยชน์ของเรเดียมในการ มารีมีกำ�หนดอยู่อเมริกาเจ็ดอาทิตย์ ด้วยนักวิจัยหญิงมีช่ือเสียงรุ่นหลัง ผู้มา รกั ษาโรค (โดยมารไี มม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งดว้ ย) กิจกรรมระหว่างน้ัน ได้แก่ ไปงานเล้ียง เป็นตัวแทนของสถาบันเข้าแถวเรียงกัน เพียงไม่ถึงปีก็ได้เงินบริจาคครบตามเป้า ตอ้ นรบั เยย่ี มโรงงาน เยยี่ มหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เข้ามามอบช่อดอกไม้ สตรีทรงคุณวุฒิ หมาย มารีตกลงยอมเดินทางไปอเมริกา (มารีพบว่าโรงงานผลิตเรเดียมบางแห่ง ออกมากล่าวยกย่องบทบาทของมารีต่อ เพื่อรบั มอบเรเดยี ม โดยมีข้อแลกเปลี่ยน ยังคงใช้วิธีการสกัดเรเดียมแบบเดียว ความก้าวหน้าของสตรีทางการศึกษา ว่าระหว่างที่อยู่อเมริกา เธอจะแสดง กับท่ีเธอใช้เม่ือย่ีสิบกว่าปีที่แล้ว) ไป และวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ในงานนีม้ ารไี ด้รับ ปาฐกถา เยี่ยมโรงงาน เย่ยี มห้องทดลอง แสดงปาฐกถาตามมหาวิทยาลัย ได้รับ รางวลั Ellen Richards Research Prize ตามทฝี่ า่ ยอเมรกิ าจัดให้ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตจากวิทยาลัยและ เปน็ เงนิ 2,000 ดอลลารส์ หรฐั จากสมาคม วนั ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. พ.ศ. 2464 มหาวิทยาลัยรวมสิบแห่ง ได้รับเหรียญ สตรีวิทยาศาสตร์เก่าแก่ที่สุดในอเมริกา มารแี ละลกู สาวทงั้ สอง พรอ้ มมสิ ซเี ดนิ ทาง และสมาชิกภาพจากหลายสถาบัน ชือ่ the Naples Table Association ไปอเมริกาโดยเรือโดยสารชื่อโอลิมปิก วิทยาลัยหญิงมีชื่อเสียงหลายแห่ง เธอกบั ลกู ๆ มโี อกาสไปเทยี่ วชมสถาน ทีท่ า่ เรอื ในนิวยอรก์ เธอไดร้ ับการต้อนรับ ที่มารีได้ไปเยี่ยม ได้แก่ Smith Vassar ท่ีมีช่ือหลายแห่ง ไอรีนและอีฟต่ืนเต้น จากผู้คนหลายกลุ่ม เช่น องค์การสตรี และ Bryn Mawr บรรยากาศงานเลี้ยง กับทัศนียภาพของน้ำ�ตกไนแอการาและ อเมรกิ ัน และกลมุ่ สตรชี าวโปล วงดนตรี ตอ้ นรับที่มารีประทบั ใจเป็นพิเศษ จดั โดย แกรนดแ์ คนยอนมาก พิธีรับมอบเรเดียมจัดที่ทำ�เนียบ มารีีเดิินทางไปอเมริิกาโดยเรืือโดยสารโอลิิมปิิก ขาวในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 ภาพจาก : https://www.sciencehistory.org/distillations/marie-curie-marie-meloney- ประธานาธบิ ดวี อรเ์ รน จ.ี ฮารด์ งิ (Warren and-the-significance-of-a-gram-of-radium G. Harding) มอบกล่องหนังสีเขียวบรรจุ นาฬกิ าทรายแก่มารี เปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทน กล่องบรรจุเรเดียมตัวจริงท่ีเก็บไว้ ในท่ี ปลอดภยั จนกวา่ มารจี ะเดินทางกลับ มารีประทับใจในคุณภาพระบบการ ศึกษา อาคาร สถานท่ีเรียนของอเมริกา หอ้ งแลบ็ ทมี่ อี ปุ กรณค์ รบถว้ น อาคารเรยี น แวดล้อมด้วยสนามหญา้ นกั ศึกษาหญิงมี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใดยเฉพาะด้าน กีฬากลางแจ้ง ช่วยให้นักศึกษาหญิงดูมี สขุ ภาพแขง็ แรง ม า รี ผู้ มี สุ ข ภ า พ ไ ม่ ค่ อ ย ดี อ ยู่ แ ล้ ว เม่ือต้องมาตรากตรำ�กับกิจกรรม งาน สังคมต่างๆ ติดต่อกัน บางครั้งเธอ รู้สึกอ่อนเพลียไม่สบาย ต้องขอตัวจาก สงิ หาคม 2564 12
บทความพเิ ศษ พ.ศ. 2468 โดยมีประธานาธิบดีโปแลนด์ ผวู้ ่าราชการจงั หวัดวอรซ์ อ และมารี เป็น ผวู้ างศลิ าฤกษ์ มารีเดินทางไปเปิดสถาบันเรเดียม อยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 เป็นครง้ั สดุ ท้ายที่เธอเหน็ โปแลนด์ พิิธีีรัับมอบเรเดีียมจััดที่่�ทำำ�เนีียบขาวในวัันที่่� 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 ผลงานทางวิิทยาศาสตร์์ ทีีม ภาพจาก : https://www.sciencehistory.org/distillations/marie-curie-marie-meloney- and-the-significance-of-a-gram-of-radium มารีีกับั ไอรีนี ฌอลิโิ ย-กููรีี กิจกรรมที่กำ�หนด ไอรีนหรืออีฟต้องทำ� ขาดโอกาสเพราะยากจน เธอใช้ชื่อเสียง (Irène Joliot-Curie) หน้าที่แทน กิจกรรมส่วนใหญ่ที่จัดในรัฐ และสอื่ มวลชนในการรณรงคร์ ะดมหาทนุ แถบตะวันตกต้องยกเลิกไปเพ่ือถนอม การศกึ ษา ทุนวจิ ยั ทุนซอ้ื อุปกรณ์ให้หอ้ ง หลังสงครามมารีอุทิศเวลาให้งาน สขุ ภาพของเธอ เธอสนั นษิ ฐานวา่ อาการนี้ ปฏบิ ตั กิ ารทข่ี าดแคลน วธิ กี ารหนง่ึ ท่ีใชค้ อื สอนทซี่ อรบ์ อนน์ งานวจิ ยั และงานบรหิ าร เปน็ ผลจากถกู รงั สี (แตใ่ นขณะน้นั ยังไม่มี ขอความรว่ มมอื จากโรงงานอตุ สาหกรรมที่ ที่สถาบันเรเดียม อาทิตย์หนึ่งๆ มารีมี การศกึ ษาผลเสยี ระยะยาวจากการถกู รงั สี จะได้ผลประโยชน์จากผลงานวิจยั นั้นๆ เลกเชอร์ท่ีซอร์บอนน์สองวัน แม้จะสอน อย่างแท้จรงิ ) ฤดูใบไม้ร่วง พ.ศ. 2472 มารีเดิน มาหลายปี เธอยังต้องเตรียมตัวทุกครั้ง มารีเดินทางกลับปารีสในวันท่ี 28 ทางไปอเมริกาเป็นครั้งที่สอง โดยความ ท่ี เ ห ลื อ ส า ม วั น เ ธ อ ป ร ะ จำ � ท่ี ส ถ า บั น มิถนุ ายน พ.ศ. 2463 การไปเยี่ยมอเมริกา ช่วยเหลือจากมิสซีอีกเช่นเคย กลุ่ม เรเดียม ปกติเธอไปถึงที่ทำ�งานประมาณ ครัง้ แรกนถี้ อื ไดว้ า่ เป็นการประชาสมั พนั ธ์ สตรีอเมริกันช่วยกันหาทุนให้มารีใช้ซ้ือ 8.45 นาฬิกา (โดยรถฟอร์ดมีโชเฟอร์ ให้ทั่วโลกรับรู้ถึงความสำ�คัญและคุณ เรเดียมหนึ่งกรัมสำ�หรับสถาบันเรเดียม ขับรับ-ส่ง) พบกับกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ท่ี ประโยชน์ของเรเดียมในด้านการรักษา ท่ีกรุงวอร์ซออีกครั้ง แม้อเมริกาจะอยู่ ท�ำ งานวจิ ยั ทางรงั สวี ทิ ยาเพอื่ สนทนาแลก โรค เปิดโอกาสให้มีการขยายงานวิจัย ในสภาวะเศรษฐกิจตกตำ่� เธอได้รับการ เปลี่ยน ตอบปัญหา ให้ข้อแนะนำ�แก่ทุก ทางรังสีวิทยากว้างข้ึน มีผลให้ได้รับการ ต้อนรับอย่างดี ครั้งน้ีเธอเป็นแขกของ คน เธอจ�ำ หวั ขอ้ วจิ ยั ของนกั วจิ ยั แตล่ ะคน สนับสนุนทั้งการเงิน เครื่องมือ และ ประธานาธบิ ดี พกั ทท่ี �ำ เนยี บขาว ไดร้ บั ทนุ ได้ เธอตดิ ตามผลงานวจิ ยั และพฒั นาทาง บุคลากรจากตา่ งประเทศมากขน้ึ เป็นเช็คจากประธานาธบิ ดีฮูเวอร์ รงั สวี ทิ ยาอยา่ งสม�่ำ เสมอโดยอา่ นเอกสาร นอกจากอเมรกิ าแล้ว มารีได้เดนิ ทาง โครงการสร้างสถาบันเรเดียมแห่ง วจิ ยั หา้ ภาษา เธอตดิ ตอ่ หาทนุ วจิ ยั และสาร ไปเลกเชอรแ์ ละทอ่ งเทย่ี วประเทศในยโุ รป กรุงวอร์ซอเปิดโอกาสให้มารีได้เดินทาง กัมมันตรังสีจากรัฐบาลฝร่ังเศสและต่าง และทวีปอื่นๆ ด้วย เธอเห็นว่ามีหลาย ไปประเทศบ้านเกิดหลายคร้ัง สถาบันนี้ ประเทศใหแ้ ก่สถาบันเรเดียม ประเทศท่ีนักเรียนมีความสามารถแต่ เริ่มก่อสร้างตามแปลนที่มารีเสนอในปี ช่วง พ.ศ. 2462-2477 จากผลงาน วิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ตีพิมพ์ทั้งหมด 48 เร่ือง มี 34 หัวขอ้ เป็นผลงานของนกั ฟสิ กิ สแ์ ละนกั เคมขี องสถาบนั มารมี ชี อ่ื ใน ผลงาน 31 เรื่อง ในปี พ.ศ. 2465 มารีได้รับแต่งตั้ง เปน็ รองประธานขององคก์ าร Intellectual สงิ หาคม 2564 13
บทความพเิ ศษ มารีีร่่วมปลููกต้้นไม้้ที่่�สถาบัันเรเดีียมแห่่งกรุุงวอร์์ซอ เมื่่�อวัันที่่� 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 เปน็ สว่ นประกอบในนวิ เคลยี สของอะตอม ภาพจาก : shorturl.at/jlGKY ในการประชุมสมั มนาท่ี Solvay (ประเทศ เบลเยียม) ปี พ.ศ. 2464 ตอ่ มาในปี พ.ศ. Cooperation of the League of Nations เงียบขรึม เก็บตัว มุ่งมั่นในงานตรงหน้า 2474 นักทดลองชาวเยอรมันสองคน โครงการต่างๆ ที่เธอมีส่วนริเร่ิมจัดทำ� ต่างกบั เฟรเดริกที่ร่าเรงิ ช่างคยุ พนื้ ฐาน วอลเทอร์ โบท (Walther Bothe) กับ ได้แก่ จัดทำ�หนังสือเอกสารอ้างอิงสิ่งตี การศึกษาของเขาคล้ายๆ ปิแอร์ เขาไม่ แฮร์เบิร์ต เบกเคอร์ (Herbert Becker) พิมพ์ทางวิทยาศาสตร์นานาชาติ ต้ังกฎ เขา้ เรยี นในโรงเรยี นทม่ี ชี อ่ื เหมอื นเดก็ อนื่ ๆ พบว่า เม่ือระดมยิงอนุภาคแอลฟาจาก ระเบียบเพื่อป้องกันลิขสิทธ์ิการค้นพบ เข้าเรียนมัธยมปลายท่ีโรงเรียนฟิสิกส์กับ การสลายตัวของโปโลเนียม* (โปโลเนยี ม ทางวิทยาศาสตร์ และเสนอกฎเกณฑ์ใน เคมีท่ีปิแอร์เคยสอน (ต่อมาบริหารโดย สลายตวั แผร่ งั สอี นภุ าคแอลฟาอยา่ งเดยี ว การใหท้ นุ นกั ศกึ ษานานาชาติ พอล แลงจ์แวง) เฟรเดรกิ เปน็ นกั ฟิสกิ ส์ ไมม่ แี กมมาปน) ไปยงั แผน่ เปา้ ท�ำ จากธาตุ ทเ่ี กง่ คนหนงึ่ เขาชอบ ‘เลน่ ’ กบั เครอื่ งมอื เบาๆ เช่น เบริลเลียม (beryllium) พบวา่ ไอรีีน ฌอลิิโย-กูรู ีี กับั ผลงาน ทดลอง ในขณะท่ีไอรนี ชอบทดลองผสมน่ี อนภุ าคทก่ี ระจายออกมามพี ลงั งานมากกวา่ วิจิ ัยั ต่่อเนื่อ�่ งด้า้ นรังั สีวี ิิทยา ผสมโน่นไปทางเคมีมากกว่า ต่อมาทั้งคู่ พลงั งานของอนภุ าคแอลฟาทพ่ี งุ่ เขา้ กระทบ ร่วมมอื เป็นทีมฌอลโิ ย-กรู ี แบบเดียวกับ ไอรีนสนใจผลการทดลองนี้มาก ไอรีน กูรี เป็นนักวิจัยคนหนึ่งของ ทีมปิแอร์-มารี ท้ังคู่มีลูกสาวคนแรก ช่ือ เพราะงานของเธอท่ีสถาบันเก่ียวข้องกับ สถาบนั เรเดยี ม หลงั สงครามเธอแตง่ งาน เฮลนี (Helene) ลกู ชายคนทส่ี อง ชอ่ื ปแิ อร์ การเตรียมโปโลเนียมจากเรดอน ที่ให้ กบั เพอ่ื นนกั วจิ ยั ทส่ี ถาบนั เฟรเดรกิ ฌอลโิ ย ครอบครวั มารจี งึ มนี กั วทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ ขน้ึ แอลฟาพลังงานสูง (ซึ่งเป็นงานท่ีเสี่ยง (Frederic Joliot) ในวนั ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. มาอกี คนหนง่ึ ในวงสนทนาระหวา่ งอาหารค�ำ่ อนั ตราย) ในปี พ.ศ. 2474 สถาบนั เรเดยี ม 2469 เม่ืออายุ 29 ปี ทั้งสองมีบุคลิก รทั เทอรฟ์ อรด์ เสนอสมมตฐิ านนวิ ตรอน ผลติ และสะสมโปโลเนยี มไดเ้ ปน็ อนั ดบั หนง่ึ คอ่ นข้างตรงข้ามกัน ไอรีน (อายมุ ากกวา่ ) ในโลก ไอรีนเลียนแบบการทดลองของ ทมี เยอรมนั โดยยงิ เบรลิ เลยี มดว้ ยอนภุ าค แอลฟาจากการสลายตัวของโปโลเนียม ท่ีเธอเตรียมเอง เธอรายงานผลในเดือน ธันวาคมว่าอนุภาคท่ีแผ่กระจายออกมามี พลังงานสูงกว่าที่ทีมเยอรมันรายงานไว้ ค�ำ ถามทต่ี ามมาคอื อนภุ าคนค้ี อื อะไรเพอ่ื หา ค�ำ ตอบทมี ฌอลโิ ย-กรู ี ไดท้ ดลองตอ่ ยอด ออกไปอกี ขั้นหนึ่ง โดยทดลองยิงอนุภาค (รังสี) ที่ได้จากเบริลเลียมไปชนแผ่นเป้า ท�ำ จากขผี้ ง้ึ พาราฟนิ (ประกอบดว้ ยอะตอม ไฮโดรเจนเปน็ สว่ นใหญ)่ ปรากฏวา่ อนภุ าค * หมายเหต:ุ ชือ่ ธาตุ Polonium ในภาษาไทยอ้างอิงตามราชบัณฑติ ยสภาคอื “พอโลเนียม” แตใ่ นบทความน้ี ผเู้ ขยี นขอทับศพั ท์เป็นภาษาไทยว่า “โปโลเนียม” เพ่ือให้ สอดคล้องกับการเรยี กชอ่ื ประเทศโปแลนด์ ซึง่ เป็นที่มาของการต้งั ชอื่ ธาตนุ ้ี สงิ หาคม 2564 14
