Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสำรวจสภาพแวดล้อมด้านอาหาร ในและนอกโรงพยาบาล

การสำรวจสภาพแวดล้อมด้านอาหาร ในและนอกโรงพยาบาล

Published by Thalanglibrary, 2022-11-08 07:03:51

Description: การสำรวจสภาพแวดล้อมด้านอาหาร ในและนอกโรงพยาบาล

Search

Read the Text Version

ในและนอกโรงพยาบาล ลัดดา เหมาะสุวรรณ : สมศรี เจรญิ เกยี รตกิ ลุ นภิ า โรจนร์ ุง่ วศินกุล : เยาวลักษณ์ รูปปทั ม์

ในและนอกโรงพยาบาล ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของส�ำ นกั หอสมุดแหง่ ชาติ -N-a-t-io-n--a-l -L-i-b-r-a-ry--o-f--T-h-a-i-la-n-d--C--a-t-a-lo-g-i-n-g--i-n--P-u-b-l-ic-a-t-io--n--D-a-t-a---------------------------------------------------------- การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล.-- กรงุ เทพฯ : สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี, 2565. 24 หน้า. 1. โรงพยาบาล -- การจัดการ. 2. อาหาร -- การตรวจสอบ. I. ลัดดา เหมาะสุวรรณ. II. ชื่อเรอ่ื ง. 362.11 ISBN 978-616-94071-0-2 ผเู้ ขียน : ลัดดา เหมาะสุวรรณ สมศร ี เจริญเกียรตกิ ุล นิภา โรจนร์ ุง่ วศนิ กลุ เยาวลกั ษณ์ รปู ปัทม์ ออกแบบรูปเลม่ : พัชรนิ ทร์ โพธิ์ทอง (พพี ี มเี ดยี ดไี ซน์ แอนด์ พร้ินท)์ 18 ซอยเนนิ เขา 1 ถนนปุณณกัณฑ ์ ตำ�บลคอหงส์ อำ�เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรศัพท์ 08 8422 5940 ออกแบบปก : วสิ ธวชั แตงอ่อน พมิ พท์ ี่ : บริษัท สหมิตรพัฒนาการพมิ พ์ (1992) จ�ำ กัด, กทม. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 : สิงหาคม 2565 (จำ�นวน 200 เล่ม) จดั ทำ�โดย สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี อาคารพญาไท พลาซ่า เลขที่ 128/107 ชั้น 9 ถนนพญาไท สอบถามข้อมูลได้ท่ี แขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 https://www.nutritionthailand.org/th [email protected] 02-612-0860, 095-935-6460 (สงวนลิขสทิ ธ์ิตามพระราชบญั ญตั ลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537)

คำ�น�ำ โรงพยาบาลเป็นสถานท่ีให้บรกิ ารทัง้ ด้านการส่งเสริม ปอ้ งกนั รกั ษาและฟื้นฟูสขุ ภาพ ในแตล่ ะวันมผี ู้มาใช้ บริการเป็นจำ�นวนมาก ทั้งบุคลากรของโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติ สภาพแวดล้อมด้านอาหารในโรงพยาบาล จึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและสร้างความรอบรู้ด้านอาหาร เพื่อสุขภาพต่อคนจำ�นวนมาก การ ปรบั สภาพแวดลอ้ มของโรงพยาบาลใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเขา้ ถงึ อาหารชสู ขุ ภาพจงึ เปน็ หนง่ึ ในมาตรการทค่ี วรด�ำ เนนิ การ เพือ่ ป้องกนั โรคไมต่ ดิ ต่อเรอื้ รงั แต่ในปัจจุบนั ยงั ขาดขอ้ มูลดา้ นนีข้ องโรงพยาบาลในประเทศไทย โครงการส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ในและบรเิ วณดา้ นหนา้ โรงพยาบาล ในประเทศไทย เป็นโครงการย่อยในโครงการศึกษาแนวโน้มประเด็นปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพื่อพัฒนา นโยบายและสอื่ สารสุขภาวะของสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ที่ไดร้ บั ทุนจากกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) โครงการได้ท�ำ การส�ำ รวจกลุม่ ตวั อย่างโรงพยาบาล ในช่วงตลุ าคม - ธันวาคม 2564 เกบ็ ขอ้ มูลสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในศนู ย์อาหารหรอื โรงอาหาร ร้านขายเครือ่ งดม่ื รา้ นคา้ ปลีก และตู้ขายอาหารอตั โนมตั ิทงั้ ด้านในและบริเวณดา้ นนอกโรงพยาบาล ผู้เขียนขอขอบคุณโรงพยาบาลและเจ้าหน้าท่ีทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูล ขอบคุณทีม ส�ำ รวจขอ้ มลู ทง้ั 4 ภาค และขอบคณุ ทนั ตแพทยห์ ญงิ จนั ทนา อง้ึ ชศู กั ด์ิ ท่ีไดอ้ า่ นและใหค้ วามคดิ เหน็ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ตอ่ การเรยี บเรยี งหนงั สอื เลม่ น้ี ผเู้ ขยี นหวงั วา่ หนงั สอื เลม่ นจี้ ะใหข้ อ้ มลู พนื้ ฐานทเ่ี ปน็ ประโยชนส์ �ำ หรบั การขบั เคลอ่ื น มาตรการและนโยบายเพ่อื พัฒนาโรงพยาบาลให้มีสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารทดี่ ีตอ่ สุขภาพอย่างแทจ้ ริง ลัดดา เหมาะสวุ รรณ : สมศรี เจริญเกยี รตกิ ุล นภิ า โรจน์รุง่ วศินกลุ : เยาวลักษณ์ รูปปัทม์ สิงหาคม 2565 สารบญั 4 5 บทนำ� 6 วัตถปุ ระสงค ์ 7 วิธีวจิ ยั 7 ผลการส�ำ รวจ 9 o ความหวานของเคร่อื งดมื่ 12 o ปริมาณเกลือในอาหาร 13 o ผกั และผลไม ้ 14 o การบริการเครอ่ื งปรงุ กบั น�้ำ ดม่ื และการสอ่ื สารในศนู ย์อาหารหรือโรงอาหาร 15 o ต้ขู ายอาหารอัตโนมตั ิ 19 o ร้านคา้ ปลีก 21 o นโยบายเกี่ยวกบั สภาพแวดล้อมดา้ นอาหารของโรงพยาบาลทเ่ี กี่ยวข้อง 24 กบั การปอ้ งกนั โรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รงั บทสรุปและข้อเสนอแนะ ภาคผนวก

การสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารทีเ่ ก่ยี วข้อง กบั โรคไม่ติดตอ่ เร้ือรังในและบริเวณด้านหน้า โรงพยาบาลในประเทศไทย โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพและสาเหตุของความสูญเสียก่อนวัย อนั ควรในล�ำ ดบั ตน้ ๆ ของประชากรไทย แนวโนม้ ในปจั จบุ นั ยงั ไมล่ ดลงตามเปา้ หมาย ปัจจัยเส่ียงสำ�คัญประการหน่ึงคือ การบริโภคอาหารท่ีมีพลังงานสูงแต่คุณค่า โภชนาการตำ่� การส�ำ รวจพฤติกรรมการบรโิ ภคของไทยทผ่ี า่ นมา พบวา่ ทง้ั ผู้ใหญ่ และเด็กยังบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ และมีพฤติกรรมการบริโภคหวานมาก เคม็ มากและไขมันสงู เปน็ ประจ�ำ การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเข้าถึงอาหารชูสุขภาพเป็นหนึ่งใน มาตรการสำ�คัญที่แนะนำ�สำ�หรับการป้องกันโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง โรงพยาบาลเป็น หน่วยงานที่ใหบ้ ริการทัง้ ด้านการสง่ เสรมิ ป้องกนั รักษาและฟน้ื ฟูสุขภาพ ในแตล่ ะวนั มีผู้มาใช้บริการเป็นจำ�นวนมาก ทั้งบุคลากรของโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติ สภาพแวดล้อมด้านอาหารในโรงพยาบาลจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค อาหารของคนจ�ำ นวนมากและยงั เปน็ การสง่ เสรมิ ความรอบรดู้ า้ นอาหารเพอื่ สขุ ภาพ อกี ด้วย ในปจั จุบันยงั ไมม่ ขี อ้ มูลด้านนขี้ องโรงพยาบาลในประเทศไทย 4 การสำ�รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปญั หาดา้ นอาหารและโภชนาการเพอ่ื พัฒนานโยบายและส่อื สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารทม่ี นี ยั ส�ำ คญั ตอ่ การเกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ทงั้ ภายในและ ดา้ นหนา้ โรงพยาบาลในภมู ภิ าคต่างๆ ของประเทศไทย Conceptual Framework การสำ�รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 5 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปัญหาดา้ นอาหารและโภชนาการเพอ่ื พัฒนานโยบายและสอ่ื สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

วธิ ีวจิ ยั ดำ�เนินการสำ�รวจแบบตัดขวาง โดยสุ่มตัวอย่างโรงพยาบาลในสังกัดสำ�นักปลัดกระทรวง สาธารณสขุ แบบ Stratified multi-stage sampling แบง่ ชนั้ ภมู ติ ามภมู ภิ าคทเี่ ปน็ ทต่ี งั้ ของโรงพยาบาล ออกเป็น 4 ภมู ภิ าค คอื ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคใต้ และแบ่งชั้นภูมิ ประเภทโรงพยาบาลตาม service plan คอื โรงพยาบาลศูนย์ (A) โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ (S) โรงพยาบาลท่ัวไปขนาดเล็ก (M1) โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2) โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (F1) และโรงพยาบาลชมุ ชนขนาดกลาง (F2) จ�ำ นวน 90 โรงพยาบาล แต่เพือ่ ใหม้ ีการกระจายของ โรงพยาบาลระดับตา่ งๆ ตามภูมิภาคท่เี หมาะสม จึงสุม่ ทงั้ สนิ้ 98 โรงพยาบาล ขอบเขตการส�ำ รวจ ในโรงพยาบาล ส�ำ รวจบรเิ วณศนู ยอ์ าหารหรอื โรงอาหาร รา้ นขายเครอื่ งดมื่ ตู้ขายอาหารอัตโนมัติ ร้านค้าปลีก และการส่ือสารความรู้ ส่วนด้านหน้าโรงพยาบาลกำ�หนดให้ สำ�รวจในรัศมีซ้าย-ขวา 50 เมตร ของบริเวณประตูใหญ่หน้าโรงพยาบาล (ฝ่ังโรงพยาบาล) และ ตรงขา้ มประตใู หญห่ นา้ โรงพยาบาลในรศั มซี า้ ย-ขวา 50 เมตร โดยส�ำ รวจรา้ น/แผง/รถเขน็ ขายอาหาร และรา้ นคา้ ปลีก เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจยั คือ แบบสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในโรงพยาบาลและบริเวณ ดา้ นหน้าโรงพยาบาลโดยแบง่ เป็น 2 ชุดหลกั ดังนี้ ชดุ ท่ี 1 แบบสมั ภาษณน์ โยบายเกยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารของโรงพยาบาล: สมั ภาษณ์ ผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาลหรอื ผแู้ ทน เรอื่ งสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารของโรงพยาบาล และนโยบายดา้ นอาหารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ส�ำ หรบั บคุ ลากร และผรู้ ับบริการในโรงพยาบาล ชดุ ท่ี 2 แบบส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในโรงพยาบาลและบรเิ วณดา้ นหนา้ โรงพยาบาล แบ่งเป็น 2 ชุดยอ่ ย คอื การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในโรงพยาบาล และ การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมดา้ นอาหารบริเวณด้านหนา้ โรงพยาบาล ในประเดน็ ต่างๆ ได้แก่ ความหวาน ความเคม็ ผักและผลไม้ และการส่ือสารความรู้ ด�ำ เนินการสำ�รวจระหว่างตุลาคม-ธนั วาคม 2564 6 การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเดน็ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพอ่ื พัฒนานโยบายและสอื่ สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และสำ�นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสุขภาพ

ผลการส�ำ รวจ จากการสำ�รวจ 98 โรงพยาบาล พบโรงพยาบาลท่ีมีศูนย์อาหารหรือโรงอาหารในโรงพยาบาล 63 โรงพยาบาล โดยแบ่งเปน็ แบบมีทีน่ ่งั รับประทาน 51 โรงพยาบาล และแบบซอ้ื กลบั (take away) 12 โรงพยาบาล สำ�หรับด้านหน้าโรงพยาบาล พบ 46 โรงพยาบาลมีแผง/รถเข็นและร้านค้าหน้า โรงพยาบาลฝ่ังเดียวกับโรงพยาบาล ส่วนด้านตรงข้ามโรงพยาบาลพบว่ามีแผง/รถเข็นและร้านค้า 66 โรงพยาบาล โรงพยาบาลที่ไม่มีศนู ยอ์ าหารส่วนใหญ่เป็นโรงพยาบาลชมุ ชนขนาดกลาง (F2) ร้อยละ 62.9 รองลงมาคือโรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (F1) ร้อยละ 20 และโรงพยาบาลชุมชนเพ่ือรับส่งต่อ ผ้ปู ว่ ย (M2) ร้อยละ 17.1 ความหวานของเคร่ืองดม่ื การสำ�รวจพบว่า มีกาแฟดำ�ร้อนจำ�หน่ายในร้านเครื่องดื่มในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารของ โรงพยาบาล 24 แห่ง นอกศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร 32 แห่ง บริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลฝ่ัง โรงพยาบาล 14 แห่ง และฝ่ังตรงข้ามโรงพยาบาล 39 แห่ง และมีกาแฟดำ�เย็นจำ�หน่ายในพื้นที่ สำ�รวจข้างตน้ 30 แห่ง 33 แห่ง 19 แหง่ และ 46 แหง่ ตามล�ำ ดับ จากการตรวจวัดกาแฟดำ�ร้อนและกาแฟดำ�เย็นของร้านเครื่องด่ืมท้ังในโรงพยาบาลและหน้า โรงพยาบาล โดยใช้เครื่องวดั ความหวาน Brix Refractometer พบวา่ รา้ นเครือ่ งดื่มในโรงพยาบาล ที่ขายในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารมีค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำ�ตาลในกาแฟดำ�ทั้งร้อนและเย็นสูงกว่าร้าน ท่อี ย่นู อกศนู ยอ์ าหารหรอื โรงอาหาร (ดังแผนภูมทิ ่ี 1) เมอ่ื อา้ งองิ ตามเกณฑห์ วานนอ้ ยสง่ั ไดข้ องกรมอนามยั ทกี่ �ำ หนดใหม้ ปี รมิ าณน�ำ้ ตาลในเครอื่ งดม่ื น้อยกวา่ หรือเท่ากบั 5 กรมั ต่อ 100 มลิ ลิลติ ร พบว่า รา้ นขายเคร่อื งด่มื เกือบทุกบรเิ วณที่ส�ำ รวจมี ปริมาณนำ้�ตาลในกาแฟดำ�รอ้ นและกาแฟด�ำ เย็นเกนิ เกณฑห์ วานนอ้ ยส่งั ได้ ยกเวน้ รา้ นที่ขายกาแฟดำ� รอ้ นนอกศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร ทมี่ ีปริมาณนำ�้ ตาลตามเกณฑ์หวานน้อยสง่ั ได้มากถงึ รอ้ ยละ 81.2 (ดงั แผนภูมิท่ี 2) การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล 7 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเดน็ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพื่อพัฒนานโยบายและส่อื สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ

แผนภมู ิที่ 1 ค่าเฉลยี่ ปรมิ าณน้ำ�ตาลในกาแฟด�ำ หมายเหตุ เกณฑห์ วานน้อยสงั่ ได้ของกรมอนามยั คือ หวานนอ้ ยรอ้ ยละ 5 มีความหวานเป็น มาตรฐานเดียวกนั ท่ีไมเ่ กนิ 5% โดยมีอัตราส่วนนำ้�ตาลหรือน�้ำ เชื่อม 5 ก. ต่อน�ำ้ 100 มล. แผนภูมทิ ี่ 2 รอ้ ยละของร้านเคร่อื งดื่มตามเกณฑห์ วานน้อยสั่งได้ 8 การสำ�รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปัญหาดา้ นอาหารและโภชนาการเพ่ือพฒั นานโยบายและสื่อสารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ

เม่ือแยกวิเคราะห์เฉพาะกลุ่มร้านเคร่ืองดื่มท่ีลงนามเข้าร่วมนโยบาย “หวานน้อยส่ังได้” ของ กรมอนามัย พบว่า กาแฟดำ�ร้อนเกือบท้ังหมดของร้านเหล่าน้ีมีปริมาณน้ำ�ตาลเป็นไปตามเกณฑ์ หวานน้อยสั่งได้ (ร้อยละ 94.7) แต่กาแฟดำ�เย็นเป็นไปตามเกณฑ์หวานน้อยสั่งได้เพียงร้อยละ 15 (ดังแผนภูมิที่ 3) แผนภูมทิ ี่ 3 ร้อยละของร้านเครอ่ื งดมื่ ทร่ี ่วมลงนามกบั กรมอนามยั จำ�แนกตามเกณฑห์ วานนอ้ ยส่งั ได้ ปริมาณเกลอื ในอาหาร การประเมินปริมาณเกลอื ในอาหารตรวจวัดจากน�้ำ ซปุ ของกว๋ ยเตีย๋ วน�ำ้ ใส (จากรา้ นทงั้ บริเวณ ในและนอกโรงพยาบาล) และนำ้�แกงจืดในร้านข้าวราดแกง (เฉพาะในศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร ในโรงพยาบาล) โดยใช้เครื่องวัดความเค็ม (CHEM Meter) ท่ีแสดงค่าเป็นร้อยละของเกลือ คือ เกลือโซเดยี มคลอไรด์ ในหน่วยมิลลกิ รมั ตอ่ 100 มิลลลิ ิตร เปน็ 3 ระดบั o เค็มนอ้ ย มรี ้อยละของเกลือ < 0.70 o เร่ิมเคม็ มรี อ้ ยละของเกลือ 0.71-0.90 o เคม็ มรี ้อยละของเกลือ > 0.90 การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล 9 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพือ่ พัฒนานโยบายและสื่อสารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ

ในการส�ำ รวจครง้ั นี้ พบว่า ในโรงพยาบาล 37 แห่งมีร้านกว๋ ยเต๋ียวน้ำ�ใสจำ�หน่ายในศูนยอ์ าหาร หรือโรงอาหาร ส่วนบริเวณด้านนอกโรงพยาบาล 11 แห่งมีร้านก๋วยเต๋ียวนำ้�ใสหน้าโรงพยาบาล ฝ่ังเดียวกับโรงพยาบาล และ 34 แห่งมีร้านอยู่ฝั่งตรงข้ามโรงพยาบาล ค่าเฉล่ียร้อยละของเกลือ ในกว๋ ยเตี๋ยวน้ำ�ใสทุกพืน้ ทส่ี �ำ รวจมีคา่ ใกลเ้ คยี งกนั ประมาณร้อยละ 1 (ดังแผนภูมิที่ 4) เมอื่ วเิ คราะห์ ตามเกณฑ์ระดับความเค็มของเครือข่ายลดบริโภคเค็ม พบร้านก๋วยเตี๋ยวน้ำ�ใสในศูนย์อาหารหรือ โรงอาหาร (ร้อยละ 51.4) และร้านหนา้ โรงพยาบาลทั้งฝั่งเดียวกบั โรงพยาบาล (รอ้ ยละ 36.4) และ ฝงั่ ตรงข้าม (ร้อยละ 61.8) มีระดับเค็มมาก ดังแผนภมู ิท่ี 5 แผนภมู ิที่ 4 คา่ เฉลย่ี ของ %เกลือในก๋วยเต๋ียวนำ�้ ใส สำ�หรับความเค็มในน้ำ�แกงจืด ร้านข้าวราดแกงในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารจากโรงพยาบาล 16 แห่งมีค่าเฉล่ียร้อยละของเกลือในนำ้�แกงจืดเท่ากับ 1 เมื่อวิเคราะห์ระดับความเค็มตามเกณฑ์ ของเครือข่ายลดบริโภคเค็ม ร้อยละ 68.8 ของร้านข้าวราดแกงมีความเค็มในน้ำ�แกงจืดอยู่ที่ระดับ เคม็ มาก (ดงั แผนภมู ทิ ี่ 6) 10 การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเด็นปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพอื่ พฒั นานโยบายและสือ่ สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ

แผนภูมทิ ่ี 5 รอ้ ยละของร้านกว๋ ยเตี๋ยวน้�ำ ใสตามเกณฑร์ ะดบั ความเคม็ ของเครอื ขา่ ยลดบรโิ ภคเคม็ แผนภมู ทิ ่ี 6 ร้อยละของรา้ นขา้ วราดแกงในศูนย์อาหารหรอื โรงอาหารตามระดบั ความเค็มของน้�ำ แกงจืด การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 11 โครงการศึกษาแนวโน้มประเด็นปัญหาดา้ นอาหารและโภชนาการเพ่ือพฒั นานโยบายและส่ือสารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