บทความพเิ ศษ ไอรีีน กููรีี และเฟรเดริิก ฌอลิิโย ทำำ�งานวิิจััยร่่วมกัันที่่�สถาบัันเรเดีียม อนุภาคที่หลุดออกมาคือนิวตรอน แต่ ภาพจาก : shorturl.at/jlGKY ส�ำ หรบั ธาตทุ มี่ มี วลเบาๆ นอกจากนวิ ตรอน https://www.britannica.com/biography/Frederic-and-Irene-Joliot-Curie แลว้ บางครง้ั ยงั มโี พสติ รอนหลดุ ออกมาดว้ ย ทมี เสนอผลการทดลองน้ีในทปี่ ระชมุ ทถ่ี ูกชนหลุดออกมาคือโปรตอน แสดงวา่ นวิ เคลยี สของอะตอม) เปน็ หลกั ฐานสบบั สมั มนานานาชาตปิ ระจำ�ปี พ.ศ. 2476 ที่ การชนกันระหว่างอนุภาคที่ยิงกับอนุภาค สนุนสมมติฐานท่ีรัทเทอร์ฟอร์ดเสนอไว้ Solvay ประเทศเบลเยยี ม ทมี ตงั้ สมมตฐิ าน โปรตอนในอะตอมไฮโดรเจนเป็นแบบ เม่อื สิบปมี าแล้ว วา่ เปน็ ผลมาจากการสลายตวั ของโปรตอน ยืดหยุ่น (elastic collision) เหมือนการ ในฤดรู ้อนปี พ.ศ. 2475 นกั วิจยั ชาว แตน่ กั วิทยาศาสตรห์ ลายคนไม่เหน็ ด้วย กระทบกันระหว่างลูกบิลเลียดสองลูก อเมรกิ ัน ช่อื คารล์ แอนเดอรส์ ัน (Carl หลงั การประชมุ ทมี ฌอลโิ ย-กรู ไี มย่ อ่ ทอ้ ทีมฌอลิโย-กูรีสันนิษฐานว่าเป็นผลจาก Anderson) ค้นพบอนุภาคใหม่ใน คราวนที้ มี ทดลองยงิ อนภุ าคแอลฟา (ที่ได้ รงั สแี กมมาแตไ่ มน่ า่ เปน็ ไปได้เพราะแกมมา คอสมิกเรย์ที่มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน จากการสลายตวั ของโปโลเนยี ม) ไปกระทบ เปน็ อนภุ าครงั สแี มเ่ หลก็ ไฟฟา้ ไมม่ มี วลสาร เมอื่ ใช้ Wilson cloud chamber ตรวจ พบ แผน่ เปา้ อะลมู เิ นยี ม โดยเปลยี่ นระยะทาง ขอ้ สมมตฐิ านนน้ี �ำ ไปสกู่ ารทดลองแบบ ว่ามปี ระจุไฟฟ้าบวก จงึ ใหช้ ่ืออนภุ าคใหม่ แผน่ เปา้ กบั แหลง่ ก�ำ เนดิ แอลฟาตา่ งๆ กนั เดยี วกนั ทหี่ อ้ งแลบ็ คาเวนดชิ (Cavendish นว้ี ่า โพสติ รอน (positron) ทมี ใชไ้ กเกอรเ์ คานเ์ ตอร์ในการตรวจปรมิ าณ Laboratory) สหราชอาณาจักรโดย ทีมฌอลิโย-กูรีทดลองยิงอนุภาค รังสีหลังการกระทบ พบปรากฏการณ์ รทั เทอรฟ์ อรด์ กบั เจมส์ แชดวกิ (James แอลฟา (ที่ได้จากการสลายตัวของ ใหมท่ นี่ า่ ตนื่ เตน้ คอื เมอ่ื ระยะทางระหวา่ ง Chadwick) แต่ทีมนี้ใช้แผ่นเป้าทำ�จาก โปโลเนยี ม) ไปกระทบแผน่ เปา้ ท�ำ จากธาตุ แหล่งรังสีแอลฟากับเป้าอยู่ห่างกัน สารต่างๆ กนั สรปุ วา่ อนุภาคน้ีไม่มปี ระจุ ต่างๆ กัน ทีมพบว่าหากวางแผ่นเป้าให้ มากขน้ึ จ�ำ นวนนวิ ตรอนลดลงจนเปน็ ศนู ย์ (เป็นกลาง) และจากการวัดมวลของ หา่ งจากแหลง่ ก�ำ เนดิ แอลฟา ส�ำ หรบั เปา้ ที่ แตจ่ �ำ นวนโพสติ รอนไมล่ ดลงเปน็ ศนู ย์ แต่ อนุภาคสรุปว่าอนุภาคนี้คือนิวตรอน (ใน มมี วลปานกลาง (เชน่ อะลมู เิ นยี ม) พบวา่ จะลดลงเปน็ ปฏภิ าคกบั เวลาในลกั ษณะเดยี ว กับธาตุกัมมันตรังสีท่ีเกิดตามธรรมชาติ ทมี ท�ำ การทดลองซ�ำ้ ๆ หลายครง้ั และพบวา่ ธาตุเสถียรสุดท้ายท่ีเกิดข้ึนคือซิลิคอน (silicon) ทมี อธบิ ายผลการทดลองวา่ เมอ่ื อะตอมอะลูมิเนียมได้รับ (จับ) อนุภาค แอลฟาจะปลอ่ ยนวิ ตรอนออกมา พรอ้ มกนั นน้ั จะแปลงเปน็ ธาตฟุ อสฟอรสั ท่ีไมเ่ สถยี ร (radioactiveisotopeofphosphorus)ซง่ึ จะ สลายตัวให้โพสิตรอนออกมา แล้วปรับ แปลงกลายเปน็ ซลิ คิ อน ธาตเุ สถยี รในทส่ี ดุ ผลการทดลองนี้นำ�ไปสู่การค้นพบ ทฤษฎีการแปรธาตุ (transmutation/ artificial radioactivity) ซงึ่ จดั วา่ เปน็ ทฤษฎี สำ�คัญทฤษฎหี นง่ึ ในศตวรรษทย่ี ส่ี บิ สงิ หาคม 2564 15
บทความพเิ ศษ โทษของกััมมันั ตภาพรัังสีี ทีีมฌอลิิโย-กููรีีได้้รัับรางวััลโนเบลทางเคมีีจากการค้้นพบนี้้�ในปีี พ.ศ. 2478 ภาพจาก : https://twitter.com/NobelPrize/status/555712456677683200/photo/1 ในปี พ.ศ. 2464 สถาบนั อาหารและยา แหง่ ชาตฝิ รงั่ เศส ไดม้ อบใหค้ ณะกรรมการ ต้องหม่ันตรวจเลือดเปน็ ประจำ� ต้ังแต่ปีที่สถาบันเร่ิมบังคับใช้ระเบียบนี้ พเิ ศษน�ำ โดยออ็ งเดรโบรคา(AndreBroca) (พ.ศ. 2468) มผี ลปกติ ในเดอื นธนั วาคม ปี ศึกษาโทษจากการถูกรังสี รายงานของ บทส่่งท้า้ ย พ.ศ. 2476 ผลตรวจเอกซเรยพ์ บวา่ เธอเปน็ คณะกรรมการสรปุ อยา่ งกวา้ งๆ วา่ การไดร้ บั นิ่วในถุงน้ำ�ดี (โรคท่คี รา่ ชวี ติ พ่อเธอ) เธอ รังสีปริมาณน้อย (ไม่ระบุปริมาณ) จะ สุขภาพของมารีเริ่มเสื่อมโทรมหลัง ไม่ยอมเข้ารับการผ่าตัด ใช้วิธีทำ�ตัวตาม ปลอดภัย ไม่มีผลต่อสุขภาพ ไม่มีความ จากกรณขี า่ วออ้ื ฉาวและหลงั การผา่ ตดั ไต หมอสง่ั แทน เธอเรม่ิ ลงมอื สรา้ งอพารต์ เมนต์ จ�ำ เป็นต้องออกกฎระเบียบ ในปี พ.ศ. 2455 ตาทง้ั สองขา้ งเรมิ่ เปน็ ตอ้ แบบทันสมัยท่ีโซตามที่ตั้งใจมานานแล้ว ตลอดปี พ.ศ. 2468 มีข่าวคนตาย เธอเรมิ่ บอกให้ลูกๆ รู้เรือ่ งนต้ี ้ังแตป่ ี พ.ศ. โดยมีแผนจะย้ายเข้าในเดือนตุลาคม จากถูกรังสีเป็นระยะๆ แม้แต่ที่ทำ�งานท่ี 2463 แต่ไม่เปิดเผยกับสื่อและบุคคล พ.ศ. 2477 สถาบันเรเดียมก็มีรายงานเจ็บป่วยจาก ภายนอก เธอท�ำ งานสอนและเปน็ ทปี่ รกึ ษา สุขภาพของเธอมแี ต่ทรงกบั ทรดุ เธอ การถกู รงั สี หรอื มอี าการเปน็ โรคโลหติ จาง วจิ ยั ทส่ี ถาบนั เรเดยี มตามปกติ โดยใชแ้ วน่ ตา ไปท�ำ งานทห่ี อ้ งแลบ็ เมอ่ื รสู้ กึ ดขี นึ้ และอยู่ ไอรีนเองกเ็ รมิ่ มอี าการโรคโลหติ จาง ตอ้ ง หนาข้ึนเร่ือยๆ และใช้วิธีหลีกเลี่ยงต่างๆ กบั บ้านเขยี นหนงั สอื เมื่อรสู้ กึ แยล่ ง ลาพกั งานไปตากอากาศเพอ่ื ฟนื้ ฟสู ขุ ภาพ อยู่ถึงสามปี จึงเข้าผ่าตัดตา ภายใต้ช่ือ หลายคร้ังเธอมีไข้อ่อนๆ แต่เธอ ในอเมริกามีการใช้เรเดียมทาตัวเลข มาดามแคร์รี (Mme Carre) ไมเ่ อาใจใส่ ยงั คงท�ำ งานจนดึก หนา้ ปดั นาฬกิ าขอ้ มอื เพอ่ื ใหต้ วั เลขเรอื งแสง ผลตรวจเลือดประจำ�ปีของมารีเริ่ม ในท่มี ดื คนงานใช้ปลายแปรงเลก็ ๆ แตะ รมิ ฝปี าก แตะเรเดยี ม กอ่ นแตะตวั เลข ในปี พ.ศ. 2471 มีรายงานข่าวจากอเมริกาว่า คนงานท่ีทำ�งานน้ีหลายคนเสียชีวิตจาก การถกู รงั สี ในปี พ.ศ. 2468 สถาบนั อาหารและยา แหง่ ชาตฝิ รง่ั เศสไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการ พิเศษ เพื่อประเมินโทษจากการถูกรังสี และเสนอข้อแนะนำ�แก่ผู้ทำ�งานเกี่ยวกับ รังสี โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมที่ใช้ เรเดยี มและทอเรยี ม มารี กรู ี กบั โกลด รกี ดู ์ (Claude Regaud) รว่ มเปน็ กรรมการดว้ ย คณะกรรมการสรุปว่าการหายใจเอารังสี แอลฟาเข้าในร่างกายมีอันตรายต่อเม็ด เลอื ดแดง วธิ ปี อ้ งกนั ตวั เองเมอื่ ท�ำ งานกบั สารกมั มนั ตรงั สตี อ้ งมแี ผน่ ตะกว่ั เปน็ ฉากกน้ั ปอ้ งกนั บคุ คลากรทท่ี �ำ งานกบั สารกมั มนั ตรงั สี สงิ หาคม 2564 16
บทความพเิ ศษ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2477 เธอ ภาพจาก : https://www.rarenewspa- ภาพจาก https://itservices.cas.unt. มีอาการเป็นไข้ อ่อนเพลยี ต้องนอนแบ็บ pers.com/view/548244?imagelist=1 edu/ มีอาการคล้ายปอดอักเสบ ผลการตรวจ ร่างกายปกติ ผลตรวจเอกซเรย์ปอดพบ ค�ำ กลา่ วสดดุ ีใดๆ แขกที่มานอกจากญาติ คืออะไร โดยไม่ได้นัดหมายกันมาก่อน พังผืดเก่ามีการอักเสบเล็กน้อย หมอ พี่นอ้ ง มแี ตเ่ พอ่ื นนกั วทิ ยาศาสตร์ในกลมุ่ ท้ังคู่นำ�ดินจากแผ่นดินแม่โปแลนด์มา ผู้เชี่ยวชาญสามคนแนะนำ�ให้ไปพักฟื้นที่ ทส่ี นทิ สงิ่ ทหี่ รหู ราทส่ี ดุ ในงานคอื พวงหรดี หน่ึงกำ�มือ มาโรยลงไปบนโลงศพมารีใน สถานพกั ฟนื้ โรคปอดโดยดว่ น การเดนิ ทาง สวยงามจากหลายประเทศ รวมทั้งจาก พธิ ดี ้วย ไปสถานพกั ฟนื้ โรคปอดในเทอื กเขา Savoy ประธานาธบิ ดแี หง่ โปแลนด์ ในปี พ.ศ. 2538 รฐั บาลฝรง่ั เศสใหย้ า้ ย ทรมานทลุ กั ทเุ ลมาก เมอ่ื ไปถงึ สถานพกั ฟน้ื ฌัก กรู ี มีสุขภาพอ่อนแอเกนิ กวา่ จะ ศพของมารแี ละปแิ อร์ไปเกบ็ ท่ี Pantheon มารีในอ้อมแขนของอีฟไม่มีสติแล้ว มีไข้ เดินทางมาร่วมพิธี เฮเลนติดพักร้อนกับ สุสานอนุสรณ์สถานในปารีส เพื่อให้ อุณหภูมขิ น้ึ สูงถงึ 40 องศาเซลเซยี ส ผล หลานสาวในภูเขา ไม่อาจมาทันเวลาได้ ประชาชนทวั่ ไปเขา้ ชมคาราวะได้ นบั เปน็ ตรวจเอกซเรยป์ อดปกติ แตผ่ ลตรวจเลอื ด บรอเนียกับโจเซฟเดินทางจากวอร์ซอ เกียรติสูงสุดในชีวิตของนักวิทยาศาสตร์ พบวา่ จ�ำ นวนเมด็ เลอื ดแดงและขาวลดลง มาร่วมงาน ทั้งคู่รู้ว่าส่ิงมีค่าเป็นที่ระลึก ท้งั คู่ อย่างรวดเร็ว สุดท้ายในชีวิตที่มารีพึงพอใจท่ีจะได้รับ มารเี สยี ชวี ติ ในวนั ท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 สริ ริ วมอายไุ ด้ 67 ปี ดว้ ยโรคโลหติ จาง จากไขกระดูกฝ่อ (aplastic anemia) มี อาการไขข้ นึ้ สงู อยา่ งรวดเรว็ สนั นษิ ฐานวา่ ภูมิคุ้มกันจากไขกระดูกทำ�งานผิดปกติ เปน็ ผลจากพษิ สะสมจากการถกู กมั มนั ตภาพ รังสี หนังสือเล่มสุดท้ายเธอเขียนเสร็จ กอ่ นถึงแก่กรรม ชื่อ “Laws of Physics” พิธีฝังศพเรียบง่าย โลงศพของมารี ฝั ง ไ ว้ เ ห นื อ โ ล ง ศ พ ข อ ง ปิ แ อ ร์ ใ น ห ลุ ม เดียวกันในสุสานเล็กๆ ย่านโซ ซึ่งเธอ คุ้นเคยดี โดยไม่มีพิธีทางศาสนาหรือ แหล่งขอ้ มูล - Susan Quinn, Marie Curie, A Life, 1995, Simon&Schuster, New York, New York - Eve Curie, Madame Curie, A Biography, 1937, Translated by Vincent Sheen, Doubleday& Company, Inc. Garden City, New York - Robert Woznicki, Madame Curie Daughter of Poland, 1983, The American Institute of Polish Culture, Miami, Florida. - https://www.wikipedia.org/ - https://www.nobelprize.org/prizes/physics/1903/marie-curie/ สงิ หาคม 2564 17
บทความพเิ ศษ ปาลติ า สุฤทธ์ิ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี HUMAN ภาพจาก : https://www.vox.com/science-and- health/2019/5/14/18306893/apollo-50-nasa- IN SPACE ตอนที่่� 1 spaceflight-human-body-twin-study ช่่วงนี้�หลายๆ คนอาจจะพอได้้ยิินข่่าวเกี่�ยวกัับ “อนาคตอวกาศไทย” อยู่�พอสมควร ไม่่ว่่าจะเป็็นโครงการ TSC (Thai Space Consortium) หรืือรวมไปถึึงการร่่างพระราชบััญญััติิกิิจการอวกาศ แต่่นี่�ไม่่ใช่่ประเด็็นหลัักที่� ผู้�้เขีียนอยากจะบอกเล่่า สิ่�งที่�ผู้้�เขีียนอยากจะเล่่าในวัันนี้้�คืืออยากจะพาทุุกคน ไปรู้�จักกับั อีกี ด้า้ นเกี่�ยวกับั เทคโนโลยีอี วกาศที่่�มีคี วามเกี่�ยวข้อ้ งกับั ร่า่ งกายของเรา ฟังั ดูเู หมือื นใกล้ต้ ัวั ใช่ไ่ หมล่ะ่ คะ ใช่แ่ ล้ว้ ค่ะ่ มันั คือื การตอบสนองของร่า่ งกายเรา ต่่อสภาพแวดล้อ้ มที่�เปลี่�ยนไป นั่�นก็็คือื สภาวะไร้้แรงโน้้มถ่่วง (microgravity) สิงหาคม 2564 18
บทความพเิ ศษ ก่อนอ่ืนต้องบอกก่อนว่า โลกของเรา รููปที่่� 1 เครื่�องสแกน MRI (Magnetic Resonance Imaging) คืือเครื่อ� งสร้า้ งภาพด้ว้ ยสนามแม่่เหล็ก็ ไฟฟ้า้ ได้มีการนำ�องค์ความรู้ทางด้านอวกาศมา เป็็นอุุปกรณ์์ทางการแพทย์ท์ ี่่�ใช้้ตรวจอวัยั วะภายใน ใช้้ประกอบการวิินิจิ ฉััยที่่�ให้ค้ วามถูกู ต้อ้ ง แม่น่ ยำำ�สููง และ ประยุกต์ใช้ในดา้ นการแพทย์ ผู้้�ป่่วยไม่่ได้ร้ ัับอันั ตรายจากรังั สีี โดยอาศััยการทำ�ำ ปฏิิกิริ ิิยาของคลื่น� แม่เ่ หล็็กไฟฟ้้าและคลื่น� วิิทยุุกับั อนุภุ าค อยา่ งแพรห่ ลาย เชน่ การน�ำ เทคโนโลยี โปรตอนที่่อ� ยู่�ในส่่วนประกอบของเนื้้�อเยื่อ� แต่ล่ ะชนิิด เกิิดเป็็นพลัังงานและแปลงเป็น็ สัญั ญาณภาพ (image remote sensing มาใช้ ในการติดตาม signal) และสร้้างเป็น็ ภาพอวััยวะด้้วยระบบคอมพิิวเตอร์์ (MRI) สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงซง่ึ สง่ ผลกระทบ ภาพจาก : https://stock.adobe.com/th/images/doctor-and-nurse-prepare-for ตอ่ ภาวะสขุ ภาพ หรือใช้ในระบบเครื่อง MRI (รูปที่ 1) รวมไปถงึ การใช้วดั อุณหภูมริ า่ งกาย โดยใช้ infrared radiation (กลอ้ งวดั อณุ หภมู ิ เราที่เราเห็นในสถานทตี่ า่ งๆ นน่ั เอง) หรอื การใช้ความรู้จาก satellite communication ในการพัฒนาเป็น telemedicine (รูปที่ 2) ชว่ ยตดิ ตามการรักษา (Damien Dietrich et al, 2018) นอกจากนยี้ งั รวมไปถงึ robot arms ที่ใช้สำ�หรับการผ่าตัดซ่ึงพัฒนาข้ึนมาจาก Canadarm บนสถานีอวกาศนานาชาติ หรอื การนำ� 3D printing มาใช้ผลติ อวยั วะเทยี ม เพื่อแก้ไขความพิการ การสร้างผลึกโปรตีน สำ�หรับการพัฒนายาต้านมาลาเรียตัวใหม่ เพ่อื ใชร้ กั ษาผู้ปว่ ยทม่ี ภี าวะด้ือยา รููปที่่� 2 telemedicine หรืือระบบการปรึึกษาแพทย์์ทางไกล เป็็นเทคโนโลยีีที่่�ช่่วยให้้ผู้้�ป่่วยและบุุคลากรทางการแพทย์์พููดคุุยกััน แบบ real-time ที่่�คู่�สนทนาสามารถมองเห็็นหน้้ากัันได้้ทั้้�ง 2 ฝ่่าย ไร้้ข้้อจำำ�กััดในเรื่ �องเวลา สถานที่่� ง่่าย สะดวก และประหยััดเวลา ภาพจาก : https://vitals.sutterhealth.org/a-turning-point-for-telehealth/ สงิ หาคม 2564 19
บทความพเิ ศษ รููปที่�่ 3 สถานีีอวกาศนานาชาติิ (ISS) ทำ�ำ หน้า้ ที่่�เป็น็ ห้้องทดลองวิิจััยอย่่างถาวรในอวกาศ ทำำ�การทดลองสิ่ง� ต่า่ งๆ ได้้แก่่ ชีีววิิทยา ชีวี วิิทยามนุุษย์์ ฟิิสิิกส์์ ดาราศาสตร์์ และอุุตุนุ ิยิ มวิทิ ยา ซึ่�งต้อ้ งอาศััยสภาวะแรงโน้้มถ่ว่ งต่ำ��ำ และยัังทำำ�หน้า้ ที่่เ� ป็น็ สถานีที ดสอบสำ�ำ หรัับระบบกระสวยอวกาศที่่ม� ีีประสิทิ ธิิภาพและเชื่�อถือื ได้้ ซึ่�งจำำ�เป็็นต้อ้ งใช้้ สำำ�หรับั ปฏิิบัตั ิกิ ารระยะยาวเพื่่อ� การไปสู่่�ดวงจันั ทร์์และดาวอังั คาร ภาพจาก : https://www.booktrust.org.uk/news-and-features/features/2019/november/ เทคโนโลยตี า่ งๆ ทก่ี ลา่ วมานลี้ ว้ นพฒั นา ขึ้นเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อประชากรโลก ของเรา เทคโนโลยอี วกาศจงึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ อกี เทคโนโลยีท่ีเข้ามามีบทบาทสำ�คัญทางด้าน การแพทย์ และเป็นเครื่องมือท่ีช่วยพัฒนา กระบวนการรักษา ทำ�ให้ผู้รับบริการได้รับ การรักษาท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกท้ังยัง ทำ�ให้สุขภาพชวี ิตเราดีขน้ึ อีกดว้ ย แนน่ อนวา่ กอ่ นจะเกดิ เทคโนโลยเี หลา่ น้ี ได้น้ันต้องมีการศึกษาทดลองกันมามากพอ สมควร ซึ่งหลายอย่างท่ีเกิดข้ึนอาจจะมา จากความบังเอิญ (เหมอื นกบั Lord Ernest Rutherford ทคี่ น้ พบ neutron ในขณะทก่ี �ำ ลงั พยายามพิสูจน์ว่าทฤษฎีโครงสร้างอะตอม ของอาจารย์ของเขานั้นถูกต้อง) หรือเป็น สงิ หาคม 2564 20