ผกั และผลไม้ o ผัก ประเมินจากสัดส่วนจำ�นวนรายการอาหารที่มีผักเป็นหลักต่อจำ�นวนรายการอาหาร ท้ังหมดของร้านข้าวราดแกงในศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร และนอกโรงพยาบาล และ ส�ำ รวจการจำ�หนา่ ยผกั ในร้านค้าปลีกทงั้ ในและนอกโรงพยาบาล o ผลไม้ ประเมนิ จากการมีผลไมจ้ �ำ หนา่ ยในศนู ย์อาหารหรอื โรงอาหาร และรา้ นค้าปลีกทงั้ ใน และนอกโรงพยาบาล การส�ำ รวจรา้ นขา้ วราดแกงในศนู ยอ์ าหารหรอื โรงอาหารพบวา่ รอ้ ยละ 38.2 ของรา้ นมรี ายการ อาหารทีม่ ผี กั เป็นหลกั อยา่ งน้อยหนื่งในสามของรายการอาหารทัง้ หมด ในขณะท่ีร้อยละ 3 ของร้าน ไม่มีรายการอาหารท่ีมีผักเป็นหลักเลย ส่วนด้านหน้าโรงพยาบาล พบว่า ร้อยละ 42.9 ของร้าน ขา้ วราดแกงฝง่ั เดยี วกับโรงพยาบาล และรอ้ ยละ 47 ของฝง่ั ตรงข้ามโรงพยาบาล มเี มนูผกั อยา่ งนอ้ ย หนง่ื ในสามของเมนทู ง้ั หมด (ดังแผนภูมทิ ี่ 7) แผนภูมทิ ่ี 7 รอ้ ยละของร้านขา้ วราดแกงจำ�แนกตามสัดส่วนของจ�ำ นวนรายการอาหารผกั ตอ่ จำ�นวน รายการอาหารทั้งหมด 12 การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเด็นปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพอื่ พัฒนานโยบายและสอื่ สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

สำ�หรับร้านขายผลไม้สดนั้น พบว่า ร้อยละ 39.2 ของโรงพยาบาลมีร้านขายผลไม้สดอยู่ใน ศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร ส่วนบริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลฝ่ังเดียวกับโรงพยาบาลและฝั่งตรงข้าม พบวา่ มีร้านขายผลไม้สด ร้อยละ 50 และ 24.2 ตามล�ำ ดับ (ดังแผนภูมิที่ 8) แผนภูมทิ ี่ 8 ร้อยละของโรงพยาบาลท่มี ีรา้ นขายผลไมส้ ด การบริการเครือ่ งปรงุ กบั นำ้�ด่มื และการสอื่ สารในศูนย์อาหารหรอื โรงอาหาร จากการส�ำ รวจพบวา่ มกี ารวางเคร่อื งปรงุ บรเิ วณหน้ารา้ นมากท่ีสดุ (ร้อยละ 66.7) รองลงมา คือวางบนโต๊ะรับประทานอาหาร (ร้อยละ 23.5) และวางเครอื่ งปรุงไวท้ ีส่ ่วนกลางนอ้ ยท่สี ดุ (รอ้ ยละ 5.9) ส่วนการจำ�หน่ายหรือบริการนำ้�เปล่าฟรี พบว่า ร้อยละ 56.9 ของศูนย์อาหารหรือโรงอาหาร ให้บริการน�ำ้ เปล่าฟรี และร้อยละ 84.3 มนี ้ำ�เปลา่ จำ�หนา่ ย สำ�หรับการติดป้ายแสดงข้อมูลโภชนาการ พบการติดป้ายแสดงพลังงานของอาหาร ร้อยละ 13.7 ติดปา้ ยแสดงสารอาหาร เชน่ โซเดียม ร้อยละ 11.8 และติดป้ายแสดงปรมิ าณนำ�้ ตาลในอาหาร ร้อยละ 7.8 โรงพยาบาลแต่ละแห่งมีการติดป้ายไม่เหมือนกัน เช่น บางโรงพยาบาลแสดงเฉพาะ พลังงานอาหารอย่างเดียว ในขณะที่บางโรงพยาบาลแสดงพลังงานอาหารและโซเดียมหรือนำ้�ตาล การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 13 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพอื่ พัฒนานโยบายและสือ่ สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และสำ�นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ

โดยมปี า้ ยแสดงขอ้ มลู โภชนาการทกุ รา้ นอาหาร ส�ำ หรบั โรงพยาบาลทแ่ี สดงขอ้ มลู พลงั งานอาหารแยก เป็นคาร์โบไฮเดรต โปรตนี ไขมนั และนำ�้ ตาล ตดิ ปา้ ยแสดงเฉพาะรายการอาหารเมนูชูสุขภาพ ตขู้ ายอาหารอตั โนมัติ โรงพยาบาล 19 แห่ง (รอ้ ยละ 19.4) มตี ูข้ ายอาหารอัตโนมัติ จากการส�ำ รวจอาหารท่ขี ายใน ตู้ขายอาหารอัตโนมัติ ได้แก่ นำ้�เปล่า ผลไม้สด นม นมถั่วเหลือง นมเปรี้ยว น้ำ�ผลไม้ นำ้�อัดลม ชา/กาแฟ/ชานมไข่มุก และขนมขบเคีย้ ว ในโรงพยาบาล 19 แหง่ นี้ พบร้อยละ 73.7 มีน�้ำ เปล่า แต่ มีเพียงร้อยละ 10.5 ที่ขายผลไม้สด ในส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารนม นมถ่ัวเหลือง นมเปร้ียว นำ้�ผลไม้ นำ้�อัดลม ชา/กาแฟ/ชานมไข่มุก และขนมขบเค้ียว ท่ีวางขายในตู้ขายอาหารอัตโนมัติ รอ้ ยละ 47.4 มีสดั ส่วนของผลติ ภณั ฑ์ที่ไดร้ ับสญั ลักษณท์ างเลอื กสุขภาพ (Healthier choice logo) อย่างน้อยครึ่งหน่ึงของผลิตภัณฑ์ทั้งหมด มีตู้ขายอาหารอัตโนมัติร้อยละ 26.3 ที่ไม่มีผลิตภัณฑ์ท่ี ได้รับสัญลักษณ์ทางเลอื กสขุ ภาพขายอยู่ในตู้เลย (แผนภูมทิ ่ี 9) แผนภูมิที่ 9 สัดสว่ นผลติ ภัณฑ์ท่ีมีสัญลกั ษณ์ทางเลือกสุขภาพที่จ�ำ หน่ายในตขู้ ายอาหารอตั โนมัติใน โรงพยาบาล 14 การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปญั หาดา้ นอาหารและโภชนาการเพ่อื พฒั นานโยบายและส่ือสารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