บทความพเิ ศษ รููปที่�่ 4 ชาวทวาเร็ก็ (Tuareg) ส่ว่ นใหญ่่อาศััยอยู่�ในพื้้�นที่่ท� ะเลทรายสะฮาราซึ่ง� เป็น็ ทะเลทรายขนาดใหญ่่ ความต้ังใจเพอ่ื ช่วยเหลือ แก้ไข หรือป้องกัน ตั้�งอยู่�บนทวีปี แอฟริิกาและเป็น็ พื้้�นที่่�ร้อ้ นและแห้ง้ แล้ง้ ขนาดใหญ่่ที่่ส� ุดุ การเกิดอุบัติเหตุให้แก่ภารกิจต่างๆ รวมถึง ภาพจาก : https://www.vanishingculturesphotography.com/p453343259/h342F23D3#hddbacd10 นักบินอวกาศเอง ซึ่งการเดินทางเพื่อไปทำ� ภารกจิ หรอื ทดลองสง่ิ ตา่ งๆ บนสถานอี วกาศ รูปู ที่�่ 5 ชนเผ่า่ อินิ ููอิิต (Inuit) หรือื เอสกิิโม (Eskimo) ที่่อ� าศััยอยู่�ในอาร์์กติกิ เป็็นเขตภูมู ิิอากาศแบบทุนุ ดรา นานาชาติ (International Space Station: ลักั ษณะอากาศหนาวจััดมีฤี ดูหู นาวยาวนานกว่่าฤดููร้อ้ นที่่�มีเี พียี ง 1-2 เดือื น อุุณหภูมู ิิเฉลี่่ย� ไม่่เกินิ ISS (รปู ท่ี 3)) ก็ไมใ่ ชเ่ รื่องง่ายและกค็ งไม่ใช่ 10 องศาเซลเซียี ส มีีหิิมะและน้ำำ�� แข็็งปกคลุุมเกืือบทั้้ง� ปีี แคก่ ารไปนอนเฉยๆ (ไปเชา้ เย็นกลับเหมือน ภาพจาก : https://www.britannica.com/topic/Eskimo-people ไปพกั คา้ งแรม) แตน่ ักบนิ อวกาศเหลา่ น้ตี ้อง อยู่ในสภาวะแรงโน้มถ่วงตำ่� (zero gravity, microgravity) เปน็ การไปอยใู่ นสภาพแวดลอ้ ม ที่ไม่คุ้นเคยเป็นเวลานาน จึงเป็นท่ีน่าสนใจ ว่าร่างกายของเราจะมีกลไกการปรับตัว อย่างไร หรือถ้าเราปรับตัวไม่ได้จะส่งผล อย่างไร และมีอะไรรองรับต่อผลกระทบ เหล่าน้ีได้บ้าง โดยทั่วไปแล้วเราจะพบว่ามนุษย์มี ความสามารถในการปรบั ตวั ตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ต่างๆ ได้ รวมถึงสภาพภูมิอากาศที่สุดขั้ว (extreme weather) อย่างเช่นการอยู่ในที่ ทีอ่ ณุ หภมู ริ อ้ นจดั อย่างคนทวาเรก็ (Tuareg) ทอี่ าศยั อยใู่ นแอฟรกิ า (รปู ท่ี 4) หรอื หนาวจดั อย่างคนอนิ ูอิต (Inuit) ที่อาศัยอยู่ subarctic (รูปที่ 5) แน่นอนว่าการเป็นนักบินอวกาศ ที่ต้องไปเผชิญกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่ แตกต่างจากเดิม คงไม่ใช่แค่การเผชิญกับ อุณหภูมิที่เปล่ียนไปแต่ยังรวมถึงสภาวะ microgravity หรือการเผชิญกับรังสี (radiation) ท่ีมากขึ้นเป็นต้น การเปน็ นักบนิ อวกาศจึงเป็นอีกหนึ่งอาชีพที่มีความเส่ียง เช่นกัน แต่เพ่ือการพัฒนาและสร้างองค์ ความรู้ใหม่ๆ เพ่ือนำ�องค์ความรู้เหล่านั้นมา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่โลกของเราจึง จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาและทดลองในภารกจิ ตา่ งๆ บนสถานอี วกาศมาอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนถงึ ปจั จบุ ัน สงิ หาคม 2564 21
ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย เด็็กไทยคว้า้ แชมป์เ์ อเชีีย สารประกอบเคอร์คิวมินจากขมิ้นชันและพิเพอรีนจากพริกไทยดำ�ท่ี “เขีียนโปรแกรมคุุมหุ่่�นยนต์์อวกาศ” ออกฤทธิ์เสริมกัน เสิร์ฟในรูปแบบพร้อมรับประทานเป็นเน้ือผัดกับ ขา้ วไรซเ์ บอรร์ แี ละผกั นึ่ง นักเรียนโรงเรียนอัสสัมชันธนบุรี ผู้ชนะจากประเทศไทย คว้าแชมป์ต่อในรอบแข่งขันทักษะการเขียนโปรแกรมระดับ เจา้ ของผลงานตงั้ เปา้ วา่ กลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายจะเปน็ ผรู้ บั ประทาน เอเชยี โครงการ “The 2nd Kibo Robot Programming Challenge” อาหารมังสวริ ัติและมังสวริ ัตแิ บบยดื หย่นุ เจนเอกซแ์ ละมลิ เลนเนียล หรอื การแข่งขันควบคมุ หุ่นยนตผ์ ู้ชว่ ยนกั บินอวกาศ Astrobee ของ ในเขตเมอื งของหวั เมอื งใหญ่ โดยเนน้ การท�ำ ธรุ กจิ ทง้ั แบบ B2C ควบคู่ NASA ผ่านระบบจำ�ลองสถานการณ์ (simulation) ด้วยคะแนน ไปกบั แบบ B2B 89.82 pt (A class) ขณะนี้อยู่ในช่วงเตรียมความพร้อมเพื่อเข้า แขง่ ขนั ตอ่ ในรอบไฟนอลเดอื นกนั ยายนนี้ (อ�ำ นวยการจดั การแขง่ ขนั ในประเทศไทยและดแู ลผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ไทยในการแขง่ ระดบั นานาชาติ โดย สวทช.) ผู้เข้าแข่งขันเผยว่าสิ่งท่ีทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จในการแข่ง ครงั้ นค้ี อื การทดสอบใหค้ รบทกุ รปู แบบและพยายามปรบั ปรงุ แก้ไขโดย ไม่ย่อท้อ ฝากถึงทุกคนที่กำ�ลังเรียนว่าอย่าทิ้งในสิ่งที่ตัวเองชอบและ อย่าท้ิงเรื่องการเรียน เพราะการเรียนเปรียบเสมือนการลงทุนระยะ ยาว ถ้าตั้งม่ันตงั้ แตเ่ นิ่นๆ อนาคตไมส่ ่งผลเสยี แน่นอน ทม่ี าของเนอ้ื หาและภาพ และรายละเอียดเพิม่ เติม 1) กรุงเทพธุรกจิ (https://bit.ly/3dUaMEV) 2) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย (https://bit.ly/3hIfLJU) ท่มี าและรายละเอยี ดเพม่ิ เติม อบแห้งเมลด็ กาแฟด้วยโดมทรงพาราโบลา สวทช. (https://bit.ly/2VCFJH6) อาจารย์มหาวิทยาลัยศิลปากรเผยผลงานโดมทรงพาราโบลา ขนาดเลก็ ส�ำ หรบั อบแหง้ เมลด็ กาแฟบนทดี่ อย มจี ดุ เดน่ คอื สามารถ เนื้้�อลายหิินอ่อ่ นจากโปรตีีนถั่่�วเหลือื ง ลดระยะเวลาการอบเมลด็ กาแฟอะราบกิ าคณุ ภาพพเิ ศษ ใน Honey คว้้าแชมป์ฟ์ ููดเทคระดับั อาเซียี น process ลง 3 เทา่ ใชเ้ วลาอบเพยี ง 3 วนั ท�ำ ใหส้ ามารถรกั ษารสชาติ นิสิตปริญญาเอกและโท ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะ กาแฟไดด้ ี และขายได้ในราคาท่สี งู กวา่ เดมิ หลายเทา่ วทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รวมตวั คดิ คน้ ฟดู เทคน�ำ เสนอ เนอ้ื ลายหนิ ออ่ นจากโปรตนี ถว่ั เหลอื งในการแขง่ ขนั นวตั กรรมอาหาร โดมทรงพาราโบลาท่ีใชอ้ บมโี ครงสร้างแบบเรือนกระจก จากพชื ระดับภูมภิ าคอาเซยี นปี 2564 ปิดคลุมดว้ ยแผ่นพอลิคารบ์ อเนตซึง่ ท�ำ ให้ภายในโดมมีอณุ หภูมิสงู มีพัดลมดดู อากาศท�ำ หนา้ ท่ีดูดน้ำ�ทร่ี ะเหยออกไปภายนอก และดงึ ผลิตภัณฑ์มีช่ือว่า “Marble Booster” โดดเด่นด้วยลักษณะ อากาศจากภายนอกไหลเวยี นเข้ามาแทนที่ ผลิตภัณฑจ์ งึ แห้งเรว็ กว่า ของเน้ือเป็นเส้นใยคล้ายเนื้อวากิวลายหินอ่อน เสริมภูมิคุ้มกันด้วย การตากแดดตามธรรมชาติ และยังปลอดภัยจากฝน และแมลง งานวิจยั น้ีไดร้ บั การสนบั สนุน จาก วช. เพอื่ แกป้ ัญหาเชงิ พ้นื ท่ีใหแ้ ก่ วิสาหกจิ ชมุ ชนดา้ นการเกษตร ซ่งึ เปน็ รากฐานทางเศรษฐกจิ ทส่ี ำ�คัญของประเทศ สงิ หาคม 2564 22
ทม่ี าของเน้อื หาและภาพ และรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ครม. ไฟเขยี วรา่ ง พรบ.กจิ การอวกาศ 1) กรงุ เทพธุรกจิ (https://bit.ly/2WZdseP) ร่างพระราชบัญญตั ฉิ บบั น้ีมเี ป้าหมายเพ่ือชว่ ยให้ประเทศไทยมี 2) พมิ พ์ไทย (https://bit.ly/37k4zhV) ความพร้อมในเรือ่ งเศรษฐกจิ อวกาศหรือ New Space Economy เพ่ือส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกในการทำ�กิจกรรม สร้าง มาตรฐาน ตลอดจนดูแลการประสานงานกับหน่วยงานอวกาศของ ตา่ งประเทศ เพอ่ื ใหเ้ กิดการลงทุน สร้างรายได้ และการจา้ งงานในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ขน้ั สูงด้านนี้ หลงั จากน้ีรา่ งพระราชบญั ญตั ิ จะมกี ารส่งใหค้ ณะกรรมการกฤษฎีกาและ รัฐสภาพิจารณากอ่ นประกาศบังคับใช้ ห้า้ มใช้้ครีีมกัันแดดที่ม�่ ีีสารเคมีีอันั ตราย ในพื้้�นที่อ�่ ุทุ ยาน กรมอุทยานฯ ประเทศไทย ออกประกาศห้ามใช้ครีมกันแดด ที่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อปะการัง ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท โดยสารเคมีเป็นอนั ตราย 4 ชนดิ ท่ีมกี ารห้ามน�ำ มาใช้ ในพ้ืนที่อุทยาน คือ oxybenzone (benzophenone-3, BP-3), octinoxate (ethylhexyl methoxycinnamate), 4-methylbenzylid camphor (4MBC) และ butylparaben เนือ่ งจากสารเคมอี ันตราย เหลา่ นม้ี สี ว่ นในการท�ำ ลายตวั ออ่ นปะการงั ขดั ขวางระบบการสบื พนั ธุ์ และทำ�ให้เกิดปะการังฟอกขาว โดยประกาศฉบับน้ีมีผลบังคับใช้ ตง้ั แต่วนั ที่ 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 เป็นตน้ ไป Ox��en���� ทม่ี าและรายละเอียดเพิม่ เติม กรุงเทพธรุ กิจ (https://bit.ly/3A8c2wG) (Ben���h��o��-3, B�-3) Oc�i��x��e (Et��l�e�y� ��t���y�i�n����e) 4-Met��l���z���d Ca��h�� (4M��) But��p����en ที่มาและรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ 1) ผู้จดั การออนไลน์ (https://bit.ly/3jqUg18) 2) National Ocean Service (https://bit.ly/3jyMdPY) สงิ หาคม 2564 23
นวัตกรรมชุดตรวจโควดิ 19 แบบ แพทย์์เตืือนกลั้้น� ปััสสาวะอาจเสี่�่ยงติดิ รวดเร็ว รู้ผลใน 15 นาที เชื้้�อในกระแสเลือื ด นาโนเทค สวทช. พัฒนาชุดตรวจ “NANO COVID-19 การตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดจากการกลน้ั ปสั สาวะสว่ นใหญจ่ ะพบ Antigen Rapid Test” ส�ำ หรบั ใชต้ รวจคดั กรองอยา่ งงา่ ยและรวดเรว็ ในผู้หญิง เน่ืองจากมีทางเดินปัสสาวะส้ันกว่าผู้ชาย จึงทำ�ให้เชื้อ โดยบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข สามารถรู้ผลการตรวจ จากภายนอกเข้าสู่ภายในร่างกายได้ง่าย ซ่ึงหากไม่ได้รับการรักษา ในเวลาเพยี ง 15 นาที มีความไวถึงร้อยละ 98 และมีความจ�ำ เพาะ ที่ถูกต้องอาจทำ�ให้เชื้อเข้าสู่กระแสเลือดได้ อาการท่ีพบส่วนใหญ่ สงู ถงึ รอ้ ยละ 100 เหมาะแกก่ ารใชต้ รวจคดั กรองในเบอื้ งตน้ ปจั จบุ นั มักเร่ิมต้นจากการปวดปัสสาวะบ่อย มีความรู้สึกเหมือนอยากเข้า ผา่ นการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพโดย อย. แล้ว ห้องน้ำ�ตลอดเวลา ปัสสาวะขุ่นหรือเปล่ียนสี มีกลิ่นเหม็น อาจมี จุดเด่นของชุดตรวจนี้ นอกจากความรวดเร็วและแม่นยำ� อาการปวดท้องน้อยและปวดลามมาถึงบริเวณหลัง มีไข้หนาวส่ัน ยังมีการแสดงผลการตรวจที่ชัดเจน ไม่จำ�เป็นต้องใช้เครืองมือ และอ่อนเพลยี ควรรีบปรกึ ษาเพือ่ แพทยเ์ พอ่ื รกั ษาอย่างทนั ทว่ งที เพ่ือส่งเสริมการรักษาภาวะติดเช้ือให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในการแปลผล ช่วยลดขน้ั ตอน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มี และลดค่าใช้จา่ ยในการทำ�งาน การศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ งการใหย้ าแบบตรงจดุ และการยบั ยง้ั สาเหตทุ ท่ี �ำ ให้ เกิดการติดเช้ือในกระแสเลือด เพื่อเฝ้าระวังอย่างครบวงจร และใน ชุดตรวจนี้จึงเหมาะแก่ อนาคตจะมีการศึกษาต่อยอดเร่ืองการติดตามผลการรักษา และการ การใชต้ รวจคดั กรองคน วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของเชอ้ื กอ่ โรค เพอ่ื ใหส้ ามารถรกั ษาไดถ้ กู ตอ้ ง จ�ำ นวนมาก อยา่ งไรก็ตาม และเหมาะสมที่สุดต่อไป ผ้ปู ว่ ยที่ได้ผลเป็นบวกยงั จ�ำ เปน็ ตอ้ งได้รบั การตรวจ ยนื ยนั ดว้ ยวิธี RT-PCR อกี ครั้ง ท่มี าและรายละเอียดเพม่ิ เติม ท่มี าและรายละเอียดเพม่ิ เติม สวทช. (https://bit.ly/2VCFJH6) สาระวทิ ย์ (https://bit.ly/3A8c2wG) สงิ หาคม 2564 24
หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก นัักบินิ อวกาศทำ�ำ อย่า่ งไรกัับเสื้้�อผ้้า ราคามอเตอร์เครื่องยนต์ หรือมีราคาประมาณ 300 ดอลลารส์ หรัฐ ที่่พ� วกเขาใส่่ ตอ่ รถยนต์ไฟฟา้ 1 คนั จดุ ส�ำ คญั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความกงั วลเปน็ อยา่ งมากแกผ่ ผู้ ลติ ยานยนต์ ในการปฏิบัติภารกิจนอกโลกนักบินอวกาศจะสวมเสื้อผ้าซำ้� ไฟฟ้าเกี่ยวกับวัสดุชนิดนี้ คือ ปัจจุบันกว่าร้อยละ 90 ของการผลิต จนกว่าพวกพวกเขาจะทนกับกล่ินเหม็นและความสกปรกไม่ ควบคุมโดยจีน ซ่ึงปีท่ีผ่านมาวัสดุชนิดนี้มีราคาจำ�หน่ายสูงข้ึนอย่าง ไหวอีกต่อไป ก่อนนำ�เส้ือผ้าเหล่าน้ันไปเผารวมกับขยะอ่ืนๆ ในช้ัน ต่อเน่ือง จนผู้ผลิตช้ันนำ�ต่างเร่งมองหาวัสดุทนแทนหรือปรับเปล่ียน บรรยากาศ เทคโนโลยีเพ่อื เลี่ยงการใชว้ ัสดดุ งั กล่าว เพื่อแก้ไขปัญหาเร่ืองนี้ NASA ได้ร่วมกับ บริษัท Procter & Claudio Vittori ผู้เช่ียวชาญจากบริษัทผู้ให้ข้อมูล IHS Markit Gamble (P&G) ของสหรัฐฯ ศึกษาวิธีการท่ีจะทำ�นำ�เสื้อผ้ากลับมา คาดว่าการใช้เคร่ืองยนต์ไฟฟ้าที่ไม่ใช้วัสดุประเภทนี้อาจเพ่ิมข้ึนเกือบ ใช้ซ้ำ�ได้เหมือนบนโลก โดยล่าสุด P&G ได้ประกาศว่าจะส่ง 8 เทา่ ในปี พ.ศ. 2573 แตเ่ ครอ่ื งยนตแ์ มเ่ หลก็ ถาวรจะยงั คงครองตลาด ผลิตภัณฑ์ซักผ้าและกำ�จัดส่ิงสกปรกไปทดสอบประสิทธิภาพ อย่ดู ้วยประเดน็ ประสทิ ธิภาพการใชง้ าน การใช้งานที่สถานีอวกาศในช่วงปีหน้า และหากทำ�ได้สำ�เร็จจริง จะไม่เพียงช่วยลดปัญหาเรื่องความไม่สะดวกสบายและปัญหา ด้านสุขภาพให้แก่นักบินอวกาศ แต่ยังช่วยลดปริมาณสัมภาระที่ ตอ้ งสง่ ไปกับจรวดอีกดว้ ย ท่ีมาและรายละเอียดเพิ่มเตมิ 1. VOA Thai (https://bbc.in/37pQDmt) 2. Reuters (https://reut.rs/2VC1PKc) ทม่ี าและรายละเอียดเพิม่ เติม “เกรตแบร์์ริเิ ออร์ร์ ีีฟ” มรดกโลก 1) VOA Thai (https://bit.ly/2Ugrtnr) ออสเตรเลีีย กำ�ำ ลังั เผชิญิ ความเสี่่�ยง 2) P&G (https://bit.ly/2UgCxRv) เกรตแบรร์ เิ ออรร์ ฟี (Great Barrier Reef) คือ แหลง่ ปะการัง บริษิ ััทรถยนต์ไ์ ฟฟ้า้ เร่่งหาทางเลืือก ท่ีมีขนาดประมาณ 348,000 ตารางกิโลเมตร มีปะการังมากกว่า ลดพึ่่�งพาแม่เ่ หล็็กถาวรจากจีีน 400 ชนดิ ปลาราว 1,500 ชนดิ หอยราว 4,000 ชนิด และมสี ัตว์ “แม่เหล็กถาวร (Permanent magnet)” เป็นวัสดุสำ�คัญของ ทเ่ี สยี่ งตอ่ การสญู พนั ธหุ์ ลายชนดิ อาศยั อยู่ ทสี่ �ำ คญั ยงั เปน็ โครงสรา้ ง การผลิตรถยนต์ไฟฟ้า (EV) เพราะช่วยให้รถมีประสิทธิภาพใน ทางทะเลทช่ี ว่ ยคมุ้ กันชายฝัง่ จากคลนื่ และพายขุ นาดใหญอ่ กี ดว้ ย การขับเคลื่อนสูง ในขณะที่ใช้พลังงานแบตเตอร่ีน้อย เม่ือผนวก แต่ด้วยปัญหาโลกร้อน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 แนวปะการัง เหตุผลเรื่องประสิทธิภาพการใช้งานรวมเข้ากับเหตุผลเร่ืองความ แห่งน้ีได้สูญเสียปะการังไปแล้วราวคร่ึงหน่ึง โดยเฉพาะปะการังท่ีมี ยากในการผลิต ราคาของวัสดุชนิดน้ีจึงสูงถึงเกือบคร่ึงหน่ึงของ ขนาดใหญ่และมีกิ่งก้าน เพราะปะการังเหล่าน้ีมีส่วนท่ีอ่อนไหวต่อ อณุ หภูมขิ องนำ�้ ทะเลที่สงู ขน้ึ ผ้เู ชี่ยวชาญจึงเตอื นว่าหนทางเดยี วท่ีจะ สิงหาคม 2564 25
รักษาแนวปะการังนี้ไว้ได้คือการเร่งลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง ของประชากรโลกใน 43 ประเทศ จาก 5 ทวปี พบวา่ กรณกี ารเสยี ชวี ติ ซึ่งขณะนี้ออสเตรเลียยังคงไม่รับปากว่าจะลดการปล่อยก๊าซ ร้อยละ 9.43 ของทั้งโลกมาจากอุณหภูมิท่ีร้อนหรือเย็นจัด เรอื นกระจกใหเ้ ปน็ ศนู ยภ์ ายในปี พ.ศ. 2593 มเี พยี งเปา้ หมายทจ่ี ะลด จนเกินไป ซึ่งในช่วงเวลา 19 ปีน้ัน แม้อัตราการตายจากสภาพ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกลงเหลือร้อยละ 26 ในปี พ.ศ. 2573 ท�ำ ให้ ภูมิอากาศสุดขั้วจะมีแนวโน้มลดลงทั่วโลกเม่ือเทียบกับช่วง สหประชาชาติระบุว่าออสเตรเลียยังห่างไกลจากเป้าหมายที่จะรักษา เวลาอ่ืนๆ ในประวัติศาสตร์ แต่ท่ีน่าเป็นห่วงคืออัตราการตาย แนวปะการังน้ีไว้ได้ เพราะหากโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นเกิน 1.5 องศา จากอุณหภมู ริ อ้ นจัดมีแนวโน้มเพม่ิ สูงขึน้ เซลเซียส ปะการงั ราวรอ้ ยละ 70-90 ของโลกจะตาย เน่อื งดว้ ยการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และภาวะโลกรอ้ น ทมี ผวู้ ิจยั คาดวา่ สดั ส่วน ผเู้ สียชีวิตจากอณุ หภมู ริ ้อนจัดอาจเพ่ิม สงู ขึ้นอีกและถือเปน็ หน่ึงในสบิ สาเหตุ การตายทพ่ี บมากทวั่ โลก ทมี่ าและรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ 1) BBC News Thai (https://bbc.in/3xkGTEw) 2) The Guardian (https://bit.ly/3xs6zyW) 3) UNESCO (https://bit.ly/3fwaK6I) ร้้อนจัดั หนาวจััด ทม่ี าและรายละเอียดเพ่ิมเติม ทำำ�ผู้ค�้ นทั่่�วโลกล้ม้ ตายปีลี ะ 5 ล้้านคน BBC News ไทย (https://bbc.in/37pQDmt) ทีมนักวิทยาศาสตร์การแพทย์จากนานาชาติ ตีพิมพ์เผยแพร่ ผลวิจัยในวารสาร The Lancet Planetary Health ฉบับเดือน กรกฎาคมว่า ในปี พ.ศ. 2543-2562 เป็นยุค ท่ีอุณหภูมิทั่วโลกสูงขึ้นเฉลี่ย 0.26 องศา ในทุกหน่ึงศตวรรษ และจากการคน้ หาความ สัมพนั ธ์ระหว่างอณุ หภมู กิ ับอตั ราการตาย สงิ หาคม 2564 26
Sci Infographic สิงหาคม 2564 27
Sci Infographic สิงหาคม 2564 28
Sci Infographic สิงหาคม 2564 29
รวอ้ ทิ ยยพานั รวศิ ทศั คร รวิศ ทศั คร เคยเป็นกรรมการบริหารและสมาชิกทมี บรรณาธิการวารสารทางช้างเผอื ก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยท�ำ งานเปน็ นกั เขยี น ประจ�ำ นิตยสาร UpDATE นิตยสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษัทซีเอ็ดยเู คชัน่ (มหาชน) จ�ำ กดั ปจั จุบนั รับราชการ เป็นอาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ คิด วทิ ย์ แยกแยะ : ประวัตคิ วามเป็นมาของระเบยี บวธิ คี ดิ แบบวิทยาศาสตร์ (ตอนท่ี 1) เคยสงสััยกันั ไหมครัับว่า่ วิธิ ีีการคิิด การหาความจริิง ทางวิิทยาศาสตร์์แบบที่่�เราท่่านใช้้กัันอยู่่�ในปััจจุบุ ันั แท้จ้ ริงิ แล้้วมีคี วามเป็น็ มาอย่่างไร สงิ หาคม 2564 30
รวอ้ ทิ ยยพานั จะว่าไปแล้วการก่อเกิดและการ ท่ัวคาบสมุทรไอบีเรียนที่เป็นพ้ืนท่ีของ (Ibn al-Haytham) นักดาราศาสตร์ ขัดเกลาระเบียบวิธีทางวิทยา- ประเทศสเปนและโปรตุเกส ซึ่งเมื่อ คณติ ศาสตร์ และฟสิ กิ ส์ ชาวอาหรบั ทเี่ กดิ ศาสตร์น้ันมีวิวัฒนาการผ่านยุคต่างๆ ปราชัยให้แก่ชาวคริสเตียนในอดีตแล้ว ในอิรัก (พ.ศ 1509-1582) โลกตะวนั ตก มานานโข และมพี นื้ ฐานอยบู่ นนกั ปราชญ์ ก็เป็นท่ีมาของชื่อแคว้นอันดาลูเซียของ รู้จักเขาในช่ือ Alhacen เขาเป็นท่ีรู้จัก ยุคต้นหลายคน เป็นต้นว่าอริสโตเติล ประเทศสเปนในปัจจุบนั ) ในงานด้านแสงและการวางรากฐานของ (Aristotle) ผู้เสนอการใช้ตรรกะแบบ ชว่ งเวลาทยี่ าวนานทสี่ ดุ ในชว่ ง 1500 ปี ฟิสิกส์ทัศนศาสตร์ เลนส์ กลไกการเห็น นิรนัยหรือการให้เหตุผลจากบนลงล่าง ซงึ่ เปน็ ชอ่ งวา่ งระหวา่ งยคุ รงุ่ เรอื งของกรกี ภาพของดวงตา มีตำ�ราที่เขาเขียนขึ้นใน ซ่ึงเป็นการใช้เหตุผลจากสิ่งท่ีรู้มาก่อน กบั ยคุ ฟนื้ ฟศู ลิ ปวทิ ยาการของยโุ รป ในยาม ช่ือ 'The Book of Optics' เขาไดพ้ ัฒนา อาจเป็นข้อสมมติท่ีตั้งข้ึน ความเชื่อ ท่ีโลกตะวันตกล่มสลายลงสู่ยุคมืดของ ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่เหมือนกับ นยิ าม ขอ้ ตกลง เหตทุ กี่ �ำ หนดให้ เปน็ ตน้ สงครามและการแผ่ขยายอิทธิพลของ ในยคุ ปจั จบุ นั มาก คอื การระบถุ งึ ปญั หาทม่ี ี โดยยอมรบั วา่ เปน็ จรงิ แลว้ จงึ ใชก้ ฎเกณฑ์ ศาสนจกั ร กป็ รากฏวา่ โลกอสิ ลามนน้ั ไดร้ กั ษา ความชัดเจน ซ่ึงอิงกับการสังเกตและ ตา่ งๆ สรปุ ผลจากเหตทุ ก่ี �ำ หนดให้ หลงั จาก ความรเู้ มอื่ ครง้ั โบราณกาลของอารยธรรม ทดลอง การทดสอบหรอื วพิ ากษส์ มมตฐิ าน ความรุ่งเรืองของนักคิดในยุคกรีกโรมัน กรกี รวมถงึ แนวคดิ ของอรสิ โตเตลิ และยงั ผา่ นทางการทดลอง การตคี วามขอ้ มลู และ ชะงกั งันไป แนวคดิ นี้มอี ทิ ธพิ ลครอบง�ำ เสริมสิ่งใหม่เข้าไปด้วย พวกเขาเป็น การนำ�มาซ่ึงข้อสรุปโดยใช้คณิตศาสตร์ วงการปรัชญาความคิดของตะวันตก ตวั เรง่ ใหเ้ กดิ การกอ่ ตงั้ ระเบยี บวธิ คี ดิ แบบ หากสามารถทำ�ได้ และตีพมิ พส์ ่ิงทค่ี ้นพบ อยู่นานนับพันปีกว่าจะถึงยุคแห่งการ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ด้วยอัจฉริยภาพของเขา อิบน์ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สู่ ร ะ บ บ วิ ธี คิ ด ใ น แ บ บ นกั ปรัชญาสมยั ใหม่รู้จักกัน อลั ฮยั ษมั เขา้ ใจวา่ การทดลองและการวดั วทิ ยาศาสตรย์ คุ ใหม่ ซงึ่ ในระหวา่ งทย่ี โุ รป นักปราชญ์มุสลิมคนแรกและอาจจะ ค่าท่ีมีระบบและได้รับการควบคุมเป็น เขา้ สยู่ คุ มดื จดุ เรม่ิ ของการเปลยี่ นแปลง เป็นคนที่สำ�คัญท่ีสุดคือ อิบน์ อัลฮัยษัม อย่างดีมีความจำ�เป็นมากในการค้นพบ เพ่ือนำ�กระบวนคิดทางวิทยาศาสตร์ให้ กลบั มาเรม่ิ กา้ วเดนิ และปรบั ปรงุ ตามกาล มาจนถงึ ยุคน้อี ยู่ในโลกอาหรบั นัน่ เอง อทิ ธพิ ลของโลกอสิ ลาม Alhazen (ท่ี มา https://www.linkedin.com/pulse/ibn-al-haytham-productive-usage-time-when- stuck-home-ismail-kamdar/ ) ตอ่ ระเบยี บวธิ คี ดิ ทาง วทิ ยาศาสตร์ อิสลามยุคต้นนั้นเป็นยุคทองของ ความรู้ ซ่ึงตามประวัติของวิทยาศาสตร์ ระเบียบวิธีคิดทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบัน คงต้องระลึกถึงนักคิดนักปรัชญามุสลิม บางท่านจากกรุงแบกแดดและอาณาจักร อัลอันดะลุส (al-Andalus) ในยุคนั้น ด้วยความเคารพ (อัลอันดะลุสเป็นอดีต อาณาจักรมุสลิมท่ีกินพ้ืนท่ีครอบคลุม สงิ หาคม 2564 31
รวอ้ ทิ ยยพานั ความรู้ ใหม่ท่ีเกิดขึ้นจากความรู้ที่มีอยู่ ที่ไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยไมด่ ี หากการวจิ ารณ์ ต่อมาได้กลายเป็นรากฐานของวิชาเคมี เขายงั เปน็ ผนู้ �ำ ในแนวคดิ ทวี่ า่ วทิ ยาศาสตร์ เปน็ ไปในทางลบ ซง่ึ เขาเปน็ ผเู้ ขยี นจรยิ ธรรม และวิศวกรรมเคมีในปัจจุบัน เขายังเป็น น้ันเป็นภารกิจในการค้นหาความจริง ทางการแพทย์ ซงึ่ เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ทิ างดา้ น ผู้ค้นพบกรดซิตริก กรดอะซิติก และ สมั บรู ณ์ และหนงึ่ ในหนทางทจ่ี ะไปถงึ เปา้ จริยธรรมของแพทย์อาหรับเป็นคนแรก กรดทาทารกิ และยังได้น�ำ เอาความรู้ด้าน หมายน้นั คอื ผ่านทางแนวปฏิบตั วิ ิมตนิ ิยม อกี ดว้ ยงานของเขามยี สี่ บิ บทประกอบดว้ ย เคมีไปปรับปรุงกระบวนการผลิตของโลก (skepticism) ทางวิทยาศาสตร์ และตั้ง หัวข้อต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับจริยธรรมทาง อาหรบั เชน่ การผลติ เหลก็ กลา้ และโลหะ ค�ำ ถามกบั ทุกส่งิ ทุกอย่าง การแพทย์ ซง่ึ งานนมี้ พี นื้ ฐานมาจากความรู้ อื่นๆ การป้องกันสนิม การเซาะสลกั ร่อง นกั ปราชญม์ สุ ลมิ อกี ทา่ นทมี่ คี ณุ ปู การ ที่ ไ ด้ รั บ สื บ ท อ ด ม า จ า ก ฮิ ป โ พ เ ค ร ตี ส บนทอง การย้อมผ้า และผ้าท่ีกันนำ้�ได้ ต่อระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือ อะบู (Hippocrates) และกาเลน (Galen) นน่ั เอง การฟอกหนงั และยงั พฒั นาการใชแ้ มงกานสี อลั เรฮาน มฮุ มั มดั อบิ น์ อะหมดั อลั บรี นู ี อะบู มซู า ญาบริ อบิ น์ ฮยั ยาน (Abū ไดออกไซด์ในการทำ�แก้วเพ่ือลบสีเขียว (Abū al-Rayhān Muhammad ibn Mūsā Jābir ibn Ḥayyān) หรอื เรยี กยอ่ วา่ ท่ีเกิดจากเหล็ก ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีใช้ Ahmadal-Bīrūnī)หรอื เรยี กสน้ั ๆวา่ อลั บริ นู ี อะบู ญาบริ (พ.ศ. 1807-1901) เปน็ นกั เลน่ มาจนถึงยุคปัจจุบัน นอกจากนี้เขายังได้ (พ.ศ.1516-1593)ซง่ึ เปน็ ทง้ั นกั วทิ ยาศาสตร์ แร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 8 เกิดใน ตั้งข้อสังเกตว่าการต้มไวน์จะทำ�ให้เกิด คณติ ศาสตร์ และดาราศาสตรช์ าวเปอรเ์ ซยี พน้ื ทข่ี องประเทศอหิ รา่ นในปจั จบุ นั เขามกั ไอที่ติดไฟได้ เป็นการกรุยทางให้อัลราซี ไ ด้ ต่ อ ย อ ด แ น ว คิ ด เ รื่ อ ง ก า ร ท ด ล อ ง ไดร้ บั การอ้างถงึ ในฐานะบดิ าของวชิ าเคมี (Muhammad ibn Zakariya al-Razi) ออกไป เขามีความเข้าใจว่าเคร่ืองมือวัด และเป็นนักปราชญ์คนแรกท่ีเสนอให้ คน้ พบแอลกอฮอล์ (เอทานอล) อกี ดว้ ย และผู้สังเกตการณ์ที่เป็นมนุษย์น้ันมี น�ำ เอาการทดลองทม่ี กี ารควบคมุ อยา่ งเปน็ *** เกรด็ นอกเรือ่ ง *** สาวกจักรวาล ความเส่ียงต่อความผิดพลาด และอาจมี ระบบมาใชง้ าน โดยเนน้ การวเิ คราะหส์ าร มารเ์ วลทชี่ อบดหู นงั ซเู ปอรฮ์ โี รอา่ นแลว้ ความลำ�เอียงต่อข้อมูลท่ีวัด จึงเสนอให้ “เชงิ ปรมิ าณ” (quantitative analysis) ซง่ึ อาจมีเฮ เพราะตามเร่ืองราวของโลก การทดลองต่างๆ จะต้องมีการทำ�ซ้ำ� ฉุดการเล่นแร่แปรธาตุให้ก้าวหน้าขึ้นจาก มารเ์ วลแลว้ เปน็ อะบู ญาบริ นเี่ องที่ใน ก่อนที่จะเป็นไปได้ในการหาค่าเฉลี่ยตาม โลกของความเชื่อท่ีไร้เหตุผลไปยังโลก ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 8 ไดก้ า้ วขนึ้ มาเปน็ ผนู้ �ำ “สามญั ส�ำ นกึ ” ออกมาได้ แห่งการวัดค่าเชิงประจักษ์ (empirical องค์การ Brotherhood of the Shield อิสฮาก บนิ อะลี อัรฮาวี (Ishāq bin measurement) ซงึ่ เขาไดเ้ ปน็ แรงบนั ดาล องค์กรลับโบราณที่สร้างขึ้นมาเพื่อ Ali al-Rohawi/al-Rahwi) หรอื เรยี กยอ่ ว่า ใจตอ่ ไปให้แก่ เกเบอร์ (Geber) นามแฝง ปกป้องโลก โดยในคอมิกส์เขาได้สร้าง อรั ฮาวี (พ.ศ. 1394-1477) เปน็ แพทยช์ าว ของนักเล่นแร่แปรธาตุชาวสเปน (พ.ศ. เคร่ืองจักรท่ีสามารถรวมเอาความหวัง อาหรับที่มีถ่ินฐานอยู่ใกล้ชายแดนซีเรีย 1844-1943) ซึ่งเป็นช่ือละตินท่ีแปลงมา ความฝัน แรงบันดาลใจ และความ ในปจั จบุ นั เขาเปน็ คนแรกทน่ี �ำ เอาแนวคดิ จากญาบิร ผู้เป็นท่ีมาของแรงบันดาลใจ ปรารถนาจากผู้คนนับพันมารวมไว้ท่ี ของการทบทวนทางวชิ าการ หรอื เพยี รร์ วี วิ ของเขาน่นั เอง คนคนเดียว เพื่อสร้างโลกข้ึนมาใหม่ (peer review) เข้ามาใช้งาน โดยเขา นอกจากน้ี อะบู ญาบิร ยังเป็น – ว่าซัน่ – เสนอวา่ บคุ ลากรทางการแพทย์โดยเฉพาะ ผู้ประดิษฐ์อุปกรณ์พ้ืนฐานท่ีปัจจุบันใช้ แพทย์ฝึกหัดที่มาเยี่ยมไข้ผู้ป่วย จะต้อง กันทั่วไปในห้องปฏิบัติการเคมีหลายช้ิน ทม่ี า : https://marvel.fandom.com/wiki/Abu_ บันทึกข้ันตอนการรักษาของเขาเอาไว้ และเปน็ ผคู้ น้ พบสารเคมแี ละกระบวนการ M%C5%ABs%C4%81_J%C4%81bir_ibn_ เพอ่ื ใหแ้ พทยฝ์ กึ หดั คนอนื่ ตรวจสอบ เพราะ ทางเคมีตา่ งๆ เชน่ กรดเกลือ กรดไนตรกิ Hayy%C4%81n_al-Azdi_(Earth-616)_) แพทย์อาจได้รับการฟ้องร้องจากผู้ป่วย กระบวนการกลนั่ และการตกผลกึ ซงึ่ กาล สงิ หาคม 2564 32
รวอ้ ทิ ยยพานั นอกจากน้ีเขายังเขียนหนังสือด้าน อะบอู าลี อัลฮูซัยน์ อิบน์ อับดิลลาฮ์ ท้ังดาราศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ เคมี คณิตศาสตร์ เคมีและวิทยาศาสตร์มากถึงสองพันเล่ม อิบน์ ซีนา (Abū Alī al-Ḥusayn ibn ตรรกศาสตร์ จิตวิทยา รวมถงึ การแพทย์ ตำ�ราสำ�คญั ของเขาชอ่ื Kitab al-Kimya, Abdallāh Ibn-Sīnā) หรือเรียกย่อว่า เช่นเดียวกับปราชญ์ในยุคนั้น เขาเป็น Kitab al-Sab'een ซง่ึ แปลเปน็ ภาษาละตนิ อบิ น์ ซนี า (Ibn Sina) เปน็ นกั ปราชญช์ าว ท่ีรู้จักในฐานะบทบาทด้านสาธารณสุข ฮบิ รู องั กฤษ เยอรมนั และฝรงั่ เศส ท�ำ ให้ เปอรเ์ ซยี ทช่ี าวยโุ รปรจู้ กั ในนาม เอวเิ ซนนา ระหวา่ งวกิ ฤตการณ์โรคระบาดในอาณาจกั ร งานของเขามอี ทิ ธพิ ลตอ่ นกั เคมชี าวยโุ รป (Avicenna) (พ.ศ. 1523-1580) เกิดที่ และเปน็ แพทยป์ ระจ�ำ พระองคข์ องเจา้ ชาย ในเวลาตอ่ มาอีกหลายศตวรรษ (อา่ นเพ่ิม อาณาจกั รซามานดิ ซงึ่ ปจั จบุ นั คอื ประเทศ ต่างๆ เขาได้เขียนตำ�ราชุด Canon of ได้ใน https://th.wikipedia.org/wiki/ญาบริ ) อซุ เบกสิ ถาน เขามคี วามรู้ในหลายแขนง Medicine ทมี่ รี ากฐานมาจากฮปิ โพเครตสี อริสโตเติล ไดออสคอริดีส และกาเลน อะบู ญาบิร (ที่มา https://www.britannica.com/biography/Abu-Musa-Jabir-ibn-Hayyan) อยา่ งไรกต็ ามในยคุ สมยั หลายรอ้ ยปตี อ่ มา คือช่วงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในยุโรป งาน ด้านกายวิภาคของเขาถูกลดทอนความ น่าเชื่อถือลง เม่ือลีโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) ปฏิเสธไม่ยอมรับ รวมถึงพาราเซลซสั (Paracelsus) ท่ีเผา ตำ�รา Canon of Medicine ของเขา และ วิลเลียม ฮารว์ ยี ์ (William Harvey) ที่มา ล้มทฤษฎีของเขาในเรื่องระบบหมุนเวียน เลอื ดด้วยการศกึ ษาทถี่ กู ต้องกว่า แมก้ ระนน้ั ในยคุ สมยั ของเขา อบิ น์ ซนี า ก็เป็นบุคคลสำ�คัญยิ่งที่สร้างคุณูปการกับ ระเบียบวิธีคิดทางวิทยาศาสตร์ เพราะ เขาได้เสนอว่ามีสองทางท่ีจะทำ�ให้ได้มา ซ่งึ ความจรงิ แบบปฐมมูล (first principle) ทางวิทยาศาสตร์ (ความเป็นปฐมมูลน้ี ถ้า ความหมายในทางตรรกศาสตรค์ อื สจั พจน์ ท่ีไม่อาจถูกอนุมานได้จากสิ่งอื่นในระบบ นั้น) ทางหน่ึงคือผ่านการอุปนัย/อุปมาน อีกทางคือผ่านการทดลอง มเี พียงการใช้ สองวิธีน้ีเท่าน้ันท่ีจะค้นพบปฐมมูลต่างๆ ที่ต้องใชเ้ พ่อื อุปมานได้ นอกจากนี้นักปราชญ์อิสลามคนอื่นๆ ก็ได้คุณูปการในการมอบแนวคิดเก่ียวกับ ฉนั ทามตใิ นวงการวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ ใชเ้ ปน็ สงิ หาคม 2564 33
รวอ้ ทิ ยยพานั อบิ น์ ซนี า (ท่ี มา https://www.yenisafak.com/en/news/neglecting-ibn-sina-means-neglecting-ourselves-says-academician-3483800) วธิ ใี นการกลน่ั กรองเอาวทิ ยาศาสตรเ์ ทยี ม วธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ โดยไดพ้ ฒั นาแนวคดิ Vera de Interpretatione Naturae (New ออกไป และยอมให้มีการทบทวนผลงาน ในการทำ�การสังเกต การตั้งสมมติฐาน Oganon, or True Directions Concerning ต่างๆ โดยเปิดเผย ส่ิงเหล่านี้ได้ให้คุณ และจากนั้นจึงทำ�การทดลองเพ่ือทดสอบ the Interpretation of Nature) ซึ่งเป็น แกร่ ะเบียบวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทำ�ให้ สมมติฐาน นอกจากนี้เขายังได้บันทึก งานด้านปรัชญาที่เขียนด้วยภาษาละติน ยุคสมัยน้ันเป็นยุคทองของวิทยาศาสตร์ การทดลองของเขาอยา่ งพถิ ีพถิ นั เพอ่ื ให้ หนา้ ปกของ Novum Organum วาดเปน็ เรอื ในโลกอิสลาม นกั วทิ ยาศาสตรค์ นอน่ื ๆ ท�ำ การทดลองซ�้ำ แกลเลียนซึ่งเป็นเรือใบขนาดใหญ่กำ�ลัง อย่างไรก็ตามหลังจากนั้นสำ�นักด้าน ไดเ้ พ่อื ยนื ยันผลการทดลองของเขา แล่นผ่านเสาคู่แห่งเฮอร์คิวลีสในตำ�นาน ความรตู้ า่ งๆ ของโลกอสิ ลามกโ็ รยรา และ ส�ำ หรบั บคุ คลทถี่ อื กนั วา่ เปน็ บดิ าแหง่ ปรัมปรา ท่ีต้ังอยู่คนละฝั่งของช่องแคบ ประวัติของการพัฒนาระเบียบวิธีทาง ระเบียบวิธที างวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหมแ่ ละ ยบิ รอลตาร์ ซงึ่ ก�ำ หนดทางออกจากนา่ นน�ำ้ วิทยาศาสตร์ก็เปลี่ยนมือกลับไปสู่ยุโรป ตรรกศาสตรแ์ บบอปุ นยั ได้แก่ ฟรานซิส ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่มีการสำ�รวจ อกี คราในยคุ ฟน้ื ฟศู ลิ ปวทิ ยา (Renaissance) เบคอน (Francis Bacon) (พ.ศ. 2104-2169) ทำ�แผนท่ีมาแล้วเป็นอย่างดี ออกไปยัง ในยุคฟ้ืนฟูศิลปวิทยานั้น โรเจอร์ ซึ่งในปี พ.ศ. 2163 เขาได้เขียนหนังสือ มหาสมุทรแอตแลนติก เสาคู่น้ีท่ียืนอยู่ เบคอน (Roger Bacon) ผมู้ ชี วี ติ อยใู่ นชว่ ง ช่ือ Novum Organum Scientiarum (A ในฐานะสัญลักษณ์ของเส้นขอบเขต พ.ศ. 1763-1835 เป็นหน่ึงในนกั ปราชญ์ New Instrument of Science) หรือในชื่อ ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้ถูกทำ�ลาย ชาวยุโรปคนแรกๆ ท่ีได้ขัดเกลาระเบียบ เต็มว่า Novum Organum, sive Indicia ลงด้วยการที่กะลาสีชาวไอบีเรียนแล่น สงิ หาคม 2564 34
รวอ้ ทิ ยยพานั เรือผ่านออกไป เป็นการเปิดโลกใหม่ เขาเป็นจุดเริ่มของการแยกวิทยาศาสตร์ และแนะนำ� รวมถงึ คอยควบคมุ ดแู ลการ สำ�หรับการออกสำ�รวจ เบคอนหวังวา่ การ และศาสนาออกจากกัน ซ่ึงรวมถึงการ กระจายข้อมูลสารสนเทศ จัดต้ังวารสาร สืบหาข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์จะทำ�ลาย ท�ำ การวดั ใหม้ คี วามเปน็ มาตรฐาน สามารถ เพื่อช่วยในกระบวนการดงั กล่าว แนวคิดทางวิทยาศาสตร์เก่าๆ เพ่ือนำ�ไป ตรวจสอบผลการทดลองไดท้ กุ ที่ กาลเิ ลโอ องค์กรน้ีต้ังกฎว่า หลักฐานจากการ สคู่ วามรคู้ วามเขา้ ใจตอ่ โลกและสรวงสวรรค์ ใช้ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์เชิงอุปนัย ทดลองน้ันจะมาแทนที่หลักฐานที่ ได้ ใน ทีล่ กึ ซ้ึงข้ึนเฉกเชน่ เดียวกัน อย่างเข้มข้น เพราะเขามีความคิดว่าไม่มี ทางทฤษฎีเสมอ ซ่ึงเป็นหนึ่งในรากฐาน เบคอนได้เสนอการใช้เหตุผลแบบ หลักฐานเชิงประจักษ์ ใดที่จะเท่ากับ ของวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหม่ แนน่ อนว่าการ อุปนัย (inductive reasoning) ให้เป็น การทำ�นายทางทฤษฎีได้โดยสมบูรณ์ ต้ังชุดของผู้เช่ียวชาญและการก่อต้ัง รากฐานของการหาเหตผุ ลเชงิ วทิ ยาศาสตร์ เขาเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ท่ีผู้ทดลอง วารสารวิชาการจะทำ�ให้เกิดการทบทวน ซึ่งเป็นแนวทางการให้เหตุผลจากล่าง จะน�ำ เอาตวั แปรทกุ ตวั เขา้ มาประกอบการ ทางวิชาการ (peer review) ซ่ึงเป็น ขึ้นบน ที่จากการสังเกตการณ์เฉพาะ พิจารณา ตัวอย่างเชน่ เขาคิดว่ามวลไม่มี กระบวนการท่ีปรับมาจากหลักปฏิบัติ กรณีหนึ่งๆ จะนำ�ไปสู่การก่อร่างทฤษฎี ผลกบั ความเรง่ เนอ่ื งจากแรงโนม้ ถว่ ง ไมม่ ี ในโลกมุสลิมในสมัยท่ีวิทยาศาสตร์ไป ทั่วไป หรอื สมมติฐานของเรอื่ งน้นั ๆ การทดลองใดท่ีสามารถวัดสิ่งเหล่านี้ได้ เจริญท่นี ั่นในยคุ ก่อนหน้านีน้ นั่ เอง มีคำ�กล่าวท่ีโด่งดังอยู่ประโยคหน่ึง อย่างสมบูรณ์ เน่ืองจากความต้านทาน การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ได้ขึ้น ของฟรานซิส เบคอน จากหนังสือ The อากาศ ความเสียดทาน และความไม่ ถึงจุดสูงสุดในยุคสมัยของเซอร์ไอแซก Advancement of Learning (พมิ พ์ปี พ.ศ. แม่นยำ�ต่างๆ ของอุปกรณ์จับเวลา และ นิวตัน (Isaac Newton) ผู้ที่อาจนับว่ามี 2148) ทกี่ ลา่ วว่า “If a man will begin วธิ กี ารตา่ งๆ ที่ใช้ อยา่ งไรกต็ าม การท�ำ ซ�ำ้ คุณูปการท่ียิ่งใหญ่ท่ีสุดในประวัติศาสตร์ with certainties, he shall end in doubts; โดยนักวิจัยต่างๆ สามารถสร้างหลักฐาน ของระเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ เนอ่ื งจาก but if he will be content to begin with ท่ีทำ�ให้การขยายความเป็นทฤษฎีท่ัวไป เขาเปน็ คนแรกทมี่ คี วามคดิ วา่ กระบวนวธิ ี doubts, he shall end in certainties.” นน้ั เปน็ ไปได้ คิดทางวิทยาศาสตรน์ ้ันต้องการทัง้ การใช้ (ถ้าเขาเริ่มด้วยความแน่ใจ เขาจะจบลง ช่วงเวลาที่อยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี เหตผุ ลแบบนริ นยั (deduction) และการใช้ ด้วยความสงสัย แต่หากเขาเร่ิมต้นด้วย 16–17 (ราว พ.ศ. 2044-2243) นี้เรียกว่า เหตผุ ลแบบอปุ นัย (induction) ความสงสัย เขาจะจบลงดว้ ยความแนใ่ จ) เป็นยุคของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 19 หลุยส์ ปาสเตอร์ ในยุคของฟรานซิส เบคอน ก็มีอีก (scientific revolution) ซึ่งมีการเกิด (Louis Pasteur) ใช้งานระเบียบวิธีทาง บคุ คลหนงึ่ ทมี่ คี ณุ ปู การอยา่ งยงิ่ แกว่ งการ ขึ้นขององค์ประกอบท่ีจำ�เป็นสำ�หรับ วิทยาศาสตร์ได้อย่างงดงาม เม่ือเขา วิทยาศาสตร์เช่นกัน นั่นคือ กาลิเลโอ กระบวนวิธีทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอีก ออกแบบการทดลองเพื่อพิสูจน์หักล้าง กาลเิ ลอี (Galileo Galilei) ซง่ึ เปน็ นกั ฟสิ กิ ส์ ในยคุ นี้ โดยเรมิ่ เกดิ การกอ่ ตง้ั ราชสมาคม ทฤษฎกี ารเกดิ ขนึ้ เองของสง่ิ มชี วี ติ (theory และดาราศาสตร์ชาวอิตาลีท่ีมีบทบาท แห่งลอนดอน (The Royal Society of of spontaneous generation หรือ ส�ำ คญั ยง่ิ ในการปฏวิ ตั วิ งการวทิ ยาศาสตร์ London) ขน้ึ ในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2203 abiogenesis) ท่ีบอกว่าสิ่งมีชีวิตจะ ผซู้ ง่ึ สนบั สนนุ ใหก้ ระท�ำ การทดลองมากกวา่ ซ่ึงแต่เดิมสมาคมนี้เป็นส่วนหนึ่งของ เกิดขึ้นได้เองจากส่ิงไม่มีชีวิต ซึ่งมีท่ีมา การหาคำ�อธิบายทางเมตาฟิสิกส์ วิธีการ วิทยาลัยอินวิซิเบิล (Invisible College) ต้ังแต่ยุคกรีกโบราณโดย ทาลสี (Thales) ของเขาได้ปรับฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ ทเ่ี ปน็ สถานทที่ ่ีใช้ในการวจิ ยั และอภปิ ราย และอริสโตเติล สาขาอ่ืนๆ ให้เป็นไปในทิศทางท่ีอิงกับ ซ่ึงเม่ือต้ังข้ึนแล้วสมาคมน้ีก็มีหน้าท่ีใน คนอีกผู้หน่ึงท่ีสำ�คัญต่อพัฒนาการ ทฤษฎีทางคณติ ศาสตร์ วธิ ีการต่างๆ ของ การจดั หาทมี ผเู้ ชย่ี วชาญทจ่ี ะใหค้ �ำ ปรกึ ษา ของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ คือ สิงหาคม 2564 35
รวอ้ ทิ ยยพานั โกลด แบร์นาร์ (Claude Bernard) นัก ข้อมูลด้านการยอมรับของผู้บริโภคใน จะต้องนำ�ความรู้ใหม่มาสู่สังคม และยัง สรีรวิทยาชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อแซ่เหมือน อุตสาหกรรมอาหาร เพ่ือลดอคติของ ไดว้ เิ คราะห์ วพิ ากษส์ งิ่ ทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ มา ย่ีห้อนาฬิกาสวิสผู้น้ี มีผลงานท่ีสำ�คัญ ผู้บริโภคในการทดสอบชิมผลิตภัณฑ์ เปน็ ทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรท์ ด่ี ี ความส�ำ คญั เกี่ยวกับการค้นพบหน้าท่ีของการทำ�งาน อาหารที่มาจากยี่ห้อดังเทียบกับตัวอย่าง ของการสังเกตแทนท่ีจะพึ่งพาแหล่ง ของตับและไกลโคเจน รวมถึงการพิสูจน์ จากยหี่ อ้ ท่ีไมด่ งั ข้อมูลและผู้มีอำ�นาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ว่าสารหล่ังจากตับอ่อนมีความสำ�คัญ การทดลองแบบปกปิดข้อมูลของส่ิง ทางประวัติศาสตร์ การใช้เหตุผลแบบ ต่อกระบวนการย่อย ซ่ึงทำ�ให้เขาได้รับ ทจ่ี ะศกึ ษานนั้ มที ง้ั single blind คอื ผปู้ ว่ ย นริ นยั และอปุ นยั รวมถงึ เหตแุ ละผลตา่ งๆ รางวัลด้านการทดลองทางสรีรวิทยา ท่ีได้รับการรักษา/ผู้เข้าร่วมการทดลอง ระเบียบวิธีคิดทางวิทยาศาสตร์ที่ จากสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส ไมท่ ราบ แตผ่ ทู้ �ำ วจิ ยั ทราบขอ้ มลู ของเรอื่ ง พัฒนาโดยเบคอนและนิวตันยังคงเป็น ความสำ�คัญของเขาคือ เขาเป็นหนึ่งใน ทจี่ ะท�ำ การทดลองเกบ็ ขอ้ มลู และ double แ ร ง ขั บ เ ค ลื่ อ น ใ ห้ แ ก่ ก า ร ค้ น พ บ ท า ง คนแรกๆ ที่แนะนำ�ให้ใช้การทดลองแบบ blind คือ ทั้งผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษา/ผู้ วทิ ยาศาสตรม์ ากวา่ สามรอ้ ยปี จวบจนเกดิ ปกปดิ ขอ้ มลู (blind test) หรอื การทดลอง เข้าร่วมการทดลองและผู้วิจัย ไม่ทราบ การเปลี่ยนแปลงของระเบียบวิธีคิดทาง แบบอำ�พราง ซึ่งมีประโยชน์ในการทำ�ให้ ข้อมูลท้ังคู่ ซึ่งการทำ� double blind จะ วิทยาศาสตร์ในศตวรรษท่ี 20 ซึ่งนำ�โดย การสังเกตการณ์ทางวิทยาศาสตร์กระทำ� มีประโยชน์ในการป้องกันไม่ให้ผู้วิจัยหัน คาร์ล พอปเพอร์ (Karl Popper) ผู้ซ่ึง ได้อย่างปราศจากอคติ ข้อมูลท่ีอาจมี ไปสนใจกลมุ่ ทดลองมากกวา่ กล่มุ ควบคุม เขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ ถงึ ขอ้ จ�ำ กดั ตา่ งๆ ของวธิ ี อิทธิพลต่อผู้เข้าร่วมการทดลองจะถูกปิด หากผวู้ จิ ยั รเู้ กย่ี วกบั การทดลองนนั้ เปน็ ตน้ คิดแบบวทิ ยาศาสตร์ในแบบเดิมๆ เอาไว้จนกว่าการทดสอบจะเสร็จสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2408 เขาได้เขียนหนงั สือ เร่ืองราวการเปลี่ยนผ่านของยุคสมัย โดยหากผู้เข้าร่วมการทดลองสามารถ An Introduction to the Study of ในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นยุคท่ีเกิด อนุมานได้ หรือได้รับข้อมูลที่ถูกปกปิด Experimental Medicine (จนถึงปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางหลักการคิด และการ ไว้ ผลการทดลองก็จะมีโอกาสผิดเพ้ียน ก็ยังมีขายอยู่ใน amazon) ซ่ึงอธิบาย เจริญข้ึนอย่างก้าวกระโดดของวิทยาการ ไปได้ ปจั จบุ นั วธิ นี ม้ี คี วามส�ำ คญั ตอ่ การวจิ ยั ความคดิ และงานทดลองของเขา ในหนงั สอื ของมนษุ ยท์ สี่ �ำ คญั ทส่ี ดุ อกี ยคุ หนงึ่ จะเปน็ ในหลายสาขา เช่น การทดลองใชย้ าและ ระดับคลาสสิกเล่มนี้ เขาได้พิจารณา อย่างไร เราจะมาคุยกันต่อในฉบับหน้า สงั เกตผลของการใชย้ า รวมถงึ ในการเกบ็ ความสำ�คัญของการที่นักวิทยาศาสตร์ อยา่ ลมื ตดิ ตามอ่านกันนะครับ แหล่งข้อมูลส�ำ หรบั อ่านเพิ่มเตมิ https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780191843730.001.0001/q-oro-ed5-00000644 https://en.wikipedia.org/wiki/History_of_scientific_method https://explorable.com/history-of-the-scientific-method https://science.howstuffworks.com/innovation/scientific-experiments/scientific-method.htm https://inside.nku.edu/artsci/departments/chemistry/about/diversity/jabiribnhayyan.html สงิ หาคม 2564 36
สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อุ่นใจ ภาควิชาชีววทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ผศ. ดร.ป๋วยอนุ่ ใจ | http://www.ounjailab.com นักวจิ ัยชีวฟิสิกสแ์ ละอาจารย์ประจำ�ภาควิชาชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล นักสือ่ สารวทิ ยาศาสตร์ นักเขียน ศิลปินภาพสามมิติ และผปู้ ระดษิ ฐ์ฟอนต์ไทย มีความสนใจทั้งในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี งานศลิ ปะและบทกวี แอดมินและผรู้ ว่ มก่อต้งั เ พจ FB: ToxicAnt เพราะทกุ สิ่งลว้ นเป็นพษิ ปฏิิวัตั ิิชีีวเคมีี ด้้วย “เอไอ” กับั “กล้้องถ่า่ ยอะตอม” ริชิ าร์ด์ ไฟยน์แ์ มน (Richard Feynman) นักั ฟิสิ ิกิ ส์์ รางวััลโนเบลผู้้�ได้้รัับการขนานนามว่่าเป็็นบิิดาแห่่ง นาโน เคยกล่่าวไว้้ว่่า “ถ้้าอยากเข้้าใจระบบอะไรที่่� ซัับซ้้อนมากๆ ก็็แค่่มองเข้้าไปให้้รู้�้ว่่าอะตอมอยู่่� ตรงไหน ก็เ็ ข้า้ ใจแล้ว้ ” สิงหาคม 2564 37
สภากาแฟ ซง่ึ ดเู หมอื นจะจรงิ เพราะถา้ ยอ้ น ก็ดังอยู่แล้ว เพราะเป็นทีมวิจัยเดียวกัน ทดลองใช้โรเซตตาโฟลดท์ �ำ นายโครงสรา้ ง มองกลบั ไป นกั วทิ ยาศาสตร์ กับที่ออกเเบบเกมโฟลดอ์ ติ (Foldit) ชว่ ย โปรตนี ไดเ้ ลยผา่ นทางเซริ ฟ์ เวอรข์ องแลบ็ รางวัลโนเบลสาขาเคมีและการแพทย์ ท�ำ นายโครงสรา้ งโปรตนี กอ็ ดรนทนไมไ่ หว ของเบเกอร์ เปดิ ตวั เเคเ่ ดอื นเดยี วกม็ ผี ู้ให้ มากมายได้ขึ้นแท่นโนเบลหลังจากท่ี และไดพ้ ฒั นาอลั กอรทิ มึ ของทมี ตวั เองขนึ้ ความสนใจท่วมท้น พวกเขาสามารถหาโครงสรา้ งสามมติ ขิ อง มาโดยใช้แรงบันดาลใจมาจากอัลกอริทึม และถา้ สนใจอยากชว่ ยพฒั นาเพมิ่ ทมี โปรตนี ทพี่ วกเขาสนใจ จนสามารถอธบิ าย ของดปี มายด์ เอาแคท่ พ่ี อจะเเกะไดอ้ อกมา ยังอัปโหลดซอร์ซโคดข้ึนออนไลน์ แล้ว กลไกอันสลับซับซ้อนของพวกมัน จน เดวดิ เบเกอร์ เปดิ ตวั เอไอ “โรเซต- เปดิ ฟรใี หท้ กุ คนทส่ี นใจสามารถดาวน์โหลด เหน็ เปน็ ภาพไดแ้ จม่ ชดั ลกึ ลงไปถงึ ระดบั ตาโฟลด์ (Rosettafold)” ของเขาอย่าง โคดไปพัฒนาต่อได้เลยอีก และหลังจาก อะตอม อลงั การไมน่ อ้ ยหนา้ ไปกวา่ ของอลั ฟาโฟลด์ ทเ่ี ปดิ ตวั ได้ไมน่ าน ไมแ่ นใ่ จว่าเพราะอะไร และในชว่ งไมก่ สี่ ปั ดาหท์ ผ่ี า่ นมากเ็ พง่ิ แม้ว่าโรเซตตาโฟลด์จะมีความแม่นยำ�ใน แตโ่ รเซตตาโฟลดก์ ็ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื ใหก้ ระชบั จะมีข่าวใหญ่ที่ดูเหมือนจะเป็นดิสรัปชัน การท�ำ นายยงั ไมเ่ ปะ๊ เทา่ กบั ของอลั ฟาโฟลด์ ข้นึ เป็นโรเบตตา ในวงการชวี เคมอี อกมารวั ๆนน่ั กค็ อื นวตั กรรม แต่ใช้งานง่ายกว่า เพราะมีอินเทอร์เฟซ การเดิมเกมคร้ังนี้ของทีมโรเบตตา แห่งการพัฒนาอัลกอริทึมเอไอมาใช้ ใน โผลข่ นึ้ มาในเวบ็ ใหค้ นทวั่ ไปสามารถเขา้ ไป สะเทือนถึงทีมอัลฟาโฟลด์มากแค่ไหน การทำ�นายโครงสร้างโปรตีนสามมิติของ ทมี วจิ ยั สองทมี อลั ฟาโฟลด์ (Alphafold) กับโรเบตตา (Robetta) อลั ฟาโฟลดจ์ ากกเู กลิ ดปี มายด์ (Google DeepMind) ทเ่ี ปดิ ตวั อยา่ งอลงั การไปเมอ่ื ปที แี่ ลว้ ชนะเลศิ ในการแขง่ ขนั การท�ำ นาย โครงสรา้ งโปรตนี CASP14 เลน่ เอาทมี วจิ ยั ในมหาวิทยาลัยต่างๆ นิ่งอ้ึงตะลึงงันไป ตามๆ กนั ถงึ ความแม่นย�ำ ในการทำ�นาย แตห่ ลงั จากชนะไปอยา่ งทว่ มทน้ ถลม่ ทลาย ทมี อลั ฟาโฟลดก์ แ็ อบซมุ่ เงยี บพฒั นา อลั กอรทิ มึ เอไอตอ่ จนนกั วจิ ยั ชวี เคมชี อ่ื ดงั หลายคนออกมาเคลื่อนไหวบีบให้ทีม ดีปมายด์ยอมเปิดอัลกอริทึมเป็นโอเพน- ซอร์ซ เพ่ือท่ีวิทยาศาสตร์ในสายงานนี้ จะได้พัฒนาตอ่ ไป ทา้ ยทสี่ ดุ เดวดิ เบเกอร์ (David Baker) ผู้อำ�นวยการสถาบันเพื่อการออกแบบ โปรตีน มหาวิทยาลยั วอชิงตนั ซแี อตเทลิ (Institute for Protein Design, University of Washington Seattle) และทีม ทเ่ี ดิม สิงหาคม 2564 38
สภากาแฟ ไม่มีใครรู้ รู้แต่ว่าหลังการเปิดตัวของ เพราะทมี ดปี มายดย์ งั มเี ปเปอรก์ อ๊ กสองที่ แลว้ กว่าสองหมืน่ โครงสรา้ ง โรเบตตาไม่นาน กูเกิลดีปมายด์ก็ยอม แรงกวา่ เดมิ ทอ่ี อกมาหนงึ่ สปั ดาห์ใหห้ ลงั ปิดท้ายด้วยการเปิดตัว Colab อัปโหลดซอร์ซโคดของพวกเขาขึ้นฐาน พวกเขาไดต้ ดั สนิ ใจรว่ มงานกบั สถาบนั notebook เซิร์ฟเวอร์ทำ�นายโครงสร้าง ขอ้ มลู Github ใหน้ กั วจิ ยั สามารถมาโหลด สารสนเทศชีวภาพแห่งยโุ รป (European โปรตีนแบบเดียวกันเลยกับของโรเบตตา ไปใชง้ านและพัฒนาต่อไดเ้ หมือนกนั Bioinformatic Institute) เปดิ ตวั ฐานขอ้ มลู เล่นเอากระเเสโรเบตตาที่กำ�ลังมาแรง ท้ายที่สุดทั้งดีปมายด์และโรเบตตา โครงสรา้ งโปรตนี อลั ฟาโฟลด์ (AlphaFold แอบดเู จื่อนลงไปถนัดตา ก็ออกเปเปอร์แรกมาชนกัน ดีปมายด์ลง Protein Structure Database) ซึ่งว่าไดว้ ่า นักวิทยาศาสตร์หลายคนมองว่าการ เผยแพร่ในวารสารดังเนเจอร์ (nature) มีข้อมูลโปรตีนทุกชนิดที่พบในจีโนมของ เปิดเผยฐานข้อมูลโปรตีนทุกตัวในจีโนม ส่วนโรเบตตาจัดไปอย่างไม่น้อยหน้าตี มนุษย์และสิ่งมีชีวิตตัวอย่าง 20 ชนิด ได้น่ีคือจุดพลิกผันของวงการชีวเคมีท่ี พมิ พ์ออกมาในไซแอนซ์ (Science) เรียก ท�ำ นายโดยเอไออลั ฟาโฟลด์ 2 ของดปี มายด์ น่าจะเปลี่ยนโฉมหน้างานวิจัยโปรตีน ยา ว่าเป็นท่ีฮือฮาจนเป็นทอล์กออฟเดอะ รวมแลว้ ราวๆ สามแสนหา้ หมน่ื โครงสรา้ ง อณูชีววิทยา และชีววิทยาสังเคราะห์ไป ทาวน์ในวงการ จนเป็นข่าวใหญ่กระแทกวงการอีกรอบ อย่างเหน็ ได้ชัด แต่ดีปมายด์ยังไม่หยุดอยู่แค่นั้น เพราะเเค่ของมนุษย์อย่างเดียวก็มีไป แมว้ า่ จะตน่ื เตน้ ไปกบั ความกา้ วล�ำ้ และ ความแม่นยำ�ในการทำ�นายของเอไอ แต่ นักวิจัยท่ีครำ่�หวอดอยู่ในวงการชีววิทยา เชิงโครงสรา้ งหลายคนกลับเหน็ ตา่ ง เพราะแมจ้ ะท�ำ นายไดด้ แี คไ่ หน โปรตนี จริงๆ ในธรรมชาติมักจะมารวมกันเป็น โครงสร้างจักรกลเชิงซ้อนขนาดใหญ่ (complex assembly) การทำ�นาย โครงสร้างโปรตีนทุกตัวเเบบน้ีแม้จะมี ประโยชน์มากแต่บางทีก็ยังไม่สามารถ เอามาอธิบายพฤติกรรมของโปรตีนท่ีมี ความซับซ้อนมากๆ ได้ นอกจากน้ี ถ้ามองไปถึงพฤติกรรม จริงๆ ของโปรตีน โปรตีนส่วนใหญ่มัก จะมีพลวัตและความยืดหยุ่นอยู่ในระดับ หนึ่ง เวลาที่พวกมันทำ�งานก็มักจะมีการ ขยบั เขยอ้ื นเคลอ่ื นไหวไปมา ไมไ่ ดเ้ เขง็ ทอ่ื เปน็ กอ้ นหนิ นงิ่ งนั แบบทเ่ี หน็ ในโครงสรา้ ง โครงสร้างที่ได้มาจึงเป็นแค่ภาพน่ิง หนึ่งภาพ หรือท่ีหลายคนมักจะเรียกว่า เปน็ แคส่ แนปชอตของโครงสรา้ งจรงิ ทด่ี น้ิ ไดเ้ ทา่ นนั้ สิงหาคม 2564 39
สภากาแฟ และทส่ี �ำ คญั การท�ำ นายยงั ไงกย็ งั เปน็ ใช้ไดแ้ ลว้ แตถ่ า้ ว่ากนั ตามจริง แมจ้ ะเปน็ ข้ึนมาเป็นสามมิติแล้วเร่ิมเห็นภาพของ การท�ำ นาย ไม่สามารถเอามาแทนผลการ ผลึกจิ๋ว การที่จะได้ผลึกดีๆ ก็ยังไม่ได้จะ โมเลกุลต่างๆ ได้ชัดข้ึน จนเริ่มเดาได้ว่า ทดลองของจรงิ ได้ แมจ้ ะเเมน่ ย�ำ แคไ่ หนก็ เป็นเรื่องท่ีง่ายหรือสามารถกะเกณฑ์ได้ กรดอะมิโนตัวไหนอยู่ตรงไหนในโปรตีน อาจจะผดิ ได้ ถ้าไม่มขี องจรงิ มาเทียบ ตามทอี่ ยากใหเ้ ปน็ อยูด่ ี ได้ค่อนข้างดี เอามาใช้ทำ�นายกลไกของ ดังน้ันเทคโนโลยีในการหาโครงสร้าง ส่วนเทคนิคการประกอบภาพถ่าย โปรตีนตัวนั้นว่ามันทำ�งานอย่างไรได้ ใน โปรตนี ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ ง อนภุ าคเดย่ี วจากกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน ระดับท่เี รยี กวา่ คอ่ นข้างแม่นเลยทเี ดยี ว การตกผลกึ และการกระเจงิ รงั สเี อกซ์ (X-ray (cryoEM) แม้ว่าจะไม่ต้องการผลึก ซึ่ง ถา้ เราเขา้ ใจกลไกการท�ำ งานของโปรตนี crystallography) และการประกอบภาพถา่ ย แนน่ อนท�ำ ใหช้ วี ติ งา่ ยขน้ึ เยอะ แตใ่ นอดตี เรากจ็ ะรชู้ ดั วา่ เอนไซมท์ �ำ งานอยา่ งไร ไวรสั อนภุ าคเดย่ี วจากกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน กล้อง CCD ที่ใช้จับภาพมันช้า รูปที่ได้ เขา้ เซลลอ์ ยา่ งไร แอนตบิ อดแี บบไหนจะกนั (cryoEM & single particle analysis) สว่ นใหญเ่ ลยคอ่ นขา้ งเบลอ ความละเอยี ด ไวรสั ได้ แบคทเี รยี กอ่ โรคสรา้ งสารพษิ อะไร ก็ยังคงเป็นศาสตร์ท่ีมีความสำ�คัญที่จะ ของภาพสามมติ ทิ ่ีไดจ้ งึ ไมถ่ งึ ขน้ั เหน็ อะตอม แลว้ สารพษิ ที่วา่ ท�ำ อะไรกับเซลลค์ น แล้ว ละทงิ้ ไปไมไ่ ด้ ในโมเลกลุ ได้อย่างมากกเ็ ห็นโปรตนี เป็น พวกเช้ือดื้อยา มันมีกลไกอะไรในระดับ ที่จริงท้ังสองเทคโนโลยีน้ีก็พัฒนา แค่ก้อนๆ ตะปุม่ ตะปำ่� (blob) แค่นนั้ โมเลกุลที่ทำ�ให้มันหลีกเลี่ยงการรักษา ไปไกลเชน่ กนั การพฒั นาแบบกา้ วกระโดดของวงการ ไปได้ ซึ่งโจทย์วิจัยเหล่านี้ทรงคุณค่ามาก ในอดีตการหาโครงสร้างโดยใช้หลัก cryoEM น้ันเกิดขึ้นเม่ือราวๆ ปี พ.ศ. นอกจากจะในแง่ขององค์ความรู้ท่ีทำ�ให้ ผลึกศาสตร์ (crystallography) ถือเป็น 2556 เมื่อกล้องจับภาพตัวใหม่ เรียกว่า เราเขา้ ใจธรรมชาตมิ ากขนึ้ แลว้ ยงั มมี ลู คา่ สดุ ยอดเทคนคิ ในต�ำ นานทน่ี กั ชวี เคมนี ยิ ม direct detector ได้รับการพัฒนาขึ้นมา สงู ย่งิ ในเชงิ ธุรกิจอกี ด้วย ใช้ และเป็นหน่ึงในเทคนิคท่ีส่งเสริมให้ ซ่ึงกล้องตัวนี้ไวมาก จับทุกเหตุการณ์ท่ี ลองจินตนาการดูว่าในยามกลียุคที่ หลายคนได้โนเบลมาแล้ว แม้จะต้องฝ่า เกดิ ขน้ึ ในเสย้ี ววนิ าที ภาพทถี่ า่ ยมาจงึ เกบ็ วัคซีนและยาน้ันขาดแคลนและหาไม่ได้ ความเจ็บปวดมาบ้างระหว่างทางในตอน รายละเอยี ดไดด้ ขี นึ้ สามารถถา่ ยเปน็ มฟู ว่ี ใครหาวคั ซนี และยาทท่ี �ำ งานไดจ้ รงิ เจอกอ่ น ทีพ่ ยายามตกผลึกโปรตนี ความละเอยี ดสงู ซง่ึ พอเอามาประกอบภาพ ผู้นัน้ คอื ผคู้ รองตลาด ! เพราะการหาโครงสร้างสามมิติของ โปรตีนโดยเทคนิคผลึกศาสตร์จะต้องใช้ ผลึก แต่โปรตีนสว่ นใหญไ่ ม่ชอบประกอบ ตัวเป็นผลกึ กว่าจะได้ผลึกดีๆ ที่น่าจะให้ โครงสรา้ งที่สวยงามและมคี ุณคา่ บางคน ตอ้ งใชเ้ วลาเปน็ เดอื น ซง่ึ นน่ั ถอื วา่ โชคดแี ลว้ เพราะบางคนอาจใช้เวลานับทศวรรษแต่ ไม่ไดอ้ ะไรเลยก็มี ในปัจจุบันเรามีหุ่นยนต์ช่วยตกผลึก โปรตีนบวกกับเทคโนโลยีการวิเคราะห์ โครงสรา้ งโปรตนี จากผลกึ จว๋ิ (microcrystal) ที่ท�ำ ให้ชีวิตงา่ ยขึ้นเยอะ เพราะไมต่ อ้ งรอ ให้ได้ผลึกใหญโ่ ต แค่ก้อนเล็กๆ ก็เอามา สิงหาคม 2564 40
สภากาแฟ แต่คำ�ว่าความละเอียดสูงระดับเห็น เทคนคิ cryoEM แบบใหมข่ น้ึ มา พวกเขา ทว่าในหลายประเทศโดยเฉพาะ กรดอะมโิ นไดน้ น้ั อาจยงั ไมส่ งู พอในหลาย สามารถประกอบภาพโครงสร้างสามมิติ อย่างย่ิงประเทศในกลุ่มผู้นำ�เทคโนโลยี กรณี เชน่ ถา้ อยากเหน็ วา่ ยาทเ่ี ปน็ โมเลกลุ ของโปรตีนอะโปเฟอร์ริติน (apoferritin) กลับมองมุมต่าง เพราะนี่คือการลงทุน เล็กๆ เข้าจับกับโปรตีนของเช้ือก่อโรค ขน้ึ มาไดท้ ค่ี วามละเอยี ดสงู มากจนสามารถ ทางดา้ นเทคโนโลยที จ่ี ะท�ำ ใหป้ ระเทศของ และยับยั้งโรคได้อย่างไร อันนั้นเห็นแค่ ระบุตำ�แหน่งของแต่ละอะตอมในโปรตีน พวกเขาไม่โดนดันไปอยูข่ ้างหลัง กรดอะมิโนยังไม่พอ มันต้องเห็นอะตอม ได้เลย เพราะการท่ี cryoEM ทำ�ให้เรา กันเลยทีเดียว ส่วนอีกเปเปอร์นึง จอรส์ เชียรส์ สามารถเห็นภาพโครงสร้างสามมิติของ เจบ็ ปวดครบั เพราะการหาโครงสรา้ ง (Sjors Scheres) และทีมวิจัยจาก เชอ้ื กอ่ โรค โปรตนี ในมนษุ ย์ สตั ว์ พชื และ สามมติ ทิ ค่ี วามละเอยี ดสงู ระดบั อะตอมนน้ั มหาวทิ ยาลยั เคมบรดิ จ์ กป็ ระสบความส�ำ เรจ็ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้ท่ีความละเอียดสูงจน โดยมากคือต้องกลับไปลุ้นผลึกเอากับ เช่นกันกับโครงสร้างสามมิติของโปรตีน บอกได้ว่ากรดอะมิโนท่ีเป็นองค์ประกอบ เทคนคิ x-ray crystallography กนั อกี รอบ อะโปเฟอรร์ ติ นิ ท่ีระดับอะตอม แถมด้วย ของโปรตีนท่ีเราสนใจนั้นอยู่ตรงไหนได้ แ ล ะ ใ น ปั จ จุ บั น ก ล้ อ ง จุ ล ท ร ร ศ น์ โครงสรา้ งสามมติ โิ ปรตนี GABA receptor ซง่ึ ชว่ ยใหน้ กั วจิ ยั สามารถออกแบบโมเลกลุ อิเล็กตรอนสามารถถ่ายภาพได้ระดับ อีกตัวที่ความละเอียดสูงมากจนสามารถ ของสารยาและชวี วตั ถไุ ดค้ อ่ นขา้ งแมน่ ย�ำ ความละเอียดจนเหน็ “อะตอม” เห็นได้เลยว่าแต่ละอะตอมในโปรตีนน้อี ยู่ ชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการสกรนี เฟน้ หาสารออก เมื่อปลายปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา ตรงไหนบา้ ง ฤทธิ์ไดอ้ ยา่ งมหาศาล เทคโนโลยนี จี้ งึ เปน็ ในวารสารเนเจอร์เพ่ิงจะมีงานวิจัยใหม่ กล้องท่ีเจ๋งขนาดถ่ายภาพโปรตีน ทีก่ ลา่ วขวัญถึงในวงกว้าง สองงานทถ่ี อื ไดว้ า่ เปน็ การ break records และโครงสรา้ งตา่ งๆ ไดค้ มชดั จนละเอยี ด ลองจินตนาการว่าถ้าเราเห็นโมเลกุล ใหม่ของ cryoEM ระดับอะตอมน้ันเป็นความฝันของนัก ขนาดเล็กได้หมด เช่น ไอออนของโลหะ เปเปอรแ์ รก ทมี วจิ ยั ของศาสตราจารย์ วทิ ยาศาสตรม์ านานแสนนาน แตค่ วามฝนั สารอนิ ทรีย์ พอลิเมอร์ได้ในระดบั อะตอม โฮลเกอร์ สตาร์ก (Holger Stark) จาก น้นั เริ่มมเี คา้ ของความเปน็ จริง การพัฒนาทางวัสดุศาสตร์และนาโน สถาบันมักซ์พลังก์ที่เยอรมนี ได้พัฒนา แน่นอนว่าสมรรถนะระดับนี้ ราคาค่า เทคโนโลยีจะเกิดข้ึนได้แบบก้าวกระโดด setup น่ีก็ไม่ต้องพูดถึง แพงหูฉ่ี ระดับ วัสดุอัจฉริยะ วัสดุพลังงานใหม่ๆ คงอยู่ หลายรอ้ ยหลายพันลา้ นบาทข้ึนไป ไมน่ บั ไม่ไกล งบประมาณที่จะต้องเอามาใช้ ในการ และส�ำ หรบั นกั ชวี วทิ ยา สง่ิ ทน่ี า่ สนใจ ปรับปรุงอาคารสถานท่ีให้เหมาะสมกับ ที่สุดคงจะหนีไม่พ้นการเข้าใจธรรมชาติ เคร่ืองมอื ทท่ี รงประสทิ ธิภาพ ของชีวิต จนสามารถออกแบบชีวิต และ ด้วยราคาท่ีสูงลิ่วจนเกินเอื้อมทำ�ให้ ปรบั แตง่ โปรตนี ตา่ งๆ มาเปน็ จกั รกลนาโน การยื่นขอจัดสรรงบประมาณเพื่อสร้าง ที่มีประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรม และ cryoEM facility สำ�หรบั ประเทศนนั้ จึงท�ำ ถ้ามองในทางการแพทย์ ถ้าเราสามารถ ได้ยากย่ิง ความหวังของนักวิทยาศาสตร์ มองเห็นได้ว่าสารยาโมเลกลุ เล็กๆ จับกับ ในประเทศทกี่ �ำ ลงั พฒั นาทจี่ ะไดเ้ ครอื่ งมอื เป้าหมายของยาในเช้ือก่อโรคได้อย่างไร ระดับนี้มาเพื่อพัฒนาศักยภาพของคน เรากจ็ ะสามารถอธบิ ายไดว้ า่ ท�ำ ไมเชอื้ บาง และเพม่ิ โอกาสในการแขง่ ขนั ของประเทศ ชนดิ ถงึ ไดด้ อื้ ยา และการออกแบบยาและ จงึ ริบหรี่เหมอื นหิ่งห้อยใกล้ดับแสง สารชีววัตถุใหม่เพ่ือจัดการกับโรคร้ายก็ สิงหาคม 2564 41
สภากาแฟ จะทำ�ได้อย่างว่องไวมากขึ้น โดยเฉพาะ University of Singapore) และ NTU ของผู้นำ�ก็คงต้องไกล และถ้าเริ่มทีหลัง อยา่ งยงิ่ ในยคุ ทส่ี ภาวะภมู อิ ากาศของโลก (Nanyang Technological University) ก็คงต้องรีบสาวเท้าก้าวให้ทันเขา เพราะ ปรวนแปรจนเกิดมีโรคอุบัติใหม่เกิดข้ึน เพราะสง่ิ ทผ่ี นู้ �ำ เหลา่ นม้ี องเหน็ คอื ผลก�ำ ไร ถา้ มวั เเตง่ กๆ เง่นิ ๆ ชาติอนื่ ๆ กค็ งจะเดนิ มาคกุ คามการอย่รู อดของมวลมนุษยชาติ จากยาและสารชวี วตั ถใุ หม่ๆ ทจี่ ะผลักดัน แซงไปหมด อย่ตู ลอดเชน่ น้ี ใหพ้ วกเขายงั สามารถเเขง่ ขนั และยงั ด�ำ รง แตถ่ า้ ไมอ่ ยากทง้ิ ใครไวข้ า้ งหลงั อยาก ถ้านึกไม่ออกลองจินตนาการถึงกรณี อยูใ่ นกลุ่มประเทศรายไดส้ งู ได้ จะคงสถานะเป็นประเทศ (ที่เหมือนจะ) โควิด 19 ก็ได้ เพราะโครงสร้างโปรตีน ชดั เจนวา่ องคค์ วามรู้ในเชงิ ลกึ เกย่ี วกบั กำ�ลังพัฒนาต่อ ก็จงน่ังเช้าชามเย็นชาม หนามท่ีโด่งดังที่เป็นเป้าหมายหลักของ เชอื้ กอ่ โรคตา่ งๆ แบบน้ี ทนี่ กั วชิ าการทอ่ี าจ ตดิ อยใู่ นกบั ดกั รายไดป้ านกลาง แลว้ คอย ยาตา้ นไวรสั และวัคซีนเกอื บทุกยีห่ ้อ ก็ได้ จะไม่มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยี ลุ้นดูความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ cryoEM นี่แหละท่ีหาโครงสร้างให้อย่าง อย่างถ่องแท้หลายคนค่อนขอดว่าเป็น เทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีจะถูกอัญเชิญลงมา รวดเร็ว เพยี งเเคส่ องเดอื นหลังจากทร่ี ูว้ ่า งานวิจัยขึ้นห้ิง อาจจะนำ�ไปสู่การพัฒนา จากห้ิงกลายเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง มกี ารระบาดของเชอ้ื ใหม่ นกั วจิ ยั จากเทก็ ซสั ยาใหม่ที่มีมูลค่ามากกว่าราคาค่าเซตอัป ซง่ึ ประเทศอน่ื ๆ ทเ่ี ขาพฒั นาแลว้ เอามาขาย กป็ ลอ่ ยโครงสร้างหนามออกมาแลว้ เครอื่ งหลายหมนื่ เท่า ! ใหเ้ ราไดซ้ อ้ื หามาใชก้ นั ตอ่ ไปแบบมน่ั คง... ในหลายประเทศ state of the art หากอยากจะอยู่รอดในสังคมโลกที่ ยง่ั ยืน... cryoEM facility จึงได้ผุดข้ึนมากมาย ระบบธุรกิจเป็นแบบมือใครยาวสาวได้ เปเปอรข์ อง Stark https://www.nature. ทัว่ โลก ทัง้ ในสหรฐั อเมริกา จนี สหราช- สาวเอาแบบนี้ ทเี่ ปน็ แบบใครดใี ครได้ ใคร com/articles/s41586-020-2833-4 อาณาจกั ร ฝรงั่ เศส เยอรมนี ญปี่ นุ่ อนิ เดยี พัฒนาเทคโนโลยีไปได้ไวกว่าและชาญ เปเปอรข์ อง Scheres https://www.nature. เกาหลใี ต้ สเปน หรือแม้แต่ประเทศเล็กๆ ฉลาดกวา่ คนนนั้ คอื ผคู้ รองตลาด ทเ่ี หลอื com/articles/s41586-020-2829-0 อย่างสิงคโปร์ก็จัดไปหมดแล้วในสอง กร็ อซอ้ื อยขู่ า้ งหลงั นคี่ อื ธรรมชาตขิ องโลก มหาวิทยาลัยใหญ่ทั้ง NUS (National ถ้าอยากเป็นประเทศรายได้สูง วิสัยทัศน์ สงิ หาคม 2564 42
หอ้ งภาพสตั วป์ า่ ไทย ประทปี ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เป็็ดคัับแค Nettapus coromandelianus เป็็ดคัับแคเป็็นนกที่่�มีีขนาดกลาง พบตามแหล่่งน้ำ��ำ ขนาดเล็็กและ ขนาดใหญ่ท่ ั่่ว� ไป เช่น่ คูู คลอง ลำ�ำ ราง บึงึ บาง หนอง บ่อ่ อ่า่ งเก็บ็ น้ำ��ำ ทะเลสาบ ทำ�ำ รัังตามโพรงของต้้นไม้้ที่่�ขึ้้�นอยู่่�ไม่่ไกลจากแหล่่งน้ำ��ำ ในช่่วงเดืือนกรกฎาคมถึึงกันั ยายน สงิ หาคม 2564 43
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วรศิ า ใจดี สาระวทิ ย์ ในศิลป์ 22 วรศิ า ใจดี (ไอซี) เดก็ สาย(พนั ธุ)์ วิทยส์ านศลิ ป์ ชอบเรียนคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ สนใจเร่ืองเกี่ยวกับอวกาศ และสตั ว์เล้ียงตวั จิ๋ว เวลาว่างชอบท�ำ งานศลิ ปะ ก�ำ ลงั ค้นหาสตู รผสมที่ลงตัวระหวา่ งวทิ ยก์ บั ศลิ ป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ภาพโดย : วริศา ใจดี ฟิสิ ิกิ ส์ส์ ร้า้ งศิลิ ป์์ ช่่วงนี้้�ฉัันสนใจในศิิลปะภาพ กับั Lenticular Sheet เคลื่่�อนไหวเป็็นพิิ เศษ ด้้วย เพราะว่า่ อยู่่�ในเนื้้อ� หาวิชิ าฟิสิ ิิกส์์ ที่่�ฉัันเพิ่่� งเรีียนผ่่านไปเกี่�่ยวกัับ เ รื่่� อ ง แ ส ง แ ล ะ ก า รม อ ง เ ห็็ น ในฉบัับที่่�แล้้วฉัันได้้กล่่าวถึึง ภาพสแกนิิเมชััน เทคนิิคการ ส ร้้ า ง ภ า พ เ ค ลื่่� อ น ไ หวที่�่ เ ร า สามารถทำ�ำ เองได้้ ไม่่ต้้องพึ่่�ง เทคโนโลยีีใดๆ เพีียงแค่อ่ าศัยั ความรู้ท�้ างฟิสิ ิิกส์์มาช่ว่ ยสร้า้ ง สำำ�หรับั สาระวิทิ ย์ใ์ นศิลิ ป์ฉ์ บับั นี้้� ฉัันจะมาแนะนำ�ำ ให้้รู้้�จัักกัับอีีก หนึ่่�งความคิิดสร้้างสรรค์์ใน การทำ�ำ ภาพเคลื่่�อนไหวอย่่าง ง่่าย เกิิดเป็็นของเล่่นที่�่เป็็น ลููกผสมของวิทิ ย์ก์ ับั ศิลิ ป์์ และ สร้า้ งความน่า่ ทึ่่ง� ให้แ้ ก่เ่ ด็ก็ ๆ ไม่่ แพ้้ภาพสแกนิเิ มชันั สิงหาคม 2564 44
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ หลายคน (ท่ีเกิดทัน) อาจคุ้นกับ เลก็ นอ้ ย ภาพกจ็ ะเปล่ยี นไปเปน็ อีกภาพ เมื่อได้ลองศึกษาดูฉันก็ได้พบว่ามัน การสะสมการ์ดของเล่นเล็กๆ ท่ี หน่ึงและเกิดมีมิติขึ้นมา จนเรียกขาน เปน็ อกี เทคนคิ หนง่ึ ของการใชค้ วามรเู้ รอื่ ง แถมมากับกล่องขนมซองต่างๆ มีทั้งที่ กนั วา่ “การด์ ภาพสามมติ ิ” แสงเชิงฟิสิกส์มาช่วยสร้างงานศิลปะ เป็นภาพวาดตัวการ์ตูนไปจนถึงรูปภาพ ฉันเป็นหนึ่งในเด็กขี้สงสัย จึงอด และผลผลติ ท่ีไดก้ ็คอื วัสดทุ เี่ รยี กวา่ แผ่น บุคคลจริง และเรามักจะต่ืนเต้นเสมอ ไม่ได้ท่ีจะอยากรู้ว่ามันเกิดข้ึนได้อย่างไร เลนติคูลาร์ (lenticular sheet) ซ่ึงเปน็ เม่ือการ์ดท่ีเราได้มานั้นเป็นการ์ดแบบ และจะเป็นภาพหลอกลวงตาวิธีเดียวกับ หัวใจสำ�คัญของเทคนิคการสร้างภาพ พิเศษที่พอพลิกเอียงไปเอียงมาเพียง สแกนเิ มชนั ไหม ? เคล่ือนไหวท่ีเรียกว่า “ภาพเลนติคูลาร์” หรือภาพสามมติ ทิ ่วี า่ นี้ ! https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 แผน่ เลนตคิ ลู าร์ เปน็ การน�ำ เอาเทคนคิ https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 การผลิตเลนส์มาใช้ ในอุตสาหกรรม https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 การสร้างการ์ดภาพสามมิติท่ีฉันได้พูดถึง https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 ข้างต้น ถ้าใครมีการ์ดนี้อยู่ ให้ลองใช้มือ https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 ลูบไปบนผิวการ์ดก็จะพบว่ามีลักษณะ https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 คลา้ ยลกู คล่นื จ๋ิวๆ ซ่งึ แต่ละลกู คลืน่ หรือ https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 ที่เรียกกันว่าแต่ละ lenticule นั้นอัดขึ้น https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 จากพลาสตกิ โดยออกแบบใหม้ คี วามโคง้ นนู https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 เปน็ ลกู คลนื่ จว๋ิ ๆ ทดี่ า้ นหนา้ เปรยี บเสมอื น https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 เลนสน์ นู ท่วี างเรียงตอ่ กนั เป็นแถว และมี https://www.nstda.or.th/sci2pub/wp-content/uploads/2021/08/3D.mp4 ด้านหลังเลนส์ที่ราบเรียบสำ�หรับแปะลง บนภาพที่เราต้องการนำ�มาทำ�เป็นภาพ คลิกที่ภาพเพือ่ ดกู ารเคลื่อนไหว เคลอื่ นไหว เมอ่ื ลองมาขยายแผ่นเลนส์นี้ ขนึ้ มาใหเ้ หน็ กนั ชดั ๆ เราจะเหน็ ภาพหนา้ ตดั การ์ด์ ภาพสามมิิติิที่่�ฉัันได้้มาจากประเทศญี่่ป� ุ่่�น ของแผ่นเลนติคูลาร์เป็นรูปคร่ึงทรงกลม และในมุมมองลักษณะสามมิติก็เป็น ภาพที่่� 1 แผ่่นเลนติคิ ููลาร์์และภาพวาดขยายแสดงหน้้าตััดของแผ่น่ เลนติิคููลาร์์) ทรงกระบอกผา่ ครง่ึ ซกี วางเรยี งเปน็ ตอ่ กนั ภาพจาก http://www.lenticular.mobi/ เป็นแถวอย่างมีระเบียบ ดังตัวอย่างใน ภาพท่ี 1 โดยแตล่ ะโคง้ ดา้ นบนทเ่ี ราเห็น จะทำ�หน้าที่หักเหแสง ทำ�ให้สายตาเรา โฟกัสตรงไปยังภาพที่อยู่ด้านหลังของ แผ่นเลนส์ ซึ่งภาพท่ีนำ�มาทำ�เป็นภาพ เคล่ือนไหวจะต้องผ่านกระบวนการ ซอยแบ่ง (interlace) เป็นเส้นตามที่ถูก สิงหาคม 2564 45
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ออกแบบมาในแต่ละตำ�แหน่งของการ ภาพที่�่ 2 แสดงกลไกการทำ�ำ งานของ lenticular art โดยเมื่อ� เปลี่�ยนมุมุ มองจาก A ไป B ภาพก็เ็ ปลี่�ยน มองเห็นของผสู้ งั เกต ดังภาพท่ี 2 จากสีแี ดงเป็น็ สีนี ้ำ��ำ เงิิน เส้้นที่่ล� ากลงมาแสดงถึึงแถบที่่ด� วงตาเราเห็็น ณ ตำ�ำ แหน่่งนั้้น� ๆ เมอื่ เราโฟกสั ไปยงั แถบชดุ ทปี่ ระกอบ ขนึ้ เปน็ ภาพหนง่ึ ๆ ในต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ เรากจ็ ะ ภาพที่่� 3 ตััวอย่่างการซอยภาพและการเรียี งแถบภาพ ในกรณีที ี่่ใ� ช้ภ้ าพ 4 ภาพ เห็นและรับรู้ภาพหนึ่งภาพน้ัน (สมมติว่า เปน็ ภาพสแี ดง) แตพ่ อเราเปลย่ี นจดุ โฟกสั ภาพเลนติคูลาร์จึงสามารถประยุกต์ เป็นฉากอย่างล่ืนไหล แต่ถ้าเราเลือกรูป ไปยงั แถบภาพอกี ชดุ หนงึ่ แทน เรากจ็ ะเหน็ ใช้ไดห้ ลายประเภท ขนึ้ อยกู่ บั รปู แบบของ อะไรก็ได้ที่ไม่เกี่ยวข้องกันเลย ก็จะได้ และรับรู้อีกภาพหน่ึง (สมมติว่าเป็นภาพ ชดุ ภาพทเี่ ลอื กมาใหเ้ หมาะกบั จดุ ประสงค์ เป็นประเภทภาพเปลี่ยนผ่าน ที่เปลี่ยน สนี �้ำ เงนิ ) และเมอ่ื เราสลบั มมุ มองกลบั ไป ของงาน สรปุ ไดว้ า่ การท�ำ ภาพเลนตคิ ลู าร์ จากภาพหนง่ึ เปน็ อกี ภาพหนง่ึ อยา่ งฉบั พลนั กลบั มาระหว่างจุด A กบั จุด B กจ็ ะทำ�ให้ นนั้ อาจจะเปน็ ภาพเคลอ่ื นไหวทต่ี อ่ เนอ่ื งกนั ซ่ึงเราเห็นได้บ่อยในพวกนามบัตรหรือ รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงเคล่ือนไหวของ เช่น ภาพคนกำ�ลังควบม้าหรือตัวการ์ตูน แผน่ ปา้ ยโฆษณา ทเ่ี ปลย่ี นภาพวบิ วบั ไปมา ภาพ ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติการหักเห กำ�ลังเดิน ก็จะเห็นภาพท่ีต่อเน่ืองกัน ตามมุมมอง เพ่อื ดงึ ดดู ความสนใจ ของแสงที่มาจำ�กัดการมองเห็นของเรา ในแต่ละมุมมอง จึงทำ�ให้เหลือเพียงแค่ แถบภาพชุดใดชุดหน่ึงเท่าน้ันที่เราจะ รบั รู้ในแตล่ ะครงั้ ของการเพ่งมอง เราจะเห็นได้ว่ากุญแจสำ�คัญของ การทำ�ภาพเลนติคูลาร์ก็คือ ต้องมีภาพ อยา่ งนอ้ ย2ภาพขน้ึ ไปและตอ้ งท�ำ การซอย ภาพเหล่าน้ันออกเป็นแถบเล็กๆ ขนาด เท่าๆ กัน จะกว้างยาวเท่าไรก็ข้ึนอยู่กับ ขนาดและความหนาของแผน่ เลนตคิ ลู าร์ ที่ใช้ รวมถึงมุมการมองของระยะสายตา ที่สัมพันธ์กับระยะโฟกัสของเลนส์ด้วย ซ่ึงตอ้ งอาศยั การคำ�นวณในเชิงฟสิ ิกส์ ภาพที่ 3 แสดงใหเ้ ห็นองค์ประกอบ ของการ์ดเลนติคูลาร์ ในกรณีที่ ใช้ภาพ 4 ภาพ ซึ่งหากภาพทั้งส่ีเป็นภาพท่ี คล้ายคลึงกันเราก็เห็นภาพเลนติคูลาร์ ในลักษณะของภาพมีการเคลื่อนไหว แบบตอ่ เนอื่ ง แตถ่ า้ หากภาพทง้ั สเ่ี ปน็ ภาพ ที่แตกต่างกันโดยส้ินเชิง เราก็จะได้ภาพ เลนตคิ ลู าร์ในลกั ษณะทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง ภาพสลับกันไปมาแบบฉบั พลัน สิงหาคม 2564 46
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพที่�่ 4 แสดงการซอยแบ่่งภาพ A และ B ออกเป็น็ แถบ ภาพที่่� 5 แสดงผลที่่�ได้จ้ ากมุุมมองที่่�ต่่างกันั ของผู้้�สังเกต ณ ตำ�ำ แหน่่งยืืน และวางชนมุมุ กัันในลัักษณะหน้้าจั่ว� ทั้้�งสองด้า้ น ฉันขอยกตัวอย่างเป็นการ์ตูนดัง ยังมีอีกประเภทหน่ึงท่ีเรารู้จักกันดีและ ตาซ้ายและขวามองเห็นภาพที่ต่างกัน ภาพท่ี 4 และ 5 เพือ่ ใหเ้ ข้าใจงา่ ยย่ิงข้นึ เปน็ ทนี่ ยิ ม นนั่ กค็ อื การสรา้ งภาพสามมติ ทิ ี่ แทน โดยเมอ่ื เลนส์นนู จำ�กัดระยะของมุม โดยสมมตวิ า่ มผี สู้ งั เกตภาพสองคนยนื อยู่ เรยี กวา่ stereoscopic effect ซง่ึ หลกั การก็ ที่ต้องเปล่ียนไปเพื่อให้ได้ภาพใหม่ ระยะ ในตำ�แหน่งที่ต่างกัน จากภาพจะเห็น คล้ายกับแว่นตาสามมิติแบบน้ำ�เงิน-แดง หา่ งของการรบั รภู้ าพสองภาพกอ็ ยใู่ นชว่ ง ไดว้ า่ A และ B เหน็ ภาพทีต่ า่ งกนั สน้ิ เชิง ท่ีข้างหน่ึงเป็นเลนส์สีแดง อีกข้างหนึ่ง ระหว่างตาซา้ ยกบั ขวาของเราเอง ด้วยมุมมองท่ีต่างกัน ดูจากในนี้อาจจะ เป็นเลนสส์ ีนำ้�เงนิ เลนส์สองสีนี้จะกรอง เราเลยสามารถหลอกสมองของเรา ดูเหมือนว่ากลไกน้ีมันดูออกง่าย ก็แค่ แสงสีก่อนเข้าสู่ตาแต่ละข้าง ฝั่งสีแดง เพื่อสร้างเอฟเฟกต์สามมิติได้ พอสมอง มองกันคนละด้านเฉยๆ ไม่เหมือนกับใน จะกรองสแี ดงออกใหเ้ หน็ แตภ่ าพสนี �้ำ เงนิ เราได้รับรู้ภาพจากดวงตาสองข้างที่เป็น การ์ดแผ่นเล็กๆ เลยสักนิด แต่นี่ก็เป็น ฝ่ังสีนำ้�เงินก็จะกรองสีน้ำ�เงินออกให้เห็น ภาพท่ีแตกต่างกัน ตอนที่เปลือกสมอง ปรากฏการณ์เดียวกับท่ีเกิดข้ึนบนการ์ด แตภ่ าพสแี ดง บงั คบั ใหต้ าสองขา้ งมองเหน็ สว่ นการเห็น (visual cortex) ประมวลผล เลนตคิ ลู ารแ์ ผน่ จว๋ิ ตา่ งกนั ตรงทมี่ เี จา้ แผน่ ภาพที่ต่างกัน นี่แหละคือหลักการสำ�คัญ รวมภาพทั้งสอง ความแตกต่างระหว่าง เลนตคิ ลู ารท์ �ำ หนา้ เปน็ เลนสน์ นู ชว่ ยโฟกสั ของการมองเหน็ ภาพสามมิติเลย มุมมองในสองภาพจึงก่อให้เกิดความลึก หักเหแสงให้เรามองเห็นเฉพาะภาพใน และด้วยคุณสมบัติของแผ่นเลน- ตื้น เกิดมิติในภาพ ก็เลยได้ภาพสามมิติ มุมน้ันๆ แทนการเดินเปล่ียนตำ�แหน่ง ติคูลาร์ท่ีร่นระยะมุมระหว่างแต่ละภาพ เปน็ ผลลพั ธ์ สังเกตอย่างในภาพการ์ตูนข้างต้น ทำ�ให้ ทำ�ให้เราสร้างภาพสามมิติได้โดยไม่ต้อง หลงั จากเรยี นรหู้ ลกั การท�ำ งานครา่ วๆ กลไกการท�ำ งานถกู ย่อส่วนลง พึ่งแว่นตาพิเศษแบบนั้น แต่เป็นการ ของมันไปแล้ว เราก็คงจะพอเดากันได้ การประยุกต์ใช้เทคนิคเลนติคูลาร์น้ี ใช้เทคนิค parallax barrier มาช่วยให้ ว่าในการสร้างแผ่นเลนติคูลาร์น้ีข้ึนมา สิงหาคม 2564 47
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ยงั ตอ้ งพงึ่ การค�ำ นวณแบบละเอยี ดแมน่ ย�ำ เพอ่ื รบั รองวา่ คณุ ภาพ ของภาพทอี่ อกมาเปน็ ไปตามทกี่ �ำ หนดไว้ เพราะถา้ คลาดเคลอื่ นไป แม้แต่นิดเดียวก็อาจส่งผลให้ภาพบิดเบ้ียวไปหรือไม่เกิดการ เคลือ่ นไหวเอาได้ อย่างที่ฉันได้กล่าวไว้ข้างต้นว่าปัจจัยหลักท่ีเราต้องคำ�นึง ถึงคือ จำ�นวนเลนส์ต่อความยาวของแผ่นเลนติคูลาร์ ท่ีจะเป็น ตวั ก�ำ หนดระยะและช่วงของการมองเห็นผ่านเนอื้ พลาสตกิ ไปยงั รปู ดา้ นลา่ ง มกั จะนบั กนั เปน็ จ�ำ นวนเลนสต์ อ่ นวิ้ (lenses per inch: LPI) ค่าน้ียังแสดงถึงความกว้างของเลนส์แต่ละอันบนแผ่น เลนตคิ ลู าร์ ซง่ึ จะเลอื กอยา่ งไรนน้ั กข็ นึ้ กบั วตั ถปุ ระสงคก์ ารใชด้ ว้ ย อย่างถ้าเราจะสร้างภาพเปล่ียนผ่านหรือภาพเคลื่อนไหว เรา ตอ้ งการใหต้ าสองขา้ งเหน็ ภาพเดยี วกนั แตไ่ มเ่ หมอื นกนั ในแตล่ ะ มุมมอง มุมของเลนส์ควรจะอยู่ที่ประมาณ 45 องศา เพ่ือให้มี ระยะของการมองแต่ละภาพได้กวา้ งขึ้นทัง้ สองตา (ดงั ภาพท่ี 7) ภาพที่่� 6 แสดงการทำำ�งานของแผ่่นเลนติิคููลาร์์เพื่่�อสร้้าง parallax barrier และส่่งผลให้้ตาซ้้ายและขวารัับภาพต่่างกัันในการเกิิดภาพสามมิิติิ ภาพที่่� 7 แสดงการรัับรู้�ภาพจากแผ่่นเลนติคิ ูลู าร์ท์ ี่่�เลนส์์กว้้าง 45 องศา ภาพที่่� 8 แสดงการรับั รู้�ภาพจากแผ่่นเลนติคิ ูลู าร์์ที่่เ� ลนส์์กว้้าง 30 องศา สำำ�หรับั สร้้างภาพเคลื่อ� นไหว สำ�ำ หรัับสร้้างภาพสามมิติ ิิ ขอบคุณุ ข้้อมููลประกอบภาพจาก : https://www.lenstarlenticular.com ขอบคุุณข้้อมูลู ประกอบภาพจาก : https://www.lenstarlenticular.com สิงหาคม 2564 48
สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ในขณะที่ภาพสามมิติ ต้องการให้ตาข้างซ้ายและตาข้าง ขวามองเห็นคนละภาพกัน มุมของเลนส์ก็ควรจะแคบกว่า อยทู่ ่ีประมาณ 30 องศา (ดงั ภาพที่ 8) จะว่าไปแล้วศิลปะท่ีเราเห็นในชีวิตประจำ�วันก็นับได้ว่าเป็น ผลผลิตจากหลักการเชิงวิทยาศาสตร์ที่ช่วยสร้างให้เกิดสิ่งที่ แหวกแนวออกมา จากการสรา้ งภาพเคลอื่ นไหวทคี่ นในอดตี คดิ วา่ เป็นเรื่องท่ีเป็นไปไม่ได้ จนมาถึงตอนน้ีเราก็มีเทคนิคให้เห็นกัน หลากรปู แบบ ถงึ แม้เทคนคิ เลนติคลู ารท์ ่ีฉันนำ�มาเลา่ ในวันนจ้ี ะเป็นเทคนิค เกา่ แกแ่ ละคอ่ นขา้ งซบั ซอ้ น ซง่ึ บางทอี าจจะหาดไู ดย้ ากแลว้ เพราะ ในปจั จบุ นั มเี ทคโนโลยอี น่ื ๆ มาแทนท่ี แตก่ น็ บั เปน็ กา้ วหนง่ึ ของการ พฒั นานวตั กรรมทางศิลปะท่เี หน็ กีท่ ีฉนั ก็อดท่งึ ไมไ่ ด้เลยละ ขอขอบคุณข้อมูลเพ่มิ เตมิ จาก: https://www.lenstarlenticular.com https://www.explainthatstuff.com/lenticularprinting.html http://www.math.brown.edu/tbanchof/Yale/project14/glasses.html ติดิ ตามสาระความรู้�้ วิทิ ยาศาสตร์์ สดใหม่่ ทั้้ง� ข่า่ ว บทความ Podcast และ Facebook Live ได้้ทาง https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://wนwิwติ .fยacสebาoรokส.cาoรmะ/Sวิaทิ raยw์i์tNSTDA สิงหาคม 2564 49
เปดิ โลก นทิ านดาว พงศธร กิจเวช (อัฐ) Facebook: คนดูดาว stargazer ดวงอาทติ ย์ ที่มาของวนั อาทติ ย์ กาลกาลครง้ั หนง่ึ นานมาแลว้ มเี ดก็ หนมุ่ คนหนง่ึ ชอ่ื “เฟตอน (Phaeton)” เพอ่ื นๆ ของเฟตอนทา้ เขาวา่ ถา้ เฟตอนมพี อ่ เปน็ สรุ ยิ เทพ (เทพเจา้ แหง่ ดวงอาทติ ย)์ จรงิ กพ็ สิ จู น์ใหพ้ วกเราเหน็ สิ ภาพดวงอาทิติ ย์์ ถ่่ายจากยานอวกาศ Solar Dynamics Observatory (SDO) ที่่ม� าภาพ NASA : https://sdo.gsfc.nasa.gov/data/ สงิ หาคม 2564 50
Search