เม่ือแยกวิเคราะห์ข้อมูลตามรายการกลุ่มอาหาร พบว่า กลุ่มอาหารท่ีดีต่อสุขภาพ ได้แก่ นม เป็นกลุ่มอาหารท่ีมีสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพขายในตู้มากท่ีสุด (ร้อยละ 43) รองลงมาคอื น�ำ้ ผลไม้ และนมถัว่ เหลือง ตามล�ำ ดับ ส�ำ หรบั กลมุ่ อาหารท่ีไมด่ ีต่อสขุ ภาพ พบน�ำ้ อดั ลมมสี ัดสว่ นของผลิตภัณฑท์ ี่ได้รับสญั ลกั ษณ์ทางเลอื กสุขภาพขายในตมู้ ากทส่ี ุด (ร้อยละ 31) รองลงมาคอื ชากาแฟปรงุ ส�ำ เร็จ/ชานมไข่มุก และนมเปรย้ี วพรอ้ มด่ืม ตามลำ�ดับ นอกจากนีย้ ังพบว่า ไมม่ ขี นมขบเคยี้ วท่ีไดร้ บั สญั ลักษณ์ทางเลอื กสขุ ภาพขายในต้อู าหารอตั โนมัติเลย ดงั แผนภมู ทิ ่ี 10 แผนภมู ิท่ี 10 สัดส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารท่ีได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพที่จำ�หน่ายในตู้ขาย อาหารอตั โนมตั ิในโรงพยาบาล ร้านคา้ ปลกี รา้ นคา้ ปลกี ในการส�ำ รวจนห้ี มายถงึ รา้ นคา้ สวสั ดกิ ารในโรงพยาบาลและรา้ นสะดวกซอ้ื ส�ำ หรบั ร้านคา้ ปลกี ด้านหน้าโรงพยาบาลแบง่ เป็น ร้านสะดวกซ้อื และร้านค้าปลีกอสิ ระ/โชห่วย การส�ำ รวจน้ี ประเมินร้านค้าปลีกในเร่ืองการติดป้ายสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพ การจำ�หน่ายเครื่องด่ืมชง การ จ�ำ หน่ายผักผลไมส้ ดและผลติ ภัณฑท์ ่ีไดร้ ับสญั ลักษณ์ทางเลอื กสุขภาพ การสำ�รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 15 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปญั หาดา้ นอาหารและโภชนาการเพ่ือพฒั นานโยบายและส่อื สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

การสำ�รวจน้ีพบร้านค้าปลีกในโรงพยาบาล 41 แห่ง (ร้อยละ 41.8) พบร้านสวัสดิการเพียง 2 แห่ง (รอ้ ยละ 4.9) จาก 41 แหง่ ท่ีมปี า้ ยสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพติดอยู่หนา้ หรือในร้าน ไมพ่ บ การติดป้ายทางเลอื กสุขภาพในร้านสะดวกซ้ือในโรงพยาบาล แตพ่ บการติดป้ายสัญลักษณ์นท้ี ี่ร้านค้า ปลีกนอกโรงพยาบาลจ�ำ นวน 1 รา้ น (รอ้ ยละ 2.3) ดังแผนภูมิท่ี 11 แผนภูมิท่ี 11 ร้อยละของโรงพยาบาลมีป้ายสญั ลกั ษณ์ทางเลือกสุขภาพทร่ี ้านค้าปลีก ส�ำ หรบั เคร่อื งดื่มชงทจี่ ำ�หนา่ ยในรา้ นคา้ ปลกี ทง้ั ในและนอกโรงพยาบาล พบเฉพาะรา้ นคา้ ปลีก ประเภทร้านสะดวกซ้ือที่มีการจำ�หน่ายเคร่ืองดื่มที่ได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพ โดยพบในร้าน สะดวกซอื้ ในโรงพยาบาลรอ้ ยละ 61.6 และร้านค้าปลีกนอกโรงพยาบาลร้อยละ 40 นอกจากนี้ในโรง พยาบาลมี “ปา้ ยหวานนอ้ ย” ในร้านสวัสดิการและร้านสะดวกซื้อรอ้ ยละ 11.1 และร้อยละ 16.7 ตาม ล�ำ ดบั ดงั แผนภูมิที่ 12 การจ�ำ หนา่ ยผกั ผลไมส้ ดในรา้ นคา้ ปลกี รา้ นสะดวกซอื้ มกี ารจ�ำ หนา่ ยผกั และผลไมม้ ากทส่ี ดุ โดย ร้อยละ 63 มกี ารขายผลไม้ตดั แต่ง ร้อยละ 48.2 มกี ารขายผลไม้เปน็ ลกู และรอ้ ยละ 25.9 มีผกั สด ขาย ในขณะทรี่ า้ นสวสั ดกิ ารมกี ารขายผลไมต้ ดั แตง่ รอ้ ยละ 26.8 ขายผลไมเ้ ปน็ ลกู รอ้ ยละ 22 และขาย ผกั สดร้อยละ 19.5 ส่วนร้านค้าปลกี นอกโรงพยาบาลพบรอ้ ยละ 25 มกี ารขายผลไมต้ ัดแตง่ ร้อยละ 22.7 มผี กั สดขาย และรอ้ ยละ 20.5 มกี ารขายผลไมเ้ ปน็ ลกู ดงั แผนภมู ิที่ 13 16 การสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเดน็ ปญั หาดา้ นอาหารและโภชนาการเพือ่ พฒั นานโยบายและส่ือสารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ

แผนภูมทิ ี่ 12 ร้อยละของโรงพยาบาลท่ีร้านค้าปลีกมีรายการเคร่ืองดื่มชงท่ีได้รับสัญลักษณ์ Healthier choice logo หรือตดิ ปา้ ยหวานนอ้ ย แผนภมู ทิ ี่ 13 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการจ�ำ หน่ายผกั ผลไม้สดในร้านคา้ ปลกี การส�ำ รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 17 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเดน็ ปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพือ่ พฒั นานโยบายและสอ่ื สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

เม่ือแยกวิเคราะห์ตามประเภทของร้านสะดวกซ้ือ พบว่าร้านสะดวกซ้ือในโรงพยาบาลที่เป็น แฟรนไชส์มีร้อยละของการจำ�หน่ายผักผลไม้สดมากกว่าร้านที่ไม่ใช่แฟรนไชส์ ทั้งผักสดรวมสลัด (รอ้ ยละ 31.3) ผลไมต้ ัดแตง่ (ร้อยละ87.5) และผลไมเ้ ปน็ ลูก (ร้อยละ 62.5) ส่วนด้านนอกโรงพยาบาล พบรา้ นสะดวกซ้ือมรี ้อยละของการจำ�หนา่ ยผกั ผลไมส้ ดมากกว่ารา้ นค้าปลีกอสิ ระหรอื ร้านโชหว่ ย ทง้ั ผกั สดรวมสลดั ผลไมต้ ดั แตง่ และผลไม้เป็นลกู ดังแผนภูมทิ ่ี 14 แผนภมู ิท่ี 14 รอ้ ยละของรา้ นสะดวกซอ้ื ในโรงพยาบาลและรา้ นคา้ ปลกี นอกโรงพยาบาลทมี่ กี ารจ�ำ หนา่ ย ผกั ผลไม้สด จำ�แนกตามประเภทของร้าน การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ท่ีมีสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ในร้านสวัสดิการท่ีได้รับ สญั ลกั ษณ์ทางเลอื กสขุ ภาพมากท่ีสุด 3 อันดบั แรก คอื นมถัว่ เหลือง (รอ้ ยละ 95.1) รองลงมา คือ นม (ร้อยละ 87.8) และบะหมีก่ ่ึงส�ำ เร็จรปู (รอ้ ยละ 48.8) ตามลำ�ดบั ส่วนในร้านสะดวกซือ้ ในโรงพยาบาล และรา้ นคา้ ปลกี นอกโรงพยาบาลมบี ะหมก่ี งึ่ ส�ำ เรจ็ รปู เครอื่ งดม่ื รสชอ็ กโกแลตมอลต์ และขนมขบเคย้ี ว ที่ได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพจำ�หน่ายในร้านมากกว่าร้านสวัสดิการ โดยเฉพาะขนมขบเค้ียวใน รา้ นสวสั ดกิ ารของโรงพยาบาลไมพ่ บผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดร้ บั สญั ลกั ษณท์ างเลอื กสขุ ภาพเลย ดงั แผนภมู ทิ ่ี 15 18 การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเดน็ ปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพ่ือพฒั นานโยบายและสอื่ สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ

แผนภมู ทิ ่ี 15 สดั สว่ นของกลุ่มผลติ ภณั ฑ์อาหารที่มสี ญั ลกั ษณ์ทางเลือกสุขภาพทีจ่ �ำ หน่ายในร้านคา้ ปลีก นโยบายเกย่ี วกบั สภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารของโรงพยาบาลทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั โรคไมต่ ิดต่อเร้อื รัง นโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภยั ซงึ่ เปน็ นโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ ทส่ี นบั สนนุ โรงพยาบาลทกุ แหง่ ใหบ้ รหิ ารจดั การความ ปลอดภัยด้านอาหารแบบบูรณาการและมีประสิทธิภาพเพ่ือให้อาหารในโรงพยาบาลมีความปลอดภัย ครบวงจร การส�ำ รวจครงั้ นพี้ บโรงพยาบาล 95 แหง่ จาก 98 แหง่ (รอ้ ยละ 96.9) มนี โยบายโรงพยาบาล อาหารปลอดภัย มี 2 โรงพยาบาล (รอ้ ยละ 2) เคยมนี โยบายแต่ล้มเลิกไป และมี 1 โรงพยาบาลที่ ไม่เคยมีนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย การสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล 19 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเด็นปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพ่ือพัฒนานโยบายและสอื่ สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ

นโยบายการสง่ เสรมิ บรโิ ภคผกั และผลไม้ โรงพยาบาล 39 แห่ง (รอ้ ยละ 39.8) มนี โยบายการส่งเสรมิ การบริโภคผักและผลไม้โดยการ จัดตลาดนัดเกษตรอินทรยี ์ ตลาดนดั สเี ขยี ว ตลาดผกั ในจำ�นวนนี้ ร้อยละ 54.1 ได้เลกิ ไปแลว้ โดยมี เหตผุ ลจากสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (ร้อยละ 74) อย่างไรกต็ ามร้อยละ 14 ของโรง พยาบาลทล่ี ม้ เลกิ กจิ กรรมไป ไดจ้ ดั จ�ำ หนา่ ยผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ (กลมุ่ line, Facebook) แทน เหตผุ ล อ่นื ท่ีลม้ เลกิ ไดแ้ ก่ ผลผลติ ไม่เพียงพอต่อการจำ�หน่าย สินค้าขายไมด่ ี มกี ารปรับปรุงสถานท่ี และเกิด ปัญหาในองคก์ ร ดงั แผนภมู ิท่ี 16 แผนภมู ิที่ 16 เหตผุ ลของการเลกิ จัดตลาดนัดเกษตร/ผกั อินทรยี ์ ในโรงพยาบาล 20 การสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโนม้ ประเดน็ ปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพอื่ พฒั นานโยบายและสอ่ื สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และส�ำ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ

บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ การส�ำ รวจครงั้ นแี้ สดงวา่ สภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารของโรงพยาบาลสว่ นใหญท่ งั้ ในอาณาบรเิ วณ ของโรงพยาบาลและดา้ นหนา้ โรงพยาบาลยงั ไมเ่ ออ้ื ตอ่ การเขา้ ถงึ อาหารสขุ ภาพทปี่ อ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รัง การลดบริโภคโซเดียมหรือลดบริโภคเค็มเป็นหน่ึงในมาตรการสำ�คัญที่องค์การอนามัยโลก แนะนำ�เพ่ือควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง การสำ�รวจครั้งนี้พบว่าโรงพยาบาลท่ีสำ�รวจมากกว่าครึ่งหนึ่ง ถงึ สองในสามมรี ะดบั ความเคม็ ของน�้ำ ซปุ กว๋ ยเตย๋ี วน�ำ้ ใสและน�ำ้ แกงจดื อยู่ในระดบั เคม็ มากตามเกณฑ์ ของเครือข่ายลดบริโภคเค็ม ไม่ว่าจะเป็นร้านที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือบริเวณด้านหน้าโรงพยาบาล การขบั เคลอ่ื นเพอ่ื ลดเกลอื โซเดยี มในอาหารทง้ั ในและบรเิ วณรอบโรงพยาบาลทผ่ี ปู้ ว่ ยและบคุ ลากร ของโรงพยาบาลเข้าถงึ ได้จึงควรเปน็ มาตรการเรง่ ด่วนอนั ดบั ต้น การบรโิ ภคผกั ผลไมเ้ ปน็ ปจั จยั ปอ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั การส�ำ รวจครง้ั นพ้ี บวา่ ไมถ่ งึ ครง่ึ หนงึ่ ของโรงพยาบาลท่ีร้านข้าวราดแกงมีรายการอาหารท่ีมีผักเป็นหลักอย่างน้อยร้อยละ 30 ของ รายการอาหารทงั้ หมด ศนู ยอ์ าหารหรอื โรงอาหารในโรงพยาบาลบรกิ ารรายการอาหารทมี่ ผี กั เปน็ หลกั ไดต้ ามเกณฑข์ ้างต้นน้อยกวา่ ร้านด้านนอกโรงพยาบาล และรอ้ ยละ 3 ของโรงพยาบาลไมม่ รี ายการ อาหารที่มีผักเป็นหลักบริการในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารเลย การมีร้านขายผลไม้ในศูนย์อาหาร หรือโรงอาหารในโรงพยาบาลเป็นการส่งเสริมการเข้าถึงผลไม้สดหลังการบริโภคอาหารหลัก การ สำ�รวจคร้ังนี้พบว่าไม่ถึงคร่ึงหน่ึงของโรงพยาบาลที่มีร้านขายผลไม้สดอยู่ภายในศูนย์อาหารหรือ โรงอาหาร เพอื่ สง่ เสรมิ การบรโิ ภคผกั ผลไม้ มาตรฐานของศนู ยอ์ าหารหรอื โรงอาหารในโรงพยาบาล ควรมีตวั ชีว้ ัดเก่ยี วกับการบรกิ ารอาหารท่ีมีผกั และการขายผลไมส้ ดดว้ ย การลดบริโภคหวานเป็นประเด็นที่มีการขับเคลื่อนมานานและประสบความสำ�เร็จในการ ผลักดันนโยบายในระดับชาติและระดับพ้ืนที่ การสำ�รวจคร้ังนี้พบว่าโรงพยาบาลร้อยละ 70-80 มี เครื่องดื่มที่ขายในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารของโรงพยาบาลเองไม่ผ่านเกณฑ์ “หวานน้อยสั่งได้” ของกรมอนามัย ร้านเครื่องด่ืมในโรงพยาบาลที่อยู่นอกศูนย์อาหารหรือโรงอาหารและด้านนอก โรงพยาบาลซง่ึ เปน็ รา้ นแฟรนไชสจ์ �ำ หนา่ ยเครอ่ื งดมื่ ทผ่ี า่ นเกณฑ์ไดส้ งู กวา่ แตถ่ งึ กระนนั้ แฟรนไชสท์ ลี่ ง นามร่วมโครงการ “หวานน้อยสั่งได้” กับกรมอนามัยเหล่าน้ีจำ�หน่ายเคร่ืองดื่มรายการกาแฟดำ�เย็น ผ่านเกณฑ์เพียงร้อยละ 15 เทา่ นน้ั ตวั ชว้ี ดั เรื่องความหวานของเคร่อื งด่มื ท่บี รกิ ารในโรงพยาบาล การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล 21 โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเด็นปญั หาดา้ นอาหารและโภชนาการเพอื่ พฒั นานโยบายและสอ่ื สารสขุ ภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และส�ำ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ

และบริเวณรอบโรงพยาบาลท่ีผู้ป่วยและบุคลากรของโรงพยาบาลเข้าถึงได้จึงเป็นอีกบริบทหนึ่ง ที่ต้องขบั เคลื่อนอย่างจริงจงั และควรมกี ารติดตามระดับความหวานของเครอื่ งด่มื ของรา้ นแฟรนไชส์ ท่รี ่วมลงนามกบั กรมอนามยั เพอื่ เปน็ การประกันคณุ ภาพและสรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ของตราสญั ลกั ษณ์ น้ีให้กับผบู้ รโิ ภค ตำ�แหน่งการวางเครื่องปรุงเป็นปัจจัยที่กำ�หนดพฤติกรรมของผู้บริโภค ศูนย์อาหารหรือ โรงอาหารของโรงพยาบาลเพียงร้อยละ 5.9 ท่ีวางเครื่องปรุงไว้ท่ีส่วนกลาง ส่วนการจำ�หน่าย หรือบริการน้ำ�เปล่าฟรีในศูนย์อาหารหรือโรงอาหารของโรงพยาบาลอยู่ในเกณฑ์ท่ีน่าพอใจ การ ส่ือสารคุณค่าโภชนาการของอาหารสามารถช่วยผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกอาหารเพื่อสุขภาพ ทด่ี แี ละตรงกบั ปญั หาสขุ ภาพของตนเอง การส�ำ รวจครง้ั นพี้ บวา่ โรงพยาบาลสว่ นนอ้ ยทมี่ กี ารตดิ ปา้ ย แสดงพลงั งาน สารอาหาร เช่น โซเดียม หรือ น�้ำ ตาลในอาหาร ตขู้ ายอาหารอัตโนมตั ชิ ว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกให้ผู้บริโภคได้เขา้ ถึงอาหาร เครอื่ งดื่มและขนม โดยไม่จำ�กัดเวลา การสำ�รวจคร้ังน้ีพบว่าโรงพยาบาลที่มีตู้ขายอาหารอัตโนมัติส่วนใหญ่มีน้ำ�เปล่า จำ�หน่าย เป็นท่ีน่าสนใจว่าร้อยละ 10.5 จำ�หน่ายผลไม้สดด้วย ในส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์อ่ืน โรงพยาบาลเกือบคร่ึงหนึ่งมีตู้ขายอาหารอัตโนมัติที่มีสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ ได้รับสัญลักษณทาง เลอื กสุขภาพ (Healthier choice logo) อยา่ งน้อยคร่งึ หนึง่ ของผลติ ภณั ฑ์ทงั้ หมด แต่อีกประมาณ หน่ึงในส่ีไม่มีผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพจำ�หน่ายอยู่ในตู้เลย และขนมขบเค้ียว เป็นชนิดเดียวที่ไม่มีผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพวางจำ�หน่ายในตู้ใดๆ เลย ผลการ สำ�รวจนี้บ่งช้ีถึงความเป็นไปได้ ในการกำ�หนดให้ผลิตภัณฑ์ทุกประเภทที่วางจำ�หน่ายในตู้ขายอาหาร อัตโนมัติในโรงพยาบาลมีสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ท่ี ได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพตามเกณฑ์ ข้างต้น รวมท้ังการจำ�หน่ายผลไม้สดในตู้ด้วย ในปัจจุบันที่ตู้ขายอาหารและเครื่องดื่มอัตโนมัติได้ รับความนิยมและมีการเพิ่มขยายการวางบริการในสถานที่ต่างๆ อย่างแพร่หลาย หน่วยงานท่ีกำ�กับ ดูแลควรพิจารณากำ�หนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ที่วางจำ�หน่ายในตู้ขายอาหารและเคร่ืองด่ืม อัตโนมตั ิในสถานพยาบาลอยา่ งเรง่ ด่วน รา้ นคา้ ปลีก การจำ�หน่ายผักผลไม้สด ร้านสะดวกซ้ือท้ังในและนอกโรงพยาบาลมีการจำ�หน่ายผักสดรวม สลดั และผลไมส้ ดทง้ั ผลไมต้ ดั แตง่ กบั ผลไมเ้ ปน็ ลกู มากกวา่ รา้ นสวสั ดกิ ารของโรงพยาบาลและรา้ นคา้ ปลีกอิสระ โดยร้านสะดวกซ้ือในโรงพยาบาลท่ีเป็นแฟรนไชส์มีการจำ�หน่ายผักผลไม้สดมากกว่าร้าน ท่ีไม่ใช่แฟรนไชส์ 22 การส�ำ รวจสภาพแวดล้อมดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโน้มประเด็นปัญหาดา้ นอาหารและโภชนาการเพอ่ื พัฒนานโยบายและสอื่ สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และสำ�นักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ

การจ�ำ หนา่ ยผลติ ภณั ฑท์ ่ีไดร้ บั สญั ลกั ษณท์ างเลอื กสขุ ภาพ รา้ นสะดวกซอื้ ในโรงพยาบาลและ ร้านค้าปลีกนอกโรงพยาบาลมีบะหม่ีกึ่งสำ�เร็จรูป เคร่ืองด่ืมรสช็อกโกแลตมอลต์ และขนมขบเคี้ยว ที่ได้รับสัญลักษณ์ทางเลือกสุขภาพจำ�หน่ายในร้านมากกว่าร้านสวัสดิการ โดยเฉพาะขนมขบเค้ียว ในร้านสวสั ดกิ ารของโรงพยาบาลไม่พบผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดร้ บั สัญลักษณ์ทางเลอื กสุขภาพเลย การส�ำ รวจ ครง้ั นพ้ี บปา้ ยสญั ลกั ษณท์ างเลอื กสขุ ภาพตดิ อยดู่ า้ นหนา้ หรอื ดา้ นในของรา้ นสวสั ดกิ ารของโรงพยาบาล 2 แหง่ (รอ้ ยละ 4.9) จาก 41 แห่งและในร้านค้าปลกี นอกโรงพยาบาล 1 แหง่ แตไ่ ม่พบการแสดง ป้ายนี้ในรา้ นสะดวกซอ้ื ในโรงพยาบาลทง้ั ท่มี กี ารจ�ำ หนา่ ยผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดร้ ับสญั ลกั ษณ์น้ี เครอื่ งดม่ื ชง รา้ นสะดวกซ้ือรอ้ ยละ 61.6 และร้านคา้ ปลกี อสิ ระดา้ นนอกโรงพยาบาลรอ้ ยละ 40 มกี ารจำ�หนา่ ยเครื่องดืม่ ที่ได้รบั สัญลกั ษณท์ างเลอื กสขุ ภาพ ส่วน “ปา้ ยหวานนอ้ ย” พบในรอ้ ยละ 11 ของรา้ นสวัสดิการและร้อยละ 16.7 ของรา้ นสะดวกซอ้ื ท่มี เี ครื่องด่ืมชง ผลการสำ�รวจนี้ช้ีว่าควรมีการกำ�หนดมาตรฐานของอาหารและเครื่องด่ืมท่ีจำ�หน่ายในร้าน สวัสดิการของโรงพยาบาลและร้านสะดวกซื้อท่ีต้ังในโรงพยาบาล เพ่ือเอ้ือต่อการเข้าถึงอาหาร สขุ ภาพของผปู้ ่วยท่ีมารบั บรกิ ารจากโรงพยาบาลและบุคลากรของโรงพยาบาลเอง การสำ�รวจครั้งนี้ ได้เก็บข้อมูลนโยบายสภาพแวดล้อมด้านอาหารของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง กบั การป้องกันโรคไม่ติดต่อเร้ือรงั นโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยเป็นนโยบายของกระทรวง สาธารณสขุ เพอื่ ใหอ้ าหารในโรงพยาบาลมคี วามปลอดภยั ครบวงจร การส�ำ รวจครงั้ นพี้ บวา่ โรงพยาบาล เกอื บทงั้ หมดยงั ด�ำ เนนิ การตามนโยบายนี้ สว่ นนโยบายสง่ เสรมิ บรโิ ภคผกั และผลไมโ้ ดยการจดั ตลาด นัดเกษตรหรือตลาดนัดผักอินทรีย์ การสำ�รวจคร้ังน้ีพบว่าร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลมีนโยบาย และกิจกรรมดังกล่าว แต่ส่วนใหญ่ได้เลิกกิจกรรมในช่วงระบาดของโรคโควิด-19 แต่โรงพยาบาล จ�ำ นวนหน่งึ ไดป้ รบั เปน็ จดั จ�ำ หน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์แทน โดยสรุป แม้ โรงพยาบาลส่วนใหญ่ยังมีสภาพแวดล้อมด้านอาหารท่ีไม่เอื้อต่อการป้องกันโรค ไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั ผลของการส�ำ รวจครงั้ นบี้ ง่ ชวี้ า่ มีโรงพยาบาลจ�ำ นวนไมน่ อ้ ยทส่ี ามารถจดั สภาพแวดลอ้ ม ด้านอาหารท่ีดีต่อสุขภาพตามการประเมินข้างต้นได้ เป็นการสะท้อนว่าการพัฒนาให้ โรงพยาบาลใน ประเทศไทยบรรลเุ ปา้ หมายโรงพยาบาลทมี่ สี ภาพแวดลอ้ มดา้ นอาหารทด่ี ตี อ่ สขุ ภาพเปน็ เรอ่ื งทเี่ ปน็ ไป ได้และควรดำ�เนนิ การอยา่ งจรงิ จงั ตอ่ ไป การสำ�รวจสภาพแวดล้อมดา้ นอาหารในและนอกโรงพยาบาล 23 โครงการศึกษาแนวโนม้ ประเดน็ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการเพือ่ พัฒนานโยบายและสื่อสารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ

ภาคผนวก ทปี่ รึกษา คณะท่ีปรึกษากติ ติมศักดิข์ องสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ ศ.คลินิก ดร.พญ.นลนิ ี จงวิรยิ ะพนั ธุ์ นายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ฯ คณะกรรมการบริหารโครงการ ผูร้ ับผิดชอบโครงการ ศ.พญ.ลัดดา เหมาะสวุ รรณ รศ.ดร.สมศรี เจรญิ เกยี รตกิ ุล น.ส.เยาวลักษณ์ รปู ปทั ม์ คณะท�ำ งานโครงการสำ�รวจสภาพแวดล้อมด้านอาหารที่เก่ยี วขอ้ งกบั โรคไม่ติดต่อเรอื้ รังในและบรเิ วณดา้ นหนา้ โรงพยาบาลในประเทศไทย ศ.พญ.ลดั ดา เหมาะสุวรรณ รศ.ดร.สมศร ี เจริญเกยี รติกลุ รศ.ดร.นภิ า โรจน์รุ่งวศินกุล ทีมสำ�รวจภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ทมี ส�ำ รวจภาคเหนอื รศ.เบญจา มุกตพันธุ ์ อ.ดร.จิตราพร งามพรี ะพงศ ์ ผศ.ดร.รัฐพล ไกรกลาง น.ส.สุทธิดา สุทธเิ ลิศ ดร.พรพมิ ล ชพู านิช น.ส.รชั ฎาภรณ ์ ลน้ิ ฤาษี นายศกั ดา ศรีโสภณ น.ส.ลักษมน บวรภคั วรา น.ส.นาฎจร ภมู ิภักด์ิ ทีมส�ำ รวจภาคใต้ ผศ.ดร.ลักษณา ไชยมงคล ทีมสำ�รวจภาคกลาง น.ส.นรู ีซัน อาแวกะจิ น.ส.เยาวลกั ษณ ์ รปู ปทั ม์ น.ส.ซไู ลลา สามุยามา น.ส.ศวิ พร ตนั ติกลั ชาญ น.ส.ซอลฮี ะห์ ตว่ นยูนุ๊ น.ส.โซไรดา หะยมี ะ 24 การสำ�รวจสภาพแวดลอ้ มด้านอาหารในและนอกโรงพยาบาล โครงการศกึ ษาแนวโนม้ ประเดน็ ปญั หาด้านอาหารและโภชนาการเพื่อพัฒนานโยบายและสือ่ สารสุขภาวะ สมาคมโภชนาการแหง่ ประเทศไทย ฯ และส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook