Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sarawit88_emagazine1

sarawit88_emagazine1

Published by Thalanglibrary, 2020-07-12 04:24:20

Description: sarawit88_emagazine1

Search

Read the Text Version

A Team Bulletin สารบญั Editor Note 2 Cover Story 3 ระเบยี งข่าววิทย-์ เทคโนฯ ไทย 8 ทีป่ รกึ ษา หน้าต่างขา่ ววิทย-์ Sci- สาระ App 19 เทคโนฯ โลก 14 infographic 17 ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รอ้ ยพนั วิทยา 20 สภากาแฟ 24 ห้องภาพ จมุ พล เหมะครี ินทร์ สตั วป์ ่าไทย 28 อ๋อ! มนั เป็น บรรณาธิการผู้พิมพผ์ โู้ ฆษณา อยา่ งน้นี ่เี อง 36 เบ้อื งหลัง กุลประภา นาวานเุ คราะห์ สาระวิทย์ 35 ปลาชนิดใหม่ ในศลิ ป์ บรรณาธิการอำ�นวยการ 29 ของโลก 38 น�ำ ชัย ชวี วิวรรธน์ Sci Quiz 39 คำ�คมนักวทิ ย์ 40 บรรณาธิการบรหิ าร ENdiototer’s ปรทิ ศั น์ เทยี นทอง \"เธอคืออนาคตกาล ผ้สู ืบสานสร้างสังคมไทย\" เน้ือเพลงที่มี กองบรรณาธิการ ความหมายลึกซ้ึงในอดีต ยังหยิบยกนำ�มาใช้ได้ดีในสังคมไทยยุคปัจจุบัน เพราะด้วยความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ขี ับเคลอ่ื นการพัฒนาประเทศและสังคมโลก ส่งผลให้เยาวชนและ ศศธิ ร เทศน์อรรถภาคย์ คนรนุ่ ใหมใ่ นทกุ วนั นี้ คอื พลงั อนั ส�ำ คญั ทจี่ ะพาประเทศไทยใหก้ า้ วไกลไปสคู่ วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทงั้ ดา้ น รกั ฉตั ร เวทีวฒุ าจารย์ สงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื ง วชั ราภรณ์ สนทนา สำ�หรบั “นิตยสารสาระวทิ ย”์ ฉบับท่ี 88 นี้ ทางกองบรรณาธิการได้จัดทำ�บทสมั ภาษณ์พเิ ศษของกล่มุ อาทติ ย์ ลมลู ปล่ัง เยาวชนทีม wonSpace-Y ทีมผู้ชนะเลิศการโครงการ SRPC2020 แข่งขันเขียนโปรแกรมควบคุม วีณา ยศวงั ใจ หุ่นยนต์ Astrobee ผู้ช่วยนักบินอวกาศบนสถานีอวกาศนานาชาติ เราจะได้เห็นถึงมุมมองของเด็ก ภทั รา สปั ปินนั ทน์ ไทยท่ีมีความเก่งในเร่ืองเทคโนโลยี และความสามารถในการร่วมงานกันเป็นทีม ซ่ึงเป็นตัวอย่างท่ีดี นกั เขยี นประจำ� ☺ของเด็กไทยรุ่นใหม่ในการพัฒนาทักษะและความสามารถของตนเอง ขอเชิญติดตามอ่านกันได้ใน รวิศ ทัศคร Cover Story ครับ ปว๋ ย​ อุ่น​ใจ วริศา ใจดี ปรทิ ศั น์ เทียนทอง บรรณาธิการ บรรณาธิการศิลปกรรม จุฬารตั น์ นม่ิ นวล ศลิ ปกรรม เกิดศิริ ขันติกิตติกลุ ผูผ้ ลิต ฝ่ายสร้างสรรคส์ ่ือและผลิตภณั ฑ์ สำ�นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 111 อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดต่อกองบรรณาธิการ โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 อีเมล [email protected]

CSotovreyr ฝ่ายสร้างสรรคส์ อื่ และผลิตภัณฑ์ ถอดประสบการณ์ won-spaceY แชมป์ SRPC 2020 เขยี นโค้ดควบคมุ ห่นุ ยนตอ์ วกาศ เ ท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น เพอ่ื ส่งเสริมให้เยาวชนไทยเกิดความตระหนักถึง เทคโนโลยีที่มีความสำ�คัญต่อมนุษย์ ความสำ�คญั ของเทคโนโลยอี วกาศ และ STEM มาโดยตลอด ทง้ั ในเรอื่ งการยกระดบั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (อว.) เทคโนโลยีต่างๆ เช่น เทคโนโลยี โดยส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ทางการทหาร เทคโนโลยีการส่ือสาร ได้ร่วมกับองค์การสำ�รวจอวกาศญ่ีปุ่น หรือแจ็กซา (Japan เทคโนโลยีการสำ�รวจเพ่ือเฝ้าระวัง Aerospace Exploration Agency: JAXA) องคก์ ารบริหารการบิน ภัยพิบัติบนโลก และเทคโนโลยีเพ่ือ และอวกาศแหง่ ชาตสิ หรฐั หรอื นาซา (National Aeronautics and เ ฝ้ า ร ะ วั ง ภั ย พิ บั ติ จ า ก น อ ก โ ล ก SpaceAdministration:NASA)และหนว่ ยงานพนั ธมติ รจดั โครงการ นอกจากน้ียังมีอีกหลายเทคโนโลยีท่ี แขง่ ขนั Space Flying Robot Programming Challenge 2020 เป็นส่วนตั้งต้นในการพัฒนาต่อยอด (SPRC 2020) เวทที จี่ ะชว่ ยกระตนุ้ เพม่ิ พนู ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ไปสู่เทคโนโลยีที่จะยกระดับการใช้ เทคโนโลยแี ละวศิ วกรรม รวมทงั้ ตอ่ ยอดความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละ ชีวิตของผู้คน เช่น โทรศัพท์มือถือ สรา้ งแรงบันดาลใจด้านเทคโนโลยีอวกาศให้เยาวชน สัญญาณอินเทอร์เน็ต ระบบจีพีเอส won-spaceY คว้าแชมป์ SRPC 2020 และอาหารฟรซี ดราย โครงการแข่งขัน Space Flying Robot Programming Challenge 2020 (SRPC 2020) มโี จทย์การแขง่ ขันใหผ้ ้สู มัคร นายตุุลา ชีีวชาตรีีเกษม, นายสิิรภพ เวสน์์ไพบููลย์์ และนายธีีรโชติิ เมืืองจำำ�นงค์์ 3 กรกฎาคม 2563

CSotovreyr ดร.จุุฬารััตน์์ ตัันประเสริิฐ รองผู้้�อำำ�นวยการ สวทช. กล่่าวแสดงความยิินดีีและมอบรางวััล เขยี นโค้ด (coding) เพ่ือควบคุมแอสโตรบี (Astrobee) ห่นุ ยนต์ หรอื รวิ นักศึกษาชน้ั ปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ผชู้ ว่ ยนกั บนิ อวกาศทปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทจี่ รงิ บนสถานอี วกาศใหซ้ อ่ มแซม มหาวทิ ยาลัย สถานีที่เกิดการชำ�รุดเนื่องจากอุกกาบาตพุ่งชนให้แม่นยำ�และใช้ “ตลอดระยะเวลาการแข่งขันกว่า 3 เดือน รู้สึกประทับใจ เวลาน้อยท่ีสุด การแข่งขันจะตัดสินผลผู้ชนะจากผลการรันโค้ด ในความต้ังใจของเด็กและเยาวชนทุกทีมเป็นอย่างมาก ได้เห็น ทมี่ ขี อ้ ผดิ พลาดนอ้ ยทส่ี ดุ เพราะการท�ำ งานบนอวกาศนน้ั หา้ มพลาด ถึงการผสานศาสตร์ความรู้แบบบูรณาการ และยังได้เห็นถึง ดังวลีที่ Gene Kranz ผู้น�ำ ยาน Apollo 13 ลงจอดบนดวงจนั ทร์ การพัฒนาทกั ษะศตวรรษที่ 21 อย่างการคิดวเิ คราะห์และการ ได้กลา่ วไวว้ ่า “Failure is not an option.” ท�ำ งานรว่ มกนั เปน็ ทมี ทงั้ น้ี ทมี won-spaceY จะไดร้ บั เงนิ รางวลั ดร.จฬุ ารตั น์ ตนั ประเสรฐิ รองผอู้ �ำ นวยการ สวทช. เปดิ เผยวา่ มูลคา่ 25,000 บาท และไดร้ ับโอกาสเขา้ รว่ มการแข่งขนั รอบ การแข่งขัน SPRC 2020 เรมิ่ ขน้ึ ตัง้ แต่เดือนมนี าคม พ.ศ. 2563 ชิงแชมป์เอเชียกับประเทศในเอเชีย-แปซฟิ กิ อกี 6 ประเทศ มีผู้สมัครเข้าแข่งขันทั้งสิ้น 151 ทีม จากนั้นคณะกรรมการได้ คอื สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซยี ออสเตรเลีย สหรัฐอาหรับ คัดเลือกผู้ผ่านเข้ารอบ 20 ทีม เพ่ือเข้าแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ เอมเิ รตส์ และญป่ี นุ่ ที่ Tsukuba Space Center ประเทศญป่ี นุ่ และประกาศผลผู้ชนะเม่ือวันที่ 16 มิถุนายน ที่ผ่านมา โดยผล ในเดือนกนั ยายนน้ี การแขง่ ขนั ผชู้ นะคอื เยาวชน ‘ทมี won-spaceY (วนสเปซวาย)’ สำ�หรับการเขียนโค้ดในรอบชิงแชมป์เอเชียจะแตกต่างจาก ประกอบด้วยนายตุลา ชีวชาตรีเกษม หรือต้ี นักศึกษาช้ันปี รอบแข่งขันชิงแชมป์ประเทศ คือการรันโค้ดจะไม่ได้ทดสอบ ท่ี 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องยนต์ บนเซิร์ฟเวอร์อีกต่อไป แต่จะทดสอบการรันโค้ดด้วยแอสโตรบี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื นายธรี โชติ ทก่ี ำ�ลังปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอยบู่ นสถานีอวกาศจรงิ ๆ โดยมีนักบนิ อวกาศ เมอื งจ�ำ นงค์ หรอื เอริ ธ์ นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 1 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ เปน็ ผคู้ วบคมุ การแขง่ ขนั หวงั วา่ เยาวชนทมี won-spaceY จะไดร้ บั สาขาวิชาวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ประสบการณท์ เี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาผลงานและการท�ำ งาน พระจอมเกล้าพระนครเหนือ และนายสิรภพ เวสน์ไพบูลย์ ในอนาคต” กรกฎาคม 2563 4

แอสโตรบีี (Astrobee) CSotovreyr หนทางแห่งชัยชนะของ won-spaceY การแข่งขัน SRPC 2020 นอกจากจะต้องใช้ทักษะ ความสามารถในการเขยี นโปรแกรมเพอื่ ควบคมุ หนุ่ ยนตแ์ อสโตรบี ให้ทำ�งานได้อย่างแม่นยำ�ไร้ข้อผิดพลาดซึ่งเป็นเร่ืองที่ยากแล้ว ทีม won-spaceY ท่ีรวมตัวเยาวชนต่างสถาบัน ยังต้องฝ่าฟัน ความลำ�บากในการทำ�งานร่วมกันภายใต้สถานการณ์โควิด-19 แตก่ ระนนั้ พวกเขากส็ ามารถผนกึ ก�ำ ลงั น�ำ ความรทู้ มี่ มี าผสานและ ท�ำ งานรว่ มกนั ภายใตข้ อ้ จ�ำ กดั ควา้ ชยั ชนะมาไดอ้ ยา่ งนา่ ประทบั ใจ ริวเล่าว่า “พวกเราเรียนในระดับ ปวช. ท่ีโรงเรียนเตรียม วศิ วกรรมศาสตร์ไทย-เยอรมนั จงึ มโี อกาสไดม้ าพบเจอกนั ในชมรม หุ่นยนต์ของโรงเรียน ที่เปิดไว้ให้พวกเราได้ลองพัฒนาผลงาน ดว้ ยตวั เอง พวกเราทเ่ี รยี นตา่ งสาขาจงึ มปี ระสบการณก์ ารท�ำ งาน ร่วมกัน และช่วยเหลือกันในการแข่งขันต่างๆ ตามความถนัด ทง้ั ดา้ นเครอื่ งกล แมคคาทรอนกิ ส์ การค�ำ นวณ และการเขยี นโคด้ พอการแข่งขันนี้มีการประกาศรับสมัครทางออนไลน์ พวกเราท่ี แอสโตรบีี (Astrobee) กำำ�ลัังปฏิิบััติิหน้้าที่่�บนสถานีีอวกาศ กรกฎาคม 2563 5

CSotovreyr รวิ เอิร์ธ ตี้ สนใจเร่อื งน้ีเปน็ ทุนเดมิ จงึ มารวมตัวกันเป็นทีม น�ำ เอาความถนัด การแบ่งสรรหน้าท่ี การทำ�งานร่วมกันเป็นทีม และการทำ�งาน ท่แี ตกต่างมาเปน็ จุดแข็งในการแข่งขัน” รว่ มกนั ภายใตค้ วามกดดนั ใหม้ คี วามสขุ และสนกุ สนาน เปน็ เรอื่ ง แม้การแข่งขันเพื่อชิงแชมป์ประเทศไทย เยาวชนทุกทีม หลักเลยที่เราไดเ้ รียนรู้จากการแขง่ ขันคร้งั น้ี จะต้องแบกรับความกดกันในการเอาชนะเพื่อนอีก 150 ทีม นอกจากนั้นในระหว่างการแข่งขันยังได้แชร์ความรู้ที่มีกับ แตบ่ รรยากาศในการท�ำ งานของ won-spaceY กลบั ไมต่ ึงเครียด เพื่อนทีมอื่นด้วย ถ้ามีใครถามอะไรมาแล้วเรารู้ก็จะบอกเขาเลย และยังมกี ารแบ่งปนั ความรูก้ บั เพอื่ นทมี อ่ืนอกี ด้วย เม่ือเขานำ�ไปพัฒนาต่อยอดเขาก็อาจนำ�มาแลกเปล่ียนกับเราต่อ ตเ้ี ลา่ วา่ “ทมี เราพยายามทจ่ี ะไมเ่ ครยี ดและกดดนั ซง่ึ กนั และกนั เราเช่ือเรื่อง Give and Take หลังการแข่งขันทั้งหมดจบลง เพราะถ้าเกิดเหตุแบบน้ันจะทำ�ให้คนในทีมไม่อยากพูดคุยหรือ ก็ตั้งใจจะทำ�คลิปอธิบายโค้ดของทีมเราแบบละเอียด เพื่อให้ ท�ำ งานรว่ มกนั ตอ่ เราท�ำ งานเหมอื นมาเลน่ กนั คลา้ ยๆ นดั เตะบอลนะ เพ่ือนๆ ได้เรียนรู้ แต่ตอนนี้ยังเผยแพร่ไม่ได้ เพราะเดี๋ยวทีม (หัวเราะ) ในทีมมีการแบ่งหน้าที่การทำ�งานท่ีชัดเจน คนหนึ่ง ประเทศอืน่ รู้ก่อน (หัวเราะ)” พัฒนาสมการในการควบคมุ การเคล่ือนท่ี คนหนง่ึ ช่วยเสรมิ เรอื่ ง สำ�หรับ won-spaceY การเป็นผู้ชนะในรอบชิงแชมป์ การค�ำ นวณทแี่ มน่ ย�ำ และอกี คนน�ำ สมการท่ีไดม้ าจดั เรยี งเปน็ โคด้ ประเทศไทยยงั ไปไมถ่ งึ จุดหมายท่ีพวกเขาตง้ั ใจไว้ เพราะพวกเขา เพอื่ สง่ั การฮารด์ แวรต์ อ่ แตล่ ะคนท�ำ สว่ นทต่ี นถนดั แลว้ คอ่ ยน�ำ มา รู้สึกว่ายังทำ�ได้ดีกว่านี้ และจะเตรียมความพร้อมให้ดีขึ้นเพ่ือ รวมกนั การนดั คยุ แตล่ ะครง้ั กจ็ ะคยุ วา่ ถงึ ไหนแลว้ ตอ้ งท�ำ อะไรตอ่ แข่งขันกบั อกี 6 ประเทศต่อไป กรกฎาคม 2563 6

CSotovreyr เอิร์ธเล่าว่า “ที่บอกว่าพวกเรายังไปไม่ถึงจุดหมาย เพราะ เรียนมากนัก กลุ่มของเราคิดว่าการท่ีพวกเราเข้าใจทฤษฎีต่างๆ เราคาดหวังว่าผลการทดสอบรันโค้ด 10 รอบ ในการแข่งขันจะ รู้จักเทคโนโลยีใหม่ๆ และสามารถนำ�มาปรับใช้ได้ ก็เพราะ ได้ผลเป็นคลาส A ทั้งหมด แต่ปรากฏว่ามีรอบหนึ่งได้ผลเป็น ประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติและการแข่งขัน รวมถึงจาก คลาส C พวกเราตระหนักดีว่าสำ�หรับการทำ�งานนอกโลก โครงการ SPRC 2020 ด้วย พวกเราแสวงหาโอกาสเหล่านั้นจาก ความผดิ พลาดเปน็ เรอ่ื งทหี่ า้ มเกดิ ขนึ้ เดด็ ขาด จงึ คดิ วา่ ตอนนเ้ี รา ความสนใจด้วยตัวเอง ดังนั้นผมจึงคิดว่าการช้ีชวนให้นักเรียน ไปไดเ้ พยี งประมาณครง่ึ ทางของเปา้ หมาย แตถ่ า้ ดทู คี่ วามตง้ั ใจ นักศึกษาได้นำ�ความรู้ไปลงมือใช้งานจริงเพื่อเสริมความเข้าใจ ในการทำ�งาน พวกเราก็รู้สึกว่าเราทำ�กันค่อนข้างเต็มท่ีแล้ว และต่อยอดความร้สู ำ�คัญมาก” แมจ้ ะมบี างสว่ นทพ่ี ฒั นาเพอ่ื ปดิ ชอ่ งโหวใ่ นรอบชงิ แชมปป์ ระเทศ สดุ ทา้ ยทมี won-spaceY ไดฝ้ ากข้อคิดถงึ เพ่ือนๆ และน้องๆ ไมท่ นั แตก่ ย็ งั มโี อกาสไดน้ �ำ ไปใช้ในรอบชงิ แชมปเ์ อเชยี ชว่ งเตรยี ม ที่อยู่ในช่วงของการค้นหาเส้นทางการเรียนและการทำ�งาน ความพร้อม 2 เดือนน้ี พวกเราแบ่งกันไปหาความรู้เพิ่มเติม ของตัวเอง ซึ่งเม่ือทางแจ็กซาเปิดให้ทดลองรันโค้ดในเซิร์ฟเวอร์อีกคร้ัง ตี้สรุปข้อคิดของทีมไว้ว่า “อยากให้ค้นหาสิ่งท่ีตนเองสนใจ ก็จะนำ�ความรู้ที่ได้มารวมกันแล้วเขียนโค้ดเพื่อนำ�ไปทดสอบต่อ แล้วทดลองทำ�มันจริงๆ หากทำ�แล้วยังไม่ชอบอย่างน้อยก็จะ การทำ�งานด้วยกันยงั มีความสขุ และสนุกเหมือนเดิม” ไดร้ วู้ า่ ยงั ไม่ใช่ อยา่ งตวั พวกเราเองรวู้ า่ ชอบอะไร ความสนใจจงึ พาเราไปสกู่ ารคน้ หาตอ่ ยอดสงิ่ ตา่ งๆ หากสงิ่ ทเ่ี ราชอบผปู้ กครอง ‘เรยี นรูแ้ ละปฏบิ ตั ิจรงิ ’ แนวคดิ หรอื คนรอบตวั คดิ วา่ ยงั ไมใ่ ชส่ งิ่ ทเี่ หมาะสม ใหล้ องเปดิ ใจคยุ กนั ถงึ won-spaceY ความสำ�คัญและข้อดีของสายงานน้ัน หรือหากใครยังไม่รู้ว่าส่ิง นอกจากเร่ืองการแข่งขันแล้ว won-spaceY ยังได้สะท้อน ท่ีสนใจคืออะไรก็ให้ลองค้นหาเป้าหมายด้วยตัวเอง ลองออก ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี อง นอกกรอบ การไดล้ องท�ำ สิ่งต่างๆ จะเปน็ ประโยชน์อย่างมากใน พวกเขาในฐานะนกั ศกึ ษาทกี่ �ำ ลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรไี วอ้ ยา่ ง การค้นหาความสนใจ น่าสนใจอีกด้วย ก็อยากให้ผู้ ใหญ่ให้การสนับสนุนทั้งเรื่องการพัฒนา เอิร์ธสะท้อนว่า “จากประสบการณ์ของผมท่ีผ่านมา ผมคิด การศึกษา การชี้นำ�ให้เห็นว่าแต่ละสายงานมีความน่าสนใจ วา่ การทอี่ าจารยอ์ ธบิ ายทฤษฎใี นหอ้ งเรยี นโดยไมไ่ ดบ้ อกเปา้ หมาย และมีประโยชน์ต่อประเทศอย่างไร รวมถึงอยากให้เพ่ิมพื้นท่ี ของการเรียนรู้ รวมถึงให้โอกาสนักศึกษาได้นำ�ทฤษฎีที่เรียนไป ทดลองปฏบิ ตั งิ านและแขง่ ขนั เพอื่ คน้ หาความสนใจและพฒั นา ทดลองใช้น้อย ทำ�ให้ผมและเพ่ือนอีกหลายคนประยุกต์ใช้ส่ิงที่ ศักยภาพของตนเอง” เรียนมาไม่เป็น ส่งผลให้ไม่อยากเรียนในห้องเรียน หลายครั้ง ทงั้ หมดนค้ี อื ประสบการณก์ ารแขง่ ขนั และขอ้ คดิ ดา้ นการศกึ ษา เราจำ�เนื้อหาเพ่ือเอาตัวรอดในการสอบ แต่ไม่ได้เข้าใจเร่ือง อนั นา่ สนใจของเยาวชนทมี won-spaceY โดยหลงั จากน้ีในเดอื น เหลา่ นน้ั จรงิ ๆ สง่ิ ทเ่ี รยี นรจู้ ากหอ้ งเรยี นจงึ น�ำ มาใชป้ ระโยชน์ไดน้ อ้ ย กนั ยายน ทมี won-spaceY จะเดนิ ทางไปแขง่ ขนั ตอ่ รอบชงิ แชมป์ ดังนั้นพวกผมอยากให้อาจารย์อธิบายก่อนจะสอนแต่ละเร่ือง เอเชียที่ Tsukuba Space Center ประเทศญ่ีปุ่น เช่ือว่าความ ว่าเปา้ หมายในการเรียนคอื อะไร ช้ีให้เห็นว่าแต่ละเร่ืองมคี วาม มุ่งม่ันต้ังใจและความรักในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองของ สัมพันธ์กันอย่างไรในการใช้งานจริง และจัดสรรเวลาการสอน พวกเขา จะเป็นแรงผลักให้พวกเขาสามารถพัฒนาโค้ดได้อย่าง ใหน้ กั ศึกษาไดเ้ รียนร้จู ากการปฏิบตั มิ ากขึ้น” ทตี่ ัง้ หวงั ไว้ และไดเ้ กบ็ เกยี่ วความรแู้ ละประสบการณ์อย่างเตม็ ที่ รวิ เสรมิ วา่ “อยากใหม้ กี ารอปั เดตเทคโนโลยใี หมๆ่ ดว้ ย เพราะ เพอื่ เปน็ ก�ำ ลังสำ�คัญในการพัฒนาประเทศไทยต่อไป มหี ลายเทคโนโลยที ี่ก้าวไกลไปแลว้ แตย่ ังไมม่ ีการกล่าวถึงในชน้ั 7 กรกฎาคม 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ‘MagikTuch’ ปมุ่ กดลฟิ ตไ์ รส้ มั ผสั นวตั กรรมรบั ‘นวิ นอรม์ อล’ การระบาดของโรคโควิด-19 ท�ำ ให้ ดร.ศิิวรัักษ์์ ศิิวโมกษธรรม ผู้้�อำำ�นวยการศููนย์์เทคโนโลยีีเพื่่�อความมั่่�นคง ‘หน้ากากอนามัย’ กลายเป็น ของประเทศและการประยุุกต์์เชิิงพาณิิชย์์ สวทช. ของใช้จำ�เป็นที่ทุกคนต้องมีติดตัวไปทุกที่ และ ยังกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ‘นวัตกรรม’ เพื่อลด การแพร่กระจายของเช้ือโรคและรองรับชีวิตวิถีใหม่ หรือ ‘นิวนอรม์ อล’ (new normal) ดงั เชน่ นวตั กรรม ปมุ่ กดลฟิ ต์ไรส้ มั ผสั หรอื ‘MagikTuch’ ผลงานนกั วจิ ยั จากศูนย์เทคโนโลยีเพ่ือความมั่นคงของประเทศและ การประยกุ ตเ์ ชิงพาณชิ ย์ สำ�นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) ดร.ศวิ รกั ษ์ ศิวโมกษธรรม ผอู้ �ำ นวยการศูนย์เทคโนโลยี เพื่อความมั่นคงของประเทศและการประยุกต์เชิงพาณิชย์ สวทช. กล่าวว่า ด้วยปัจจุบันมีโรคระบาดเกดิ ข้นึ จ�ำ นวนมาก และหลายโรคสามารถติดต่อกันผ่านการสัมผัสสารคัดหลั่ง ของผปู้ ว่ ยทอี่ ยบู่ นอปุ กรณ์ สง่ิ ของตา่ งๆ ทม่ี คี นใชง้ านรว่ มกนั เชน่ ทีจ่ บั ประตู ปุ่มกดลิฟต์โดยสาร กลายเป็นแหลง่ สะสม ของเช้ือโรค และน�ำ พาไปสู่คนท่ีสัมผัสต่อๆ กัน ดังนั้นการ ลดการสัมผัสจุดเสย่ี งเหล่านี้ สามารถช่วยลดโอกาสที่จะรบั ไดเ้ ชื้อโรค และลดการแพร่กระจายของโรคติดต่อได้ “ทมี วจิ ยั ไดศ้ กึ ษาขอ้ มลู ความเสย่ี งในการรบั เชอ้ื โรคจาก สถานท่ีต่างๆ และเล็งเห็นว่าลิฟต์โดยสารเป็นหนึ่งในระบบ ขนสง่ ทม่ี ผี คู้ นใชร้ ว่ มกนั จ�ำ นวนมาก ทงั้ ในหนว่ ยงาน โรงแรม กรกฎาคม 2563 8

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ห้างสรรพสินคา้ สถานพยาบาล และบริษทั และสง่ั การลฟิ ต์โดยอตั โนมตั ิ ท�ำ ใหผ้ ู้ใชล้ ฟิ ต์ ทง้ั นที้ มี วจิ ยั มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน ดังนั้นทุกคนล้วนมีโอกาสโดยสารลิฟต์ ปลอดภัยจากการติดเช้ือโรคจากการสัมผัส ทงั้ รฐั และเอกชน ขณะนี้ก�ำ ลงั ด�ำ เนินการใน และสัมผัสปุ่มกดลิฟต์ จึงทำ�ให้ทีมวิจัยเกิด และช่วยลดการแพรก่ ระจายเชื้อโรคในลฟิ ต์ การนำ� MagikTuch ไปติดตั้งและทดสอบ แนวคดิ พฒั นา นวตั กรรมปมุ่ กดลฟิ ต์ไรส้ มั ผสั ด้วย นอกจากน้ันชุดอุปกรณ์ MagikTuch การใช้งานในโรงพยาบาลภาครัฐ อาทิ หรือ MagikTuch เพื่อเป็นเทคโนโลยีท่ีช่วย ยังติดตั้งง่าย สามารถติดต้ังเข้าไปบนลิฟต์ โรงพยาบาลศริ ริ าช (ทดสอบบางอาคาร) และ เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตประจำ�วัน ตัวเดิมโดยไม่ต้องเจาะตัวลิฟต์ จึงไม่ส่งผล ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค ลดการเป็นแหล่งสะสมของเชือ้ โรค” กระทบตอ่ สถานะของระบบประกนั จากบรษิ ทั เมืองทองธานี เพ่ือลดการสัมผัสเช้ือไวรัส จุดเด่นของ MagikTuch คือระบบการ ผู้ติดต้ังและผู้ดูแลลิฟต์ อีกท้ังออกแบบให้ ก่อโรคโควิด-19 สร้างความม่ันใจและความ ทำ�งานแบบไร้สมั ผสั ส่งั การดว้ ยเซนเซอร์ มี รองรับจำ�นวนชั้นท่ีแตกต่างกันตามสถานที่ ปลอดภัยให้กับผู้ใชล้ ิฟต์โดยสาร วิธีใช้งานง่ายเพียงนำ�หลังมือบังหน้าปุ่มเลข ที่ติดต้ังได้ รวมท้ังรองรับระบบการทำ�งาน ช้ันที่ต้องการในระยะห่าง 2-3 เซนติเมตร ด้วยระบบไฟฟ้าท้ังกระแสสลับ (AC) และ ผ้สู นใจสามารถติดต่อได้ที่ สวทช. เซนเซอรจ์ ะตรวจจบั ขอ้ มลู ชน้ั ทตี่ อ้ งการเลอื ก กระแสตรง (DC) โทรศัพท์ 02 564 6900 ต่อ 2521 อีเมล [email protected] ทม่ี า >> www.nstda.or.th/th/news/13332-magiktuchnews 9 กรกฎาคม 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย สวทช.-จสิ ดา้ -JAXA ผนกึ ก�ำ ลงั ปลกู ผลกึ โปรตนี บนสถานอี วกาศส�ำ เรจ็ ประเทศไทยประสบความ โปรตนี ในอวกาศเพอ่ื พฒั นายาตา้ นมาลาเรยี ” ในอวกาศจะได้ตัวผลึกท่ีมีคุณภาพที่ดีกว่า สำ�เร็จในการปลูกผลึก เปิดเผยว่า การตกผลึกโปรตนี มคี วามส�ำ คญั การตกผลึกโปรตีนบนพื้นผิวโลก เพราะใน โปรตีนบนสถานีอวกาศนานาชาติ จาก ตรงท่ีเราจะเห็นโครงสร้างของตัวโปรตีน อวกาศไม่มีแรงโน้มถ่วง ตัวผลึกก็สามารถ งานวิจัย “การทดลองปลูกผลึกโปรตีนใน ที่เป็นเป้าหมายของยาอย่างชัดเจน ซึ่งจะ สร้างได้แบบธรรมชาติที่สุดในตัวของมันเอง อวกาศเพื่อพัฒนายาต้านมาลาเรีย” ซ่ึงได้ ท�ำ ใหเ้ ราสามารถออกแบบตวั ยาทจ่ี ะสามารถ และผลการตกผลกึ ครงั้ นกี้ อ็ อกมาดเี กนิ คาด รับคัดเลือกจากโครงการวิจัยวิทยาศาสตร์ จับกับโปรตีนตัวนี้ได้ดีย่ิงข้ึน เม่ือเราเห็นตัว ผ ลึ ก โ ป ร ตี น ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ใ น อวกาศและการทดลองในอวกาศ (National โครงสร้างที่ชัดเจน เปรียบเสมือนเราเห็น สถานีอวกาศนานาชาตินั้นได้ถูกส่งต่อให้แก่ Space Exploration, NSE) สำ�นักงาน ตัวแม่กุญแจแล้วเราหาลูกกุญแจไปจับเพ่ือ องคก์ ารสำ�รวจอวกาศญ่ีปุ่น หรอื JAXA นำ� พฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ให้มันเหมาะสม โดยการตกผลึกโปรตีน ไปทดลองต่อโดยการยิงแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) หรือจิสด้า ให้ทำ�การ ทดลองในสถานีอวกาศนานาชาติ หรือ ISS เม่ือช่วงกลางปีที่ผ่านมา จนกระท่ัง วนั นี้ งานวจิ ยั ดงั กลา่ วส�ำ เรจ็ ไดผ้ ลกึ โปรตนี ท่ีมีคุณภาพพร้อมใช้ ในการศึกษาต่อเพ่ือ การออกแบบยาตา้ นมาลาเรียต่อไป ดร.ชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์ นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) หัวหนา้ โครงการวจิ ยั “การทดลองปลกู ผลึก กรกฎาคม 2563 10

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ดร.ชััยรััตน์์ อุุทััยพิิบููลย์์ (ซ้้าย) ดร.อััมริินทร์์ พิิมพ์์หนูู (ขวา) เพอ่ื ดกู ารกระเจงิ ของแสง แลว้ เอาขอ้ มลู การ กระเจงิ ของแสงมาค�ำ นวณสรา้ งเปน็ โครงสรา้ ง ภาพผลึึกโปรตีีนโปรตีีนที่่�เกิิดจากการทดลองปลููกบนสถานีีอวกาศนานาชาติิ ภายใต้้โครงการวิิจััย 3 มิติของโปรตีนในคอมพิวเตอร์ เพ่ือดูว่า “การทดลองปลููกผลึึกโปรตีีนในอวกาศเพื่่�อพััฒนายาต้้านมาลาเรีีย” หน้าตาเป็นอย่างไร มีช่องไหนท่ีสามารถ นำ�มาใช้ออกแบบสารเคมี (ยา) ที่สามารถ จับกับโปรตีนตัวนี้ได้ดี โดยโปรตีนตัวน้ีมี ความสำ�คัญต่อเชื้อมาลาเรีย ถ้าเรายับยั้ง การท�ำ งานของโปรตนี ตวั นี้ไดเ้ ชอ้ื มาลาเรยี ก็ จะตาย ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทตี่ อ้ งด�ำ เนนิ การวจิ ยั ตอ่ ไป และจดุ มงุ่ หมายสดุ ทา้ ยของงานวจิ ยั นคี้ อื การ หายาตา้ น “มาลาเรีย” ทั้งน้ีก่อนส่งโปรตีนไปยังสถานีอวกาศ นานาชาติ JAXA ไดด้ �ำ เนนิ การเตมิ สารละลาย โปรตีน ณ ฐานยงิ จรวด ศนู ย์อวกาศเคนเนดี รฐั ฟลอรดิ า สหรฐั อเมรกิ า กอ่ นทจี่ ะท�ำ การสง่ เพยี งไมก่ ชี่ วั่ โมง เพอ่ื ปอ้ งกนั การท�ำ ปฏกิ ริ ยิ า ก่อนของสสาร จึงทำ�ให้ได้ผลึกอวกาศที่มี คุณภาพและสมบูรณม์ าก โดย JAXA จะส่ง ข้อมูลการกระเจิงของแสงและผลการฉาย แสงซินโครตรอนกับโครงสร้างผลึกโปรตีน อวกาศใหจ้ ิสด้าภายในเดือนกรกฎาคมนี้ ดร.อัมรนิ ทร์ พมิ พ์หนู หวั หน้าโครงการ NSE ของจิสด้า กล่าวว่า การทดลองดัง กล่าวของ ดร.ชัยรัตน์ฯ แม้ว่าจะยังไม่ สามารถพัฒนาเป็นตัวยาต้านโรคมาลาเรีย ได้ในตอนนี้ แต่เชื่อมั่นเป็นอย่างย่ิงว่าจะ สามารถพฒั นาไดต้ อ่ ไปในทสี่ ุด เนื่องจากวา่ ข้อมูลผลึกโปรตีนจากอวกาศท่ีได้มาน้ันมี ความสำ�คัญท่ีสุดในการพัฒนาตัวยา และนี่ เป็นเหตุผลท่ีโครงการ NSE ของจิสด้า ได้ คัดเลือกเอางานวิจัยดังกล่าวส่งไปทดลอง ในอวกาศ ที่มา >> gistda.or.th/main/th/node/3895 >> gistda.or.th/main/th/node/3916 11 กรกฎาคม 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย สรุ ิยปุ ราคาบางสว่ นเหนอื ฟา้ เมืองไทย กรกฎาคม 2563 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) เผย ภาพปรากฏการณส์ รุ ิยุปราคาเหนือฟา้ เมอื งไทย ชว่ งบา่ ยวนั ท่ี 21 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 จาก เชยี งใหม่ ฉะเชงิ เทรา โคราช และสงขลา ภาคเหนือของไทยดวงอาทิตย์ถูกบังเยอะสุดกว่าร้อยละ 60 มี ชาวไทยให้ความสนใจติดตามปรากฏการณ์กนั ท่วั ประเทศ นายศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทาง ดาราศาสตร์ สดร. เผยว่าปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคาทเ่ี กิดข้นึ ในวนั ท่ี 21 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 เปน็ “สรุ ยิ ปุ ราคาวงแหวน” แนวคราสวงแหวน พาดผา่ นในประเทศไทยเห็นเปน็ “สุรยิ ปุ ราคาบางสว่ น” ในชว่ งเวลา ประมาณ13:00-16:10 น. ตามเวลาประเทศไทยดวงจันทร์บดบัง ดวงอาทติ ยเ์ พยี งบางสว่ นเวา้ แหวง่ มากทสี่ ดุ เวลาประมาณ 14:49 น. 12

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย (เวลา ณ กรงุ เทพมหานคร) สามารถสงั เกต ได้ทุกภูมิภาคของไทย แต่ละภูมิภาคจะมอง เหน็ ดวงอาทติ ยเ์ วา้ แหวง่ แตกตา่ งกนั ไป ดวง อาทิตย์ถูกบดบังมากท่ีสุดบริเวณภาคเหนือ ทอ่ี �ำ เภอแมส่ าย จงั หวัดเชยี งราย ประมาณ ร้อยละ 63 ส่วนภาคใต้ท่ีอำ�เภอเบตง จงั หวัดยะลา ดวงอาทติ ยถ์ ูกบดบงั น้อยทส่ี ดุ เพยี งรอ้ ยละ 16 และ กรุงเทพมหานคร ดวง อาทติ ยถ์ กู บดบังประมาณร้อยละ 40 ปรากฏการณ์สุริยุปราคาบางส่วนเหนือ ฟ้าเมืองไทยในครัง้ น้ี มปี ระชาชนชาวไทยให้ ความสนใจตดิ ตามชมกนั อยา่ งคกึ คกั เหน็ ได้ ชดั ในสอ่ื โซเชยี ลมเี ดยี ทกุ ชอ่ งทาง ตา่ งพากนั แชร์ภาพบรรยากาศการสังเกตการณ์ทั้ง แบบทางตรงและทางอ้อม และรวมถึงภาพ ดวงอาทิตย์ท่ีเว้าแหว่งกันเป็นจำ�นวนมาก นอกจากน้ี สดร. ยังจัดถ่ายทอดสด สุริยุปราคาเหนือฟ้าเมืองไทยตลอดท้ัง ปรากฏการณ์ ต้ังแต่เวลา 13.00-16.10 น. รวมทั้งได้นำ�กล้องโทรทรรศน์สำ�หรับดูดวง อาทิตย์โดยเฉพาะ และกล้องโทรทรรศน์ ติดแผ่นกรองแสงดวงอาทิตย์ รวมถึง อุปกรณ์ดูดวงอาทิตย์แบบทางอ้อม มาให้ บริการประชาชนได้ร่วมชมปรากฏการณ์ “สรุ ยิ ปุ ราคาบางสว่ น” ณ อทุ ยานดาราศาสตร์ สิรนิ ธร อ�ำ เภอแมร่ ิม จังหวัดเชียงใหม่ หอดู ดาวเฉลมิ พระเกยี รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา และนครราชสีมา สร้างความ ประทับใจให้แกป่ ระชาชนเปน็ จ�ำ นวนมาก สำ�หรับปรากฏการณ์สุริยุปราคาคร้ัง ตอ่ ไปทส่ี ามารถสงั เกตไดท้ ว่ั ประเทศไทย คอื สุริยุปราคาบางส่วนที่จะเกิดขึ้นในวันท่ี 2 สงิ หาคม พ.ศ. 2570 ทมี่ า >> www.narit.or.th 13 กรกฎาคม 2563

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก คน้ พบอนภุ าค \"แอกซอิ อน\" ท่ที ฤษฎฟี ิสิกส์ท�ำ นายไวเ้ มอ่ื 43 ปกี ่อน 18 มถิ ุนายน 2020 โครงการทดลองเพ่ือคน้ หาสสารมืด \"ซนี อนวันท\"ี (Xenon1T) ได้ค้นพบสญั ญาณทีอ่ าจชีถ้ ึง การปรากฏตัวครั้งแรกของอนุภาคแอกซิออน (Axion) ซึ่งทฤษฎีฟิสิกส์ได้ทำ�นายไว้ว่าเป็น อนุภาคทม่ี อี ยู่จรงิ ตง้ั แตเ่ ม่ือ 43 ปกี ่อน และนา่ จะเป็นอนภุ าคทม่ี ีความเก่ยี วข้องกบั สสารมืด ทีมนกั วทิ ยาศาสตรน์ านาชาตเิ ผยแพรผ่ ลวเิ คราะหท์ ่ี มคี วามสมดลุ แต่ไมน่ านมาน้ีนักวทิ ยาศาสตรเ์ ริม่ ใหค้ วามสนใจว่า ได้จากการทดลองดว้ ยอปุ กรณ์ Xenon1T ซึง่ ตดิ มันอาจเป็นองค์ประกอบท่ีให้กำ�เนิดสสารมืด นอกเหนือไปจาก ตงั้ ทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารแหง่ ชาตแิ กรนซาสโซของอติ าลรี ะหวา่ งปี พ.ศ. อนภุ าค WIMPs ซ่ึงไดท้ ำ�การศึกษาทดลองกนั มากอ่ นหน้านี้ 2559-2561 โดยระบุว่าพบ \"เหตุการณ\"์ ท่ีอนุภาคตา่ งๆ จากนอก ผลวจิ ยั ซงึ่ เผยแพรใ่ นคลงั เอกสารวชิ าการออนไลน์ arXiv.org โลกพงุ่ ผา่ นเขา้ มาท�ำ ปฏกิ ริ ยิ ากบั กา๊ ซซนี อนปรมิ าณ 2 ตนั ซง่ึ บรรจุ ระบุว่า อนุภาคแอกซอิ อนท่คี น้ พบในครั้งน้ี อาจเป็นชนิดท่ีมาจาก ในถงั ขนาดใหญ่ใต้ภเู ขาถึง 285 ครั้ง ซง่ึ เหตกุ ารณ์เหล่าน้เี กิดขน้ึ ดวงอาทติ ย์ (solar axion) ซงึ่ จะชว่ ยไขความลบั เรอื่ งสสารมดื ทเ่ี รา มากครง้ั กวา่ ที่ควรจะเปน็ ถึง 53 คร้งั โดยเกนิ จากการคาดการณ์ มองไมเ่ หน็ แตม่ อี ยเู่ ปน็ สดั สว่ นมากทส่ี ดุ ถงึ 85% ของสสารในจกั รวาลได้ เบอื้ งตน้ ทมี่ องวา่ นา่ จะมแี ตอ่ นภุ าคทว่ั ไปเทา่ นน้ั พงุ่ เขา้ ชน 232 ครง้ั ผลการค้นพบในคร้ังน้ีมีค่าความเป็นไปได้ทางสถิติสูงมาก ทำ�ให้สันนิษฐานได้ว่าอาจมีอนุภาคพิเศษท่ียังไม่เคยตรวจพบ โดยมีโอกาสเพยี ง 2 ใน 10,000 ที่อนุภาคน้จี ะไม่ใชแ่ อกซอิ อน แต่ มากอ่ นเขา้ มารว่ มท�ำ ปฏกิ ริ ยิ าด้วย เป็นอย่างอ่ืนเช่นนิวทริโนหรืออนุภาคจากการปนเปื้อนภายในถัง ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้ ชว้ี า่ อนภุ าคนมี้ คี วามคลา้ ยคลงึ กบั แอกซอิ อนท่ี ทดลองเอง ซ่ึงทีมผู้วิจัยระบุว่าจะต้องมีการตรวจสอบยืนยันจาก นกั ฟสิ กิ สเ์ คยท�ำ นายไวว้ า่ มมี วลต�ำ่ และจะเกดิ อนั ตรกริ ยิ าดว้ ยแรง ผ้เู ชย่ี วชาญภายนอกอีกคร้ังหนึง่ นวิ เคลยี รอ์ ยา่ งออ่ นมากจนแทบตรวจจบั ไมไ่ ด้ ซงึ่ เดมิ ทแี นวคดิ เรอื่ ง อนภุ าคแอกซอิ อนถกู คดิ คน้ ขน้ึ เพอ่ื ท�ำ ใหส้ มการทางฟสิ กิ สบ์ างอยา่ ง ข้อมลู จาก >> www.bbc.com/thai/features-53092877 กรกฎาคม 2563 14

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก เฉอ่ื ยชาพามะเร็ง ! ผลวจิ ัยชกี้ ารเคลื่อนไหวรา่ งกาย ช่วยลดความเสยี่ งโรคมะเรง็ 22 มิถุนายน ค.ศ. 2020 ศูนย์มะเร็ง MD Anderson มหาวทิ ยาลยั แห่งรฐั เท็กซัส สหรฐั อเมริกา ตดิ ตามศึกษา พฤติกรรมในกลุ่มคนตัวอย่าง พบว่าคนท่ีเฉื่อยชามีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง มากกวา่ คนทีไ่ มช่ อบอยู่นิ่งเฉย นกั วิจัยได้ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างราว 8,000 คน ใน มหาวทิ ยาลยั แหง่ รฐั เทก็ ซสั บอกวา่ การศกึ ษานนี้ บั เปน็ ครง้ั แรก ชว่ งเวลาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2552 ถงึ 2556 โดยใหค้ น ท่ีบง่ ชค้ี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ ระหวา่ งการไมเ่ คลอ่ื นไหวรา่ งกาย กลุ่มนี้พกอุปกรณ์ติดตามความเคล่ือนไหวของร่างกายอย่าง กับการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง การค้นพบความสัมพันธ์ท่ีว่านี้ ต่อเน่ืองในช่วงระหว่างวัน ซ่ึงโครงการดังกล่าวเป็นส่วนหน่ึง ช่วยเน้นย้ำ�ถึงความจำ�เป็นของการน่ังอยู่กับที่ให้น้อยลง และ ของการศกึ ษาซง่ึ ท�ำ กบั คนอเมรกิ นั ทมี่ อี ายเุ กนิ 45 ปจี �ำ นวนกวา่ เคล่ือนไหวร่างกายให้มากขน้ึ 30,000 คน โดยเฉพาะทเี่ ป็นคนอเมริกันผิวด�ำ และที่อยใู่ นรฐั ทั้งน้ีแพทย์ผู้วิจัยแนะว่า การเปลี่ยนอิริยาบถอย่างเช่น ทางใต้ เพอ่ื หาค�ำ ตอบวา่ เหตใุ ดคนกลมุ่ นจี้ งึ มอี ตั ราเสน้ เลอื ดใน ลกุ ขน้ึ ยนื หรอื เดนิ ราว 5 นาทใี นทกุ ๆ ชว่ั โมง หรอื การเคลอ่ื นไหว สมองอดุ ตนั ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ องการสญู เสยี ความจ�ำ หรอื ท�ำ ให้ รา่ งกายแบบเบาๆเชน่ การเดนิ วนั ละ30นาทีจะชว่ ยลดความเสย่ี ง เปน็ โรคหลงลมื มากกวา่ คนกลมุ่ อืน่ ของมะเรง็ ลงไดร้ าว 8% และการท�ำ กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ผลการศกึ ษาหลงั จากทต่ี ดิ ตามเกบ็ ขอ้ มลู เปน็ เวลาหา้ ปี ไดพ้ บวา่ ระดบั ปานกลางถงึ ระดบั เขม้ ขน้ เชน่ การถบี จกั รยานดว้ ยความเรว็ กลมุ่ คนทมี่ พี ฤตกิ รรมเฉอื่ ยชา คอื ชอบอยนู่ ง่ิ ๆ โดยไมเ่ คลอื่ นไหว ราว16กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมงการเดนิ เรว็ ๆการเคลอ่ื นไหวแบบแอโรบกิ รา่ งกายนน้ั มอี ตั ราการเสยี ชวี ติ ดว้ ยโรคมะเรง็ สงู กวา่ คนกลมุ่ อน่ื ในน�้ำ ไปจนถงึ การเตน้ ร�ำ ในจงั หวะบอลรมู หรอื การเลน่ เทนนสิ ถงึ 82% ทง้ั นเ้ี มอ่ื พจิ ารณาตดั ตวั แปรอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ อายุ จะชว่ ยลดความเสย่ี งของการเสยี ชวี ติ จากมะเรง็ ลงไดถ้ งึ 31% เพศ หรอื สถานะโรคประจ�ำ ตวั ออกไปแลว้ และกลมุ่ ตวั อยา่ งที่ วา่ นีก้ ็ไมเ่ คยมีใครเปน็ มะเรง็ มากอ่ นเลยกอ่ นเร่ิมการวิจยั ข้อมูลจาก >> แพทยห์ ญงิ ซซู านกลิ ครสิ ต์ หวั หนา้ นกั วจิ ยั ของศนู ยม์ ะเรง็ ท่ี https://www.voathai.com/a/cancer-and-movement-ct/5472040.html 15 กรกฎาคม 2563

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก จนี เริม่ ปลกู 'ข้าวทนดนิ เค็ม' บนทร่ี าบสูงชงิ ไห-่ ทเิ บตคร้ังแรก 9 มถิ ุนายน 2020 คณะนักวิทยาศาสตร์จีนได้เพาะปลูกข้าวทนดินเค็มด่างลงแปลงนาท่ีต้ังอยู่สูง เหนือระดับนำ้�ทะเล 2,800 เมตร ในมณฑลชิงไห่ทางจีนตะวันตกเฉียงเหนือ เปิดฉากการทดลอง \"เพาะปลูกขา้ วทนดนิ เคม็ \" บนทรี่ าบสูงชิงไห-่ ทเิ บตคร้งั แรก แปลงนาดงั กลา่ วตง้ั อยบู่ นแอง่ กระทะฉาย จางกว๋ั ตง วศิ วกรประจ�ำ ศนู ยฯ์ เผยวา่ คณะนกั วจิ ยั วางแผน ต๋ามู่ (Qaidam Basin) ของทรี่ าบสูง ทดลองเพาะปลูกขา้ วทนดินเค็มดา่ งบนพน้ื ทีร่ าว 42 ไร่ และ ชิงไห่-ทิเบต ซ่ึงมีพ้ืนท่ีดินเค็มด่างขนาดใหญ่ที่พืชผลเติบโต ใช้แรงงานคนและเคร่อื งจกั รในการสงั เกตการณ์ รวมถงึ สรา้ ง ได้ยาก รวมถงึ มกั เผชญิ ภยั แล้ง พายุลูกเหบ็ น้�ำ ค้างแข็ง และ ตวั อยา่ งเพอ่ื การเพาะปลกู ขนานใหญใ่ นอนาคต โดยนบั ตง้ั แตป่ ี ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติอ่ืนๆ เปน็ ประจำ� พ.ศ. 2019 ศนู ยฯ์ ไดส้ ง่ เสรมิ ขา้ วทนดนิ เคม็ ในพนื้ ทดี่ นิ เคม็ ดา่ ง ทีมนกั วิจยั นำ�โดยหยวนหลงผงิ เจา้ ของสมญานาม \"บิดา 7 แห่งของจีนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และในอนาคตจะมี ขา้ วลกู ผสม\" ไดท้ �ำ งานวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอื่ เพมิ่ ผลผลติ ขา้ วท่ี การก่อตั้งศูนย์การทดลองและฐานการเพาะปลูกใหม่ในชิงไห่ เกบ็ เกย่ี วจากทดี่ นิ เคม็ ดา่ ง ลา่ สดุ คณะนกั วจิ ยั จากศนู ยว์ จิ ยั และ เพอ่ื รเิ รม่ิ หนทางใหมข่ องการผลติ ทางการเกษตรบนทร่ี าบสงู พัฒนาข้าวทนดินเค็มด่างชิงเต่าได้เคล่ือนย้ายข้าวทนดินเค็ม ข้อมูลจาก >> www.bbc.com/thai/features-53092877 และอากาศหนาวเย็น ซ่ึงบ่มเพาะอยู่ในเรือนกระจกออกไป ทดลองเพาะปลูกในที่ดินเค็มดา่ งบนทร่ี าบสูงชิงไห-่ ทเิ บต กรกฎาคม 2563 16

grSIanpcfohiic 17 กรกฎาคม 2563

grSIanpcfohiic กรกฎาคม 2563 18

สAาpรpะ แนะน�ำ แอปดี มคี วามรู้ Plook CLASSROOM ตอ้ นรบั เปดิ เทอมใหมใ่ นยคุ New normal ทตี่ อ้ งใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มามสี ว่ นชว่ ยในเรอื่ ง ของการเรียนการสอน ทง้ั คณุ ครแู ละนักเรียนที่จะตอ้ งปรบั ตวั และเรียนร้รู ว่ มกันครบั ส�ำ หรบั “สาระแอป” ฉบบั นข้ี อแนะน�ำ PLOOK CLASSROOM จากทรปู ลกู ปญั ญาครบั Plook CLASSROOM คอื หอ้ งเรยี นอจั ฉรยิ ะ ในระบบโลกออนไลน์ ทท่ี รใู นบรกิ ารฟรี ส�ำ หรบั ครแู ละนกั เรยี นทม่ี คี วามจ�ำ เปน็ หรอื มคี วามตอ้ งการตอ้ งใชห้ อ้ งเรยี นเสมอื นจรงิ ที่ สามารถชว่ ยท้งั การลดเวลาการเดนิ ทาง เพ่ิมความสะดวกในการเรียนการสอน โดยแบ่งการใช้งานออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ผสู้ อน (สรา้ งกลมุ่ ผเู้ รยี น ดสู ถานะท�ำ งานของผเู้ รยี น ตรวจงานและดบู นั ทกึ สรปุ งาน) 2. ผเู้ รยี น (เปดิ ดงู านทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย, สง่ งาน) สามารถเขา้ ใช้งานไดฟ้ รที ่ี https://www.trueplookpanya.com/classroom 19 กรกฎาคม 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั รวิศ ทัศคร รวิศ ทศั คร เคยเปน็ กรรมการบริหารและสมาชิกทีมบรรณาธกิ าร วารสารทางชา้ งเผอื ก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยทำ�งานเปน็ นกั เขยี นประจำ� นิตยสาร UpDATE นติ ยสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษทั ซีเอ็ดยูเคชน่ั (มหาชน) จ�ำ กดั ปจั จุบันรบั ราชการเปน็ อาจารย์ประจ�ำ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ที่มาภาพ https://th.wikipedia.org/wiki/สาหร่ายไก ไก สาหร่ายไทยแสนอร่อย ทค่ี ณุ อาจไมเ่ คยไดล้ ม้ิ ลอง (ตอนท่ี 1) กรกฎาคม 2563 20

รวอ้ ทิ ยยพานั ไกเปน็ สาหรา่ ยน�ำ้ จืดสเี ขียว สกลุ Cladophora ชื่อพ้นื เมืองที่เรยี กกนั มหี ลายชอื่ อย่าง เชน่ ไกเหนียว หรอื ไกค้าง ไกเปอ้ื ย ไกตะ๊ สาหร่ายไก สาหรา่ ยไคร ไกคา่ วเตา สาหรา่ ย ชนดิ นม้ี ีสีเขียวเขม้ มีความยาวประมาณ 2 เมตร ไมแ่ ตกแขนง เนือ้ ไม่ฟู แต่ไกบางชนิด จะแตกเปน็ สองงา่ ม และเพ่มิ จำ�นวนสายยาวออกไปเรอ่ื ยๆ ไก(Cladophora glomerata kützing) เปน็ สาหรา่ ยทพ่ี บใน สำ�หรับแหล่งที่สองคือทางแถบจังหวัดเชียงราย ริมแม่นำ้� ภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะสองแหล่งใหญ่ โขงนั้น ในการเก็บเกี่ยวปกติแล้วชาวบ้านท่ีเก็บสาหร่ายขึ้น ในภาคเหนอื แหล่งแรกคอื ในแถบแมน่ ำ้�น่าน ในอ�ำ เภอทา่ วังผา มาจากแม่น้ำ�โขงและแม่นำ้�น่านจะลงไปงมขึ้นมาตอนท่ีนำ้�ลด จังหวัดน่าน แต่จากที่ผู้เขียนเดินทางไปสำ�รวจหาแหล่งวัตถุดิบ โดยเฉพาะแม่นำ้�โขงในช่วงต้นฤดูฝนจะไม่สามารถเก็บเก่ียวได้ เพ่ือทำ�วิจัย ชาวบ้านและกลุ่มแม่บ้านบอกว่า ช่วงหลังมานี้ (ปี เน่ืองจากระดับนำ้�มีเพ่ิมข้ึนทำ�ให้ลงไปเก็บได้ยาก อีกทั้งน้ำ�ยังมี พ.ศ. 2560–2563) ไกที่เกบ็ บางทจี ะมาจากแหลง่ ต้นน้ำ�ข้ึนไปอีก ความขนุ่ เพราะน�้ำ พดั พาตะกอนมาท�ำ ให้ไมเ่ หน็ สาหรา่ ยไกแตเ่ มอื่ ซงึ่ มีน้ำ�สะอาดกวา่ เพราะที่ทา่ วังผาแม้จะยังมีอยู่ แต่ก็มนี อ้ ยลง น�้ำ ลดลงและไหลชา้ ลงจะเรมิ่ ท�ำ การเกบ็ เกยี่ วไปไดเ้ รอื่ ยๆ จนกวา่ ส่วนแหล่งท่ีสองจะอยู่ที่อำ�เภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดย น�ำ้ จะใสและแห้งจนสาหรา่ ยหมดไป โดยเฉพาะคุง้ น�ำ้ ทางฝ่ังลาว มีกลุ่มใหญ่คือ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหาดไคร้ ตำ�บลเวียง ตรงข้ามอำ�เภอเชียงของ ซ่ึงมีชายฝั่งตื้นและมีกรวดหินจำ�นวน อำ�เภอเชียงของ จงั หวัดเชียงราย และเครือข่ายสมนุ ไพรสามัคคี มาก เปน็ สถานทเี่ ก็บไกไดด้ ี โดยแตเ่ ดิมฤดกู าลที่สามารถเกบ็ ไก จงั หวดั เชยี งราย ทเี่ ปน็ กลมุ่ ผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑ์โอทอปทน่ี �ำ สาหรา่ ย ได้ดีท่ีสุดคือ ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายนมาจนถึงเดือนพฤษภาคม ไกมาแปรรูปจ�ำ หน่าย ของทุกปี แต่ช่วงสามปีท่ีผ่านมาเวลาเก็บเกี่ยวจะเลื่อนออกไป ประชาชนผู้อาศัยท่ี เพราะระดับนำ้�ในแม่นำ้� หมบู่ า้ นหนองบวั ต�ำ บลปา่ คา โขงมีการเพ่ิมลดผิดจากวง อ�ำ เภอทา่ วงั ผา จงั หวดั นา่ น รอบฤดูกาลตามธรรมชาติ เป็นเชื้อสายชาวไทยลื้อที่ เนื่องจากการกักเก็บน้ำ�ใน สืบเช้ือสายมาจากเมืองล้า เขอ่ื นตา่ งๆ ของประเทศจนี แควน้ สบิ สองปนั นา มลฑล ในต้นลำ�น้ำ�โขง ซ่ึงส่งผล ยนู าน ประเทศจนี ซึง่ เป็น เป็นอย่างมาก ทั้งปริมาณ กลมุ่ คนทน่ี �ำ เอาไกมาบรโิ ภค น้ำ � ท่ี เ พ่ิ ม แ ล ะ ล ด อ ย่ า ง เป็นอาหารหลักมานาน รวดเร็ว ไม่แน่นอนรวมถึง และได้นำ�เข้ามาเผยแพร่ ผ ล ต่ อ ดิ น ต ะ ก อ น แ ล ะ ในประเทศไทยทางเหนือ ส า ร อ า ห า ร ท่ี ก ร ะ แ ส น้ำ � เ มื่ อ มี ก า ร อ พ ย พ ย้ า ย จะพัดพามาให้กับพืชน้ำ� ถิ่ น ฐ า น เ ข้ า ม า พำ � นั ก ใ น และสัตว์น้ำ�ในแม่นำ้�โขง ตำ�แหน่งท่ีอาศัยปัจจุบัน สาหร่ายไก หรือชื่อเต็ม Cladophora glomerata (Linnaeus) Kützing ทำ�ให้เราได้เห็นการเปล่ียน เมอ่ื สองรอ้ ยกวา่ ปที ผ่ี า่ นมา ของน�ำ้ จากเดมิ ทม่ี สี ขี นุ่ ขาว (ที่มาของภาพ https://img.algaebase.org/images/3EE735B10772e004C5sLV302CDCD/1c3ZZHVGkft8.jpg) 21 กรกฎาคม 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั การผลิต แปรรูปสาหร่ายไกแผ่นอบแห้งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูป กลายเป็นใสมาก ซ่ึงเป็นสภาพ สาหร่ายน้ำ�จืด บ้านหนองบัว ตำ�บลป่าคา อำ�เภอท่าวังผา จังหวัดน่าน แม่นำ้� ท่ีเรียกว่าแม่น้ำ�ตาย คือ (ที่มาของภาพ https://www.technologychaoban.com/marketing/ ไม่เหมาะแก่การเจริญของพืชน้ำ� article_97388 ) เทา่ กบั สภาพดงั้ เดมิ ของแมน่ �ำ้ โขง ชาวบา้ นจะน�ำ ไกทเี่ กบ็ ไดล้ ง ล้างในแมน่ ำ้�โขง โดยสางสาหรา่ ย ท่ีมีลักษณะเป็นเส้นคล้ายเส้นผม จนสะอาด ซง่ึ จะลา้ งเปน็ สบิ ๆ รอบ ข้ึนไป ซึ่งเม่ือล้างดินออกแล้วจะ เห็นสาหร่ายเป็นสีเขียวเข้มสด พร้อมนำ�ไปทำ�ความสะอาดก่อน ประกอบอาหารตอ่ ไป อาหารพื้นบ้านภาคเหนือ ที่มักนำ�ไกมาทำ�ก็คือ ห่อหมกไก (ทางเหนอื เรยี ก แอบไก) ไกยี คว่ั ไก แกงไก และน้ำ�พริกไก รวมถึง นำ�มาผสมพวกของขบเคี้ยว เช่น ทองม้วน ข้าวเกรียบ แม้แต่ใน รูปแบบผลิตภัณฑ์สาหร่ายแผ่น อบกรอบ หรือสาหร่ายแผ่นทอด กรอบปรุงรส กม็ ีการท�ำ กันเป็นผลติ ภณั ฑ์โอทอปเชน่ กนั ในจ�ำ นวนน้ี ผลติ ภณั ฑท์ นี่ า่ สนใจน�ำ มาพฒั นาเพมิ่ คอื ไกยี ซงึ่ อาจทำ�โดยการนำ�สาหร่ายไกมาท�ำ ความสะอาด ตากแห้ง แล้วน�ำ มาผงิ ไฟใหก้ รอบ แลว้ ใชม้ อื ยใี หเ้ ปน็ สาหรา่ ยปน่ ปรงุ รสดว้ ยเกลอื และงาขาวคว่ั ซง่ึ จากการลงส�ำ รวจพนื้ ทกี่ พ็ บวา่ อกี วธิ หี นง่ึ คอื การ ควั่ ในกระทะ และเพม่ิ กระเทยี มเจยี วเขา้ ไปในสตู รดว้ ย ซงึ่ แตเ่ ดมิ แลว้ สาหรา่ ยไกผงหรอื ไกยนี จี้ ะน�ำ มาทานกบั ขา้ วเหนยี วทนี่ ง่ึ ใหมๆ่ หอมๆ หรือจะนำ�มาโรยข้าวสวยทานกับกับข้าวอย่างอื่น ก็เสริม ความอรอ่ ยได้เป็นอย่างดีจากความหอมของตัวสาหรา่ ย ลกั ษณะของผลติ ภัณฑส์ าหรา่ ยไกยี มคี วามคลา้ ยคลึงกับผง โรยข้าวญี่ปุ่นสำ�เร็จรูป ผสมสาหร่ายทะเล แต่มีรสชาติท่ีอร่อย ตามแบบไทย และมีศักยภาพในการส่งเสริมด้านการตลาดได้ แต่สาหร่ายไกยีมีปัญหาคือเก็บไว้ได้ไม่นาน ก่อนจะเกิดการหืน ของกลน่ิ รสจากการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั ของไขมนั และน�ำ้ มนั กรกฎาคม 2563 22

รวอ้ ทิ ยยพานั ในส่วนผสม หากสามารถปรับปรุงตรงจุดนี้ได้ ผลิตภัณฑน์ ้ีน่าจะ ได้รับการตอบรับดีจากท้ังในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นโจทย์ท่ีน่า พฒั นาตอ่ ไปในอนาคต ผลิตภัณฑ์น้ำ�พริกสมุนไพรจากสาหร่ายไกแม่น้ำ�โขง ของบริษัทน้ำ�พริก สมุรไพรอรุณรัตน์ จำ�กัด โดยมีการดำ�เนินงานร่วมกับ เครือข่ายวิสาหกิจ ชุมชนสมุนไพรสามัคคี จังหวัดเชียงราย (เอื้อเฟื้อภาพโดย คุณอารุณ มูลชนะ ประธานเครือข่ายสมุนไพรสามัคคี) มาท�ำ \"ไกย\"ี หรอื ไกคว่ั ปน่ กนั เถอะ ถ้าคุณอยากลองทำ�ไกยีเอง เพื่อใช้ คลุกข้าวหรือโรยข้าวสวยร้อนๆ แล้ว ละก็ วิธีทำ�นั้นง่ายนิดเดียวครับ เพียง ยา่ งไกแหง้ ดว้ ยไฟออ่ นจนกรอบ หรอื ใช้ วธิ คี ว่ั ในกระทะโดยใช้ไฟออ่ นใชต้ ะหลวิ คอยพลิกกลับไปมา ประมาณ 3 นาที จากนน้ั ท�ำ ใหส้ าหรา่ ยไกทค่ี ณุ คว่ั จนหอม กรุ่น ปน่ เป็นผงและเสน้ เลก็ ๆ ด้วยการใชม้ ือขยี้ หรอื ในภาษาไทลือ้ เรียกวา่ “ย”ี นัน่ เอง เสรจ็ แลว้ แยกไวท้ างหนง่ึ ตง้ั กระทะคั่วกระเทยี มกบั นำ�้ มนั เล็กนอ้ ยตั้งไฟอ่อนๆ จนหอมฉุย แลว้ เอาไกยีทป่ี น่ ไว้กลบั เข้าไปคลุก แลว้ แตง่ รสดว้ ยงากบั เกลอื ป่น คลุกให้เขา้ กนั เป็นอนั เสรจ็ พิธี ไกยี (ทมี่ าของภาพ https://www.facebook.com/Nanidentityhallnancc/photos/pcb.1274507519373334/1274506322706787/?type=3&theater) เอกสารอ้างอิง https://www.nstda.or.th/sci2pub/cladophora/ 23 กรกฎาคม 2563

สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อุ่นใจ กลมุ่ วิจัยชวี วทิ ยาเพ่ือการศกึ ษาและความบันเทิง ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ผศ. ดร.ป๋วย​อุ่นใจ | http://www.ounjailab.com นกั วจิ ัยชีวฟสิ กิ สแ์​ ละอาจารยป์ ระจำ�ภาควิชาชวี วิทยา​ คณะวิทยาศาสตร์​ มหาวทิ ยาลย​ั มหิดล​ นักสื่อสารวทิ ยาศาสตร​์ นกั เขียน​ ศิลปินภาพสามมติ ิ​ และผู้ประดิษฐ์ฟ​ อนต์ไทย​ มคี วามสนใจท้ังในด้านวทิ ยาศาสตร​์เทคโนโลยี​ งานศลิ ปะและบทกวี แอดมนิ และผู้ร่วมก่อตั้ง​เพจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทุกส่ิงลว้ นเปน็ พษิ ชีวิตอสิ ระจะกลับมาเม่ือไร ในยุคโพสตโ์ ควดิ ? ในขณะทม่ี ผี ตู้ ดิ เชอ้ื เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทวั่ โลก จนอาจจะเหยยี บๆ สบิ ลา้ น ในอีกไม่กว่ี นั แต่ในประเทศไทย สถานการณว์ ิกฤตโควดิ -19 ดเู หมือนจะ เรม่ิ เบาบางลง หลงั จากทไ่ี มม่ รี ายงานผตู้ ดิ เชอื้ ในประเทศมานานรว่ มเดอื น กรกฎาคม 2563 24

สภากาแฟ นน่ั คอื เกนิ กวา่ ระยะพกั ตวั ของไวรสั ท�ำ งาน กจิ กรรมตา่ งๆ เรม่ิ กลบั มาด�ำ เนนิ แต่มันเป็นจริงหรือไม่ที่ความเสี่ยง ไปนานโข จนหลายคนเชอ่ื วา่ เป็นปกติ การจราจรเร่ิมกลับมาติดขัดใน ในการติดเช้ือได้หายไปแล้ว และเราอาจ เราก�ำ ลงั อยใู่ นยคุ หลงั โควดิ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ช่วงช่ัวโมงเร่งดว่ น แม้จะตอ้ งใส่หนา้ กาก จะกลับมาใช้ชีวิตได้ดังเดิมในเวลาไม่ช้า ยุคโพสต์โควิด (postcovid era) นนั่ เอง เข้าหากัน อาจจะมีขวดแอลกอฮอล์ฆ่า ไม่นาน ? คำ�ตอบคอื “บอกยาก” เพราะ ส่ิงต่างๆ ในประเทศไทยจึงได้ทยอย เชื้อเพ่ิมเขา้ มาในกระเป๋าอกี ช้ินหนึ่ง และ ในการระบาดของเช้ือไวรัสก่อโรคท่ีเพ่ิง เร่ิมกลับเข้าสู่โหมดปกติใหม่ หรือที่เรียก อาจจะยงั ตอ้ งเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกนั อกี พบใหม่ แม้จะมีงานวิจัยออกมาอย่าง กันว่า new normal ผู้คนเริ่มได้กลับมา สักระยะ มหาศาลในระยะเวลาเพียงแค่ไม่ก่ีเดือน ความรู้ความเข้าใจหลายๆ อย่างเกี่ยวกับ ธรรมชาติของโรค กลบั ยงั ไมช่ ดั เจน และ อาจจะขัดแย้งกันเองเสียด้วยซำ้� คงต้อง ใช้เวลาอีกสักพักใหญ่กว่าที่จะสรุปอะไร ไดแ้ จ่มชัดจรงิ ๆ ประเด็นที่ต้องคำ�นึงถึงคือการตรวจ วินิจฉัยเชิงรุก อาจจะไม่ได้ครอบคลุม ให้สามารถตรวจเชื้อได้กับผู้คนทุกคน และไมใ่ ชท่ กุ คนทต่ี ดิ เชอื้ ไวรสั กอ่ โรคโควดิ -19 จะอาการหนกั นอนคางเหลอื ง หายใจ พะงาบๆ อยูใ่ นห้องไอซียู เพราะในความ เป็นจริง ผู้ป่วยหลายคนก็ดูภายนอก เหมอื นจะสบายดี ผู้ป่วยบางรายอาจจะดูปกติในช่วง ติดเช้ือระยะแรก (presymptomatic) และต้องใช้เวลาพักตัวหลายวันกว่าจะ เรม่ิ แสดงอาการ จึงตอ้ งมีระยะการกกั ตัว (quarantine) อย่างนอ้ ย 14 วนั ส�ำ หรบั ผู้ที่ดูจะมีความเสี่ยง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ใน ประเทศไทยนา่ จะแทบไมม่ แี ลว้ เพราะพบ ผปู้ ว่ ยใหมเ่ พยี งแคใ่ นสถานกกั ตวั แยกเชอ้ื ในกลมุ่ ผทู้ เ่ี ดนิ ทางกลบั มาจากตา่ งประเทศ ดงั นน้ั การกกั ตวั ผเู้ ดนิ ทางเขา้ ประเทศ น้ัน จะช่วยสกรีนผู้ติดเชื้อแบบมีอาการ ชัดเจน และผู้ติดเชื้อแบบ presymp- tomatic ช่วยลดความเสี่ยงได้ค่อนข้างดี แต่ถ้ามีการปล่อยให้นักท่องเที่ยวหรือ 25 กรกฎาคม 2563

สภากาแฟ นักธุรกิจเดินทางเข้ามาในประเทศได้เลย ปรมิ าณผตู้ ดิ เชอ้ื ไดอ้ ยา่ งดเี ยยี่ มอยใู่ นหลกั แล้ววัคซีนและยาจะมาเมื่อไร ? อย่างอิสระ ก็เป็นไปได้อีกเช่นกันท่ีอาจ สบิ อยไู่ ดน้ านหลายเดอื น คำ�ตอบของคำ�ถามนี้บอกได้ยากเช่นกัน จะไดข้ องแถมเปน็ เชอื้ น�ำ เขา้ อมิ พอรต์ เขา้ ในขณะที่หลายประเทศ เร่ิมรายงาน แมว้ า่ จะมแี คนดเิ ดตวคั ซนี และยานบั รอ้ ย มาจนเกดิ การตดิ เช้ือในประเทศก็เป็นได้ การติดเชื้อแบบระลอก 2 กันบ้างแล้ว ที่ลงทะเบียนศึกษาในข้ันคลินิกไว้แล้วกับ แตท่ นี่ า่ กงั วล ทท่ี �ำ ใหเ้ ราการด์ ตกไมไ่ ด้ ทั้งในจีนและสหรัฐอเมริกา และน่ีคือส่ิง องค์การอนามัยโลก แต่ทุกขนานก็ยังอยู่ คือกลุ่มผู้ป่วยที่แม้ติดเช้ือแต่จะไม่มี ท่ีทำ�ให้การเว้นระยะห่างในสังคม และ ในระหวา่ งการทดลอง และตอ่ ให้ทดลอง อาการอะไรแสดงออกมาให้เห็นเด่นชัด การติดตามควบคมุ โรคยงั เป็นส่ิงท่ีจ�ำ เปน็ ได้สำ�เร็จ การผลิตอาจจะเป็นอีกปัจจัย แตก่ ลบั สวมบทบาทเปน็ พาหะแพรเ่ ชอ้ื ได้ อยา่ งยิ่งในสงั คมเรา หน่ึงที่ต้องคิดว่าจะทำ�อย่างไรถึงจะทำ�ให้ (asymptomatic) กลมุ่ นตี้ า่ งหากทน่ี า่ กลวั แนน่ อน มนั อาจจะยงั ไมด่ กี บั เศรษฐกจิ ทุกคนเข้าถึงทั้งยาและวัคซีนได้อย่าง เพราะถ้าไวรัสกระจายเข้าไปสู่ผู้คนที่ ท่ีกำ�ลังพยายามจะฟ้ืนตัว แต่กันไว้ดี เทา่ เทยี ม เพราะอยา่ ลมื วา่ ไวรสั ไมไ่ ดเ้ ลอื ก เป็นกลุ่มเส่ียงได้เม่ือไร โดยเฉพาะอย่าง กว่าแก้ เพราะถ้ามีการระบาดอีกระลอก ตดิ ใครคนใดคนหนง่ึ ทค่ี วามยากดมี จี น ทกุ ย่ิงกับผู้อยู่อาศัยในท่ีแออัด การติดเช้ือ มาจริงๆ ความเสียหายที่เกิดข้ึนอาจ คนมสี ทิ ธติ ดิ เทา่ กนั และมโี อกาสแพรเ่ ชอื้ แบบมโหฬารอาจเกิดขึ้นได้ในระยะเวลา ประเมนิ คา่ ไมไ่ ด้ ไปสู่ผู้อน่ื ในสงั คมได้ ท้ายสุด ติดคนเดียว อันสั้น อาจจะเกิดข้ึนได้เช่นเดียวกับที่ แตเ่ ราจะปดิ ประเทศถาวรไมไ่ ด้ ดงั นนั้ ทกุ คนอาจจะเดอื ดร้อนอย่างทัดเทยี ม กำ�ลังเกิดกับสิงคโปร์ ที่ยอดผู้ติดเช้ือ การลดความเส่ียงและคุมไม่ให้เกิดการ การพัฒนายาดูจะมีความหวังได้ลุ้น พุ่งทะยานจนทะลุ 40,000 คนไปแล้ว ระบาดในประเทศจึงต้องเป็นส่ิงที่รัฐควร มากกว่าวัคซีน เพราะยาบางชนิดได้รับ แม้ว่าในช่วงต้นปี สิงคโปร์จะสามารถคุม ใหค้ วามสำ�คัญ การทดสอบความเปน็ พษิ ในมนษุ ย์ไปแลว้ และอาจจะใช้ในการรกั ษาโรคอน่ื ๆ อยู่ ซง่ึ กราฟแสดงจำ�นวนเคสที่ ได้รับการยืนยันแล้วในสิงคโปร์เทียบกับช่วงเวลาจะเห็นได้ว่าแม้ว่าสิงคโปร์ ถ้าทดสอบแล้ว หากสามารถใช้ควบคุม จะคุมจำ�นวนเชื้อได้ดีเยี่ยมในช่วยก่อนเดือนมีนาคมแต่พอมีการระบาดเข้าชุมชนแออัด (แคมป์ ไวรัส SARS-CoV2 ได้ ก็อาจจะเอามา คนงาน) จนกลายเป็นคลัสเตอร์ติดเชื้อการระบาดของโรคก็เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนควบคุมได้ยาก ประยุกต์ใช้ในการรักษาโควิด-19 ได้ (ภาพจาก https://coronavirus.jhu.edu/map.html) อย่างรวดเร็วในฐานะยาปรับจุดประสงค์ (repurposed drugs) สว่ นวคั ซนี กต็ อ้ งรอลนุ้ ดวู า่ จะสามารถ กระตนุ้ ภมู ิในผรู้ บั วคั ซนี ไดห้ รือไม่ และจะ มีผลข้างเคียงอะไรหรือเปล่า เพราะใน กรณีของวัคซีนไวรัสไข้เด็งกี่ กว่าจะเจอ ว่าอาจจะมีผลกระทบไม่คาดคิดที่เรียกว่า antibody dependent enhancement (ADE) หรือการเพิ่มการติดเช้ือเน่ืองจาก แอนตบิ อดใี นผรู้ บั วคั ซนี บางราย กต็ อ้ งรอ จนทดสอบยาเฟสท้ายๆ จนเกือบจะผ่าน มาได้ใชก้ บั คนทวั่ ไปไปแลว้ แต่ต่อให้ไม่มีผลกระทบอะไรเลย กรกฎาคม 2563 26

สภากาแฟ แอนติบอดีต้าน SARS-CoV2 ที่สามารถเข้า ในที่สุด วันหน่ึงเมื่อวัคซีนและยา (bioactive substances) ว่ามันอาจจะ ยึดเกาะกับโปรตีนที่ไวรัสใช้ ในการเข้ารุกราน สำ�เร็จ ความกงั วลเร่ืองไวรัสโควิดก็คงจะ เป็นส่ิงท่ีเล่ียงไม่ได้อีกต่อไปในยุคแห่ง เซลล์มนุษย์ทำ�ให้ ไวรัสเข้าสู่เซลล์ไม่ได้ อาจจะ ค่อยๆ หายไป เหลือแค่ความทรงจำ�อัน การเปล่ียนแปลง ที่โรคอุบัติใหม่อาจจะ นำ�มาใช้ประโยชน์ในการรักษา หรือการตรวจ บอบช�ำ้ ของคนหลายๆ คน เกดิ ข้นึ เมื่อไรก็ได้ วินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ได้ ในอนาคต แตอ่ กี อยา่ งทตี่ อ้ งคดิ ถงึ คอื เมอ่ื วคั ซนี แ ล ะ เ ม่ื อ เ ร า ส า ม า ร ถ มั่ น ใ จ ไ ด้ ว่ า หรือยาถูกพัฒนาได้แล้ว มันจะมาถึงมือ ระบบสาธารณสุขของเราจะป้องกันการ การทดลองวคั ซนี กอ็ าจจะตอ้ งรอผลไปอกี เราหรอื ไม่ ในเม่ือยาและวัคซีนน้นั คงเปน็ ระบาดได้จริง และเพียงพอที่จะรองรับ ราวๆ หนงึ่ ปี ถงึ ปคี ร่ึงส�ำ หรับกระบวนการ ที่ต้องการไปทั่วโลก ซ่ึงถ้าประเทศยักษ์ ปริมาณผู้ติดเชื้อท่ีอาจเกิดข้ึนได้อย่างมี พฒั นา กอ่ นทวี่ ัคซนี จะเขา้ สตู่ ลาด ใหเ้ รา ใหญ่ก็ยังคุมโรคไม่ได้ ชัดเจนว่าการท่ียา ประสทิ ธภิ าพ ไมโ่ อเวอร์โหลดและไม่ล่ม ได้ใชก้ นั และวัคซีนจะเหลือส่งต่อมาถึงเรา อาจ เมื่อนั้นเราก็จะสามารถกลับมาดำ�รงชีวิต จะไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก และน่ันอาจจะส่ง เปน็ อสิ ระไดด้ งั เดมิ โดยไมต่ อ้ งกงั วลเรอื่ ง ผลถึงความพร้อมในด้านการรักษา และ โควดิ อกี ตอ่ ไป... ปอ้ งกนั โรคของประเทศได้ แต่วนั น้ันจะมาถึงเมื่อไร คงต้องรอดู เราอาจจะต้องพิจารณาอีกทีถึงการ ต่อไป อาจจะอีกไม่นาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเฟน้ หา และผลิตยาต่างๆ ยาลอกแบบชีวภาพ (biosimilars) สารออกฤทธ์ิทางชีวภาพ 27 กรกฎาคม 2563

หสอ้ ตัไงทวภยป์ าา่พ ประทปี ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ หมขี อ Arctictis binturong หมขี อหรอื บนิ ตรุ งเปน็ สตั วร์ ปู รา่ งหนา้ ตาคลา้ ยสตั วจ์ �ำ พวกหมี ล�ำ ตวั อว้ น สามารถใชห้ างมว้ น เปน็ ขอเกย่ี วตน้ ไมเ้ พอ่ื ใชใ้ นการหอ้ ยตวั ได้ โดยปกตจิ ะอาศยั อยตู่ ามเรอื นยอดไมใ้ นปา่ ดบิ ลงหากนิ บนพน้ื ดนิ บา้ งเปน็ ครง้ั คราว ออกหากนิ ตามล�ำ พงั หรอื เปน็ ครอบครวั เลก็ ๆ พบออกหากนิ เวลากลางคนื กรกฎาคม 2563 28

สาระวทิ ย์ ในศิลป์ 9 วรศิ า ใจดี (ไอซ)ี เดก็ สาย(พนั ธุ)์ วิทย์สานศิลป์ ชอบเรียนคณติ ศาสตรแ์ ละฟสิ กิ ส์ สนใจเรือ่ งเก่ียวกบั อวกาศ และสตั วเ์ ล้ียงตวั จวิ๋ เวลาวา่ งชอบทำ�งานศลิ ปะ กำ�ลังค้นหาสตู รผสมท่ีลงตัวระหว่างวิทยก์ ับศิลป์ Instagram : iizeewj “STARGAZING EXPEDITION” Day 3 หลงั จากคนื วนั ที่สองทีพ่ วกเราอยูด่ ดู าวกนั จนดกึ ด่ืน ในวันทสี่ ามฉนั เลยพาสมาชิก กล่มุ เปลยี่ นบรรยากาศด้วยการออกเดนิ ทางจากเวลส์มาผ่อนคลายทอ่ี งั กฤษบา้ ง ! ในขณะทก่ี ารเดนิ เทีย่ วเลน่ ในเมือง Bromsgrove แห่งองั กฤษถือเป็นของแถม เปา้ หมายอนั แทจ้ รงิ ท่ีพวกเราวางแผนจะทำ�ในวนั น้คี อื การเขา้ ชมอเี วนต์สดุ พิเศษ ท่ีมีเฉพาะช่วงสปั ดาห์นเ้ี ท่านั้น ! ณ หอศลิ ปะ Artrix 29 กรกฎาคม 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพโปสเตอร์แผ่นนี้ที่เชิญชวนให้ฉันมาหอศิลปะ Artrix หลงั จากคืนวันที่สองที่พวกเราอยู่ดูดาวกันจนดึกด่ืน ใ น วั น ที่ ส า ม ฉั น เ ล ย พ า ส ม า ชิ ก ก ลุ่ ม เ ป ล่ี ย น บรรยากาศดว้ ยการออกเดนิ ทางจากเวลสม์ าผอ่ นคลายทอี่ งั กฤษบา้ ง ! ในขณะท่กี ารเดนิ เที่ยวเล่นในเมือง Bromsgrove แห่งองั กฤษถอื เปน็ ของแถม เป้าหมายอันแท้จริงที่พวกเราวางแผนจะทำ�ในวันนี้คือการ เขา้ ชมอีเวนต์สุดพเิ ศษทมี่ ีเฉพาะช่วงสัปดาหน์ ้ีเท่านัน้ ! ณ หอศิลปะ Artrix สถานท่ีแห่งน้ีจะเป็นท่ีสำ�หรับจัดแสดงนิทรรศการเวียนและงาน ศลิ ปะตา่ งๆ ในแตล่ ะชว่ งทหี่ ลากหลายแตกตา่ งกนั ไป ซง่ึ ในชว่ งสปั ดาห์ น้จี ะมีผลงานศิลปะสุดสรา้ งสรรค์ท่นี ำ�อวกาศมาสพู่ ้นื โลก ให้ได้ชมกัน ภายใต้นิทรรศการ “Space Art” นิทรรศการน้ีนำ�เสนอผลงานศิลปะภายใต้มุมมองจักรวาล จากสายตาของศิลปินแนวอวกาศ เป็นการถ่ายทอดแนวความคิด วทิ ยาศาสตรผ์ า่ นผลงานศลิ ปะ ดว้ ยการใชเ้ ทคนคิ และมมุ มองทแ่ี ปลก ใหม่ สอื่ ถงึ ความหมายอนั ลกึ ซง้ึ ซงึ่ สะทอ้ นถงึ อทิ ธพิ ลของอวกาศทมี่ ตี อ่ มนษุ ย์โลก ภาพแรกท่ีต้อนรับพวกเราเม่ือเดินเข้าไปในส่วนของนิทรรศการ “Space Art” กค็ ือภาพ The Hand of Mission Control โดยศิลปนิ Rebecca Hardy เป็นภาพสีอะคริลิกบนผ้าใบวาดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2561 ภาพนี้ได้รับแรงบันดาลใจส่งตรงจากนาซาในช่วงภารกิจ อะพอลโล จึงเกิดการดัดแปลงจากภาพผลงาน The Creation of Adam ต้นฉบับของศิลปินช่ือดังในอดีต ไมเคิล แองเจโล (Michael Angelo) แล้วสร้างสรรค์ขึ้นมาเป็นภาพที่สื่อถึงข้อความสำ�คัญว่า เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุค สมัยรวมไปถงึ ศิลปะดว้ ย ภาพ The Hand of Mission Control (ซ้าย) เทียบกับภาพ The Creation of Adam (ขวา) ขอบคุณแหล่งที่มาของภาพ The Creation of Adam (ขวา) จาก wikipedia กรกฎาคม 2563 30

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพดั้งเดิมน้ันส่ือถึงการที่พระเจ้าได้ให้ชีวิตแก่ อดัม มนุษย์ นอกจาก Bell X-1 แลว้ ยงั มอี ากาศยานอื่นๆ ในโครงการท่ีเปน็ ที่ คนแรกของโลก ส่วนในภาพที่ฉันได้ไปชมน้ันมือทั้งสองท่ีแตะกันถูก นา่ จดจ�ำ ไมแ่ พก้ นั อยา่ ง North American X-15 ล�ำ ทม่ี ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ แทนที่ด้วยมือของนักบินอวกาศและมือของมนุษย์โลกผู้อยู่เบ้ืองหลัง ในภาพ ทน่ี บั ไดว้ า่ เปน็ ยานอวกาศล�ำ แรกของโลก ! เพราะดว้ ยความเรว็ ภารกจิ น้ี เปน็ สญั ลกั ษณท์ สี่ อ่ื วา่ ภารกจิ อะพอลโลนจี้ ะส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี สงู สดุ 7,274 กโิ ลเมตร/ชว่ั โมง ทเ่ี ปน็ สถติ โิ ลก จงึ พานกั บนิ ขน้ึ แตะเขต มนุษย์จะไปไกลถึงอวกาศ และมนุษย์เป็นผู้ให้ชีวิตกับวิทยาศาสตร์ รอยตอ่ ระหวา่ งชนั้ บรรยากาศโลกและอวกาศ (Kármán line) ไดเ้ ปน็ สิ่งที่มนุษย์เราได้สร้างขึ้นมาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงชีวิตของ คร้ังแรก และตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2510 จนถึงปัจจุบันกย็ งั ไม่มอี ากาศยานที่ มนุษยชาติในอนาคตข้างหน้า ขับเคลือ่ นดว้ ยแรงมนษุ ย์ลำ�ไหนทำ�ลายสถติ คิ วามเรว็ นี้ไดเ้ ลย ! Rebecca Hardy ยงั สรา้ งสรรคผ์ ลงานอกี จ�ำ นวนมาก ซงึ่ ลว้ นเลา่ นอกจากภาพนี้จะมีความสวยงามแบบการวาดภาพรูปแบบซำ้�ๆ เรื่องราวเบื้องหลังของภารกิจต่างๆ เกี่ยวกับอวกาศเอาไว้ อย่างเช่น อยา่ งมรี ะบบระเบยี บท�ำ ใหเ้ กดิ ความสมมาตรทลี่ งตวั แลว้ หากเรามอง ในภาพ X-stasy เธอวาดข้ึนเป็นท่ีระลึกแก่โครงการ X-plane ของ เขา้ ไปใกลๆ้ อากาศยานแตล่ ะล�ำ เราจะเหน็ ตวั อกั ษรแรกของชอ่ื นกั บนิ สหรัฐอเมริกาที่มุ่งพัฒนาอากาศยานและจรวด จะเห็นอากาศยาน คนแรกผ้ทู �ำ การบนิ ทดสอบอากาศยานเหล่านด้ี ้วย เพอื่ เปน็ การระลกึ จำ�นวนมากเรียงตัวกันโดยรอบ แสดงถึงความพยายามลองผิดลอง ถงึ ความกลา้ หาญของพวกเขาเหลา่ นนั้ ถกู หลายคร้ังจนประสบความส�ำ เร็จ ผลงานอีกชิ้นของคณุ Rebecca ในชื่อชดุ “cunning cosmos” Bell X-1 ลำ�ท่ีเด่นอยู่ตรงใจกลางของภาพซ่ึงเป็นอากาศยานลำ� คือภาพการฉลองครบรอบ 50 ปีของภารกิจอะพอลโล เม่ือยาน แรกที่ถูกออกแบบให้สามารถทำ�ลายกำ�แพงเสียง (sound barrier) อะพอล 11 ได้ลงจอดบนดวงจันทร์เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์ หรอื แรงทดี่ งึ ใหบ้ นิ ไดช้ า้ ลง นน่ั ท�ำ ใหอ้ ากาศยานล�ำ นส้ี ามารถบนิ ไดด้ ว้ ย โลกในปี พ.ศ. 2512 ในภาพดวงจันทร์ซ่ึงอยู่ตรงกลางนั้นถูกล้อม ความเรว็ เหนอื เสียง หรือทเ่ี รยี กกนั ว่า supersonic ในปี พ.ศ. 2489 รอบด้วยภาพสัญลักษณ์ท่ีสื่อถึงภารกิจในแต่ละครั้งที่มีเป้าหมายพา การค้นพบน้ีนับเป็นก้าวใหญ่ของเทคโนโลยีการบินท่ีพาเราให้เข้าใกล้ มนษุ ย์ไปสดู่ วงจันทร์ อวกาศมากข้นึ ไปอีก โดยวงนอกสุดเป็นภาพดวงดาวแต่ละดวงท่ีสื่อถึงคนแต่ละคน ท่ีได้ร่วมเดินทางไปยังดวงจันทร์ ยานบังคับการแต่ละลำ�แทนภารกิจ ภาพ X-stasy รอยเท้ารวม 12 รอย แทนคน 12 คนท่ีได้ไปเหยียบดวงจันทร์ ยิง่ มอง ภาพนอี้ ยา่ งละเอยี ด ฉนั ยง่ิ ไดเ้ รยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตรผ์ า่ นชน้ิ งานศลิ ปะท่ี เรียบง่ายแต่แฝงด้วยเรื่องราวสำ�คัญเกี่ยวกับอวกาศไว้มากมาย บนผืนผ้าใบนี้ จากภาพสวยๆ ท่ีนำ�เสนอเรื่องราวอันสำ�คัญของภารกิจอวกาศ ต่างๆ ในส่วนถัดไปของนิทรรศการจะเน้นภาพทีม่ สี สี นั ของจกั รวาลใน มุมมองที่ไมไ่ ด้มดื มดิ อย่างท่เี ราเห็นจากโลก ดาวฤกษ์ กล่มุ แกส๊ และ แสงสที ส่ี ะท้อนกนั ไปมาของวตั ถบุ นอวกาศนัน้ มคี วามสวยงามจนละ 31 กรกฎาคม 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพชุด “cunning cosmos” ภาพการฉลองครบรอบ 50 ปีของภารกิจอะพอลโล (บน) และภาพวงแหวนดาวเสาร์แบบละเอียดยิบ (ล่าง) สายตาไม่ไดเ้ ลยทีเดยี ว เนบิวลาเปน็ หนึ่งในส่งิ ท่ีไดร้ ับความสนใจเปน็ ภาพถ่ายเนบิวลานายพราน (Orion nebula) อย่างมากทั้งในวงการนักดาราศาสตร์และศิลปะ ด้วยความท่ีมันเป็น กลุ่มแก๊ส จุดกำ�เนิดของดาวฤกษ์ ท่ีน่าศึกษาเสมือนเป็นกุญแจไข ความลับของจักรวาล แถมยังมีสีสันที่สวยงามอย่างน่าอัศจรรย์ จนฉันเองยังไม่คิดว่าจะสามารถเห็นอะไรแบบน้ีได้จริงๆ บนอวกาศ นอกจากวันหนึง่ จะมีโอกาสไดข้ ้ึนไปพสิ ูจน์เสียเอง ภาพถา่ ยเนบวิ ลานายพราน (Orion nebula) จากกลอ้ งโทรทรรศน์ ทผี่ า่ นการแตง่ สเี พอ่ื ความคมชดั แตส่ ที ี่ไดจ้ ะยงั อยใู่ นชว่ งของแสงสที ่ี ปรากฏจรงิ ทส่ี ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยสายตาของเรา ฉนั สามารถยนื ยนั ไดว้ า่ เหมอื นจรงิ เพราะเมอ่ื คนื กอ่ นฉนั ไดเ้ รยี นรวู้ ธิ กี ารสอ่ งหาเนบวิ ลา นายพรานนี้ผ่านกล้องโทรทรรศน์เช่นกัน ครูของฉันได้บอกให้เล็งไป บริเวณทางใต้ของเข็มขัดกลุ่มดาวนายพราน ภาพท่ีได้เห็นนั้นคุ้มค่า แกก่ ารรอคอยจรงิ ๆ ฉนั ตื่นเตน้ มากๆ น่เี ป็นคร้ังแรกท่ีฉนั ได้เห็นสสี นั ของจักรวาลด้วยตาเปล่า แตน่ า่ เสยี ดายทขี่ นาดนถ่ี อื เปน็ หนงึ่ ในเนบวิ ลาสวา่ งทสี่ ดุ ฉนั กย็ งั ไมส่ ามารถจบั ภาพของมันมาได้ ภาพถ่ายจากแตล่ ะแหลง่ นนั้ ก็มีความ กรกฎาคม 2563 32

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพถ่ายเนบิวลานายพราน โดยองค์กรนาซ่า ภาพผลงานเนบิวลานายพราน ที่คุณ Brian Dickinson ขอบคุณแหล่งที่มาของภาพ https://www.nasa.gov/multimedia/ ได้สร้างสรรค์ขึ้นจากจินตนาการโดยสื่อผ่านศิลปะกระจกสี imagegallery/image_feature_151.html From: Astronomy Picture of the Day Credit & Copyright: Russell Croman แตกต่างกันออกไป เพราะกว่าจะได้ภาพถ่ายทางดาราศาสตร์ออกมา แตล่ ะภาพมาน้นั ต้องผา่ นการตัดต่อหรือใส่ฟลิ เตอร์ต่างๆ ตามแตจ่ ุด ประสงค์ของการศึกษา เรื่องของสียังมีผลในการบ่งบอกธาตุองค์ประกอบในวัตถุท่ีเรา พบเหน็ อกี ดว้ ย ฉนั ขอยกตวั อยา่ งภาพถา่ ยเนบวิ ลานายพรานโดยนาซา จะสังเกตเห็นว่าสีจะต่างไปจากส่ิงท่ีตาคนเราเห็นอย่างสิ้นเชิง โดยสี แดงคอื ซลั เฟอร์ สเี ขยี วคอื ไฮโดรเจน และสฟี า้ คอื ออกซเิ จน ทงั้ นเี้ ปน็ ผลมาจากการใชฟ้ ลิ เตอร์ในการถา่ ยภาพ วัตถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาธาตุ ประกอบของจกั รวาล เป็นต้น 33 กรกฎาคม 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ การถา่ ยทอดภาพแหง่ จกั รวาลไมไ่ ดม้ แี คเ่ พยี งการวาดและการถา่ ยภาพเทา่ นน้ั อยา่ งศลิ ปนิ ชอื่ คุณ Brian Dickinson ได้สอ่ื ถึงเนบวิ ลานายพราน และ “Quasar” (วัตถุอวกาศอันไกลโพน้ ท่ีสุดเท่าท่ีมนุษย์เราเคยรู้จัก ที่มีแสงสว่างในตัวเอง เจิดจ้ากว่าดาวฤกษ์ถึงหลายพันเท่า) ออกมาในรปู แบบของงานศลิ ปะกระจกสหี รือ \"stained glass\" ได้อยา่ งน่าทงึ่ มากๆ ภาพ Galactic Spinner ที่คุณ Brian Dickinson รังสรรค์ขึ้น โดยอ้างอิงมาจากภาพถ่ายทาง ดาราศาสตร์ของเควซาร์ (Quasar : Quasistellar Radio Sources)และ ภาพทางขวาเป็นภาพที่ คว้ารางวัลชนะเลิศจากการประกวดศิลปะอวกาศ: Astronomy meets the Arts Competition จัด โดย University of Warwick ภาพชุดเอกภพที่คุณ Lisa Price ใช้นิ้วมือ ละเลงสีอะคริลิกลงบนผืนผ้าใบ ภาพของคุณ Brian Dickinson สื่อถึงการลุกจ้าของดวงอาทิตย์ หรือเปลวสุริยะ (Solar Flare) อีกไฮไลต์หน่ึงของงานท่ีฉันช่ืนชอบ ที่เกิดจากการระเบิดที่ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูป เอามากๆ คือผลงานของคุณ Lisa Price คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทำ�ให้เห็นเป็นจุดสว่างวาบขึ้นมา นักศลิ ปะชอ่ื ดงั ผู้สรา้ งสรรค์ภาพของเอกภพ ด้วยนิ้วมือของเธอและสีอะคริลิกบนผ้าใบ ผลงานหลกั ๆ ของเธอคอื ภาพเอกภพท่ีไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากภาพถา่ ยโดยกลอ้ งฮบั เบลิ (Hubble) และจากผลงานเขยี นของคณุ Carl กรกฎาคม 2563 34

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ Sagan นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน อย่าง ภาพถ่ายของจริง โดยเหล่านักถ่ายรูปทางดาราศาสตร์ ที่เรียกกันว่า Astrophotographer เรื่อง “Cosmos” และ “Contact” บนซ้าย : North America Nebula (NGC 7000) ถ่ายโดยคุณ David Murren ถัดจากภาพวาดก็จะเป็นภาพถ่ายจาก บนขวา : ภาพพื้นผิวดวงจันทร์ ถ่ายโดยคุณ Steve Davies องคก์ รและสมาคมดาราศาสตรป์ ระจ�ำ แตล่ ะ เมือง เช่น เมือง Redditch, Birmingham และ Worcester astronomical society มานำ�เสนอจักรวาลในรูปแบบท่ีเสมือน จริงที่สุด ผ่านการใช้อุปกรณ์ถ่ายภาพท่ีมี เทคโนโลยขี ้นั สงู การได้เรียนรู้เกี่ยวกับจักรวาลและ ประวัติศาสตร์ของภารกิจทางอวกาศผ่าน ผลงานศิลปะ ช่วยปรับมุมมองทำ�ให้เร่ือง ราวยากๆ ทางวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องท่ีสนุก และน่าสนใจได้มากทีเดียว ใครจะไปรู้ว่าสิ่ง ท่ีไกลตัวสดุ ๆ อย่างอวกาศอนั ไกลโพ้นจะสง่ แรงบนั ดาลใจมาถงึ คนบนโลกอยา่ งเราๆ จน เกิดเป็นช้ินงานอันหลากหลายเทคนิคหาก แตล่ ว้ นสือ่ ถึงเปา้ หมายเดยี วกัน สง่ิ ท่มี นุษย์ ยังคงเฝ้าต้ังค�ำ ถาม และค้นหาคำ�ตอบอย่าง ไมม่ ที ีส่ นิ้ สดุ ขอบคณุ : หอศลิ ปะ Artrix และคุณครทู ่ปี รกึ ษา คุณ Valentina Mindoljevic กรกฎาคม 2563 35

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง by อาจารย์เจษฎ์ https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/ นวตั กรรมใหม่ของจฬุ าฯ ในยุค New Normal สเปรยเ์ พ่ิมประสิทธภิ าพ หนา้ กากผ้า สู้ฝนุ่ ส้เู ช้ือโรค ในยุคท่ีใส่หน้ากากเข้าหากัน จะใช้หน้ากากแบบ ใช้แล้วทิ้งทุกวันคงไม่ไหวแน่ ผมว่าคนส่วนใหญ่ เร่ิมใช้หน้ากากผ้ามากขึ้น แล้วทำ�อย่างไรให้หน้ากากผ้า มีประสทิ ธภิ าพในการกรองฝนุ่ และเชือ้ โรคเพ่มิ ขึ้นละ่ ? ผมขอท้าวความนิดนึงครับ เมื่อตอนต้นปี พ.ศ. 2563 ทผ่ี ่านมา ในช่วงทม่ี วี กิ ฤตฝนุ่ ละอองพิษ PM2.5 หนาแนน่ และ ช่วงโควิด-19 จนทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดเสวนา วิชาการ โดยมีคณาจารย์หลายท่านมาช่วยกัน ระดมความคิด ในการหาทางออกของวิกฤต PM2.5 (และมผี มเอง เปน็ พธิ ีกร การเสวนาคร้งั นนั้ ) ซงึ่ มไี ฮไลต์สำ�คญั อย่างนงึ กับการประกาศ นวัตกรรมของคณะเภสัชศาสตร์ ที่ทำ�วิจัยพัฒนา \"สเปรย์ สำ�หรบั ฉดี พน่ หนา้ กากผ้า\" ใหม้ ีประสิทธิภาพสูงข้ึน ทงั้ ต่อตา้ น ฝุน่ PM2.5 และตา้ นเชื้อโรคในอากาศได้ กรกฎาคม 2563 36

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง มาวันน้ี นวัตกรรมที่น่าภูมิใจดังกล่าวของชาวจุฬาฯ ได้รับ เรอื่ งความปลอดภยั ทางคณะผ้วู จิ ัยจุฬาฯยนื ยันวา่ สารเคมี การผลติ ออกขายเปน็ ผลติ ภณั ฑจ์ รงิ ๆ แลว้ ครบั ดว้ ยการคดั เลอื ก ที่ใช้ในการทำ�สเปรย์น้ี สามารถนำ�มาใช้พ่นหน้ากากผ้าได้อย่าง ให้แบรนด์ท่ีมีชือ่ เสยี งมายาวนาน อย่างแบรนด์ Tigerplast เป็น ปลอดภยั ไมห่ ลดุ ออกมาจากเสน้ ใยใหเ้ ปน็ อนั ตรายตอ่ ระบบทาง พารต์ เนอร์รว่ มผลิต และเผยแพรน่ วัตกรรมน้ีไปสสู่ าธารณชน เดินหายใจ สามารถนำ�ไปใช้ได้คนทุกเพศทุกวัย แม้กระท้ังเด็ก สถานการณ์ในตอนน้ี เร่ืองฝุ่น PM2.5 รวมทั้งวิกฤตโรค อนบุ าลหรือผู้สูงอายุ (เพยี งแคไ่ มค่ วรนำ�มากิน กลืน หรือพ่นเขา้ โควดิ -19 จากเช้ือโคโรนาไวรัสสายพนั ธุ์ใหม่ ท่ีจะอยู่กบั พวกเรา สูร่ ่างกายโดยตรง) ไปอีกนาน และจำ�เป็นอย่างมากทีเ่ ราจะต้องมีเครอื่ งมอื ปอ้ งกนั ในยคุ new normal ทเ่ี ราคงตอ้ งใสห่ นา้ กากออกไปนอกบา้ น สขุ ภาพ อยา่ งหนา้ กากประสทิ ธภิ าพสงู ทต่ี อ้ งสงู ขน้ึ กวา่ หนา้ กาก ทกุ วนั แบบนี้ จะใหซ้ อื้ หนา้ กากอนามยั แบบใชผ้ า่ ตดั มาใชแ้ ละทง้ิ ผา้ ธรรมดาที่ใช้กนั อยู่ ทุกวัน ก็คงสู้ค่าใช้จ่ายไม่ไหว วิธีการเอาหน้ากากผ้าซ่ึงสามารถ ตามข้อมูลที่ระบุไว้ สเปรย์ Tigerplast MaskShield+ นี้ ซักใช้ใหม่ มาพ่นสเปรยเ์ สรมิ ประสิทธิภาพการกรองแบบสเปรย์ เม่ือฉีดพ่นลงบนหน้ากากผ้าธรรมดาและทิ้งให้แห้งแล้ว สาร MaskShield+ นน้ั น่าจะเป็นทางออกทคี่ มุ้ ค่ากว่ากนั เยอะ และ พอลิเมอร์ท่ีเป็นเกรดท่ีใช้กันทางการแพทย์ ซึ่งปลอดภัยต่อลม ยังช่วยส่งเสริมให้กำ�ลังใจนักวิจัยชาวไทยได้สร้างนวัตกรรมใหม่ หายใจของเราทอี่ ยใู่ นสเปรย์ จะไปชว่ ยท�ำ เสน้ ใยของหนา้ กากผา้ ออกสู่สังคมดว้ ยครบั นนั้ เชอื่ มตอ่ กนั ไดเ้ รยี บละเอยี ดมากขน้ึ พวกรเู ปดิ ทอี่ ยบู่ นพน้ื ผวิ ของหนา้ กากจะมขี นาดเลก็ ลง สามารถเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการก รองของหนา้ กากผา้ ใหด้ ขี น้ึ โดยทผี่ สู้ วมใสย่ งั สามารถหายใจเขา้ ออกได้ (ไมเ่ หมอื นกับการทีบ่ างคนเอาพวกสเปรยก์ นั น้ำ� มาฉีด พน่ หน้ากากจนตนั หายใจไม่ออก) สเปรยเ์ พมิ่ ประสิทธิภาพการกรองหนา้ กากผา้ ชว่ ย 3 เร่ือง คอื 1. สเปรย์จะชว่ ยเพิ่มประสิทธภิ าพกรองเชอ้ื โรคในอากาศ (air microbial filtration) ได้ดีข้นึ ถงึ 142% (ทดสอบโดยนกั วจิ ยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย) 2. และช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการกรองฝ่นุ (particle filtration) ได้ดีข้ึน 83% (ทดสอบด้วยวิธีมาตราฐานสากล ASTM F2299 โดย นกั วจิ ยั จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) 3. สะทอ้ นฝนุ่ และไวรัสได้ นอกจากเพิ่มประสิทธภิ าพด้านการ กรองแลว้ สเปรย์ MaskShield+ ยงั มสี ารทม่ี คี วามสามารถ ในการปรับประจุของหน้ากากผ้า ให้เป็นประจุเดียวกันกับ อนุภาคของฝุ่นและไวรัสท่ีเข้ามาใกล้ (ซ่ึงตามหลักเรื่อง ประจแุ ลว้ เมือ่ อนภุ าคของประจทุ ีเ่ หมือนกัน มาอยใู่ กลก้ ัน กจ็ ะมแี รงผลกั ออกจากกนั ) ดงั นน้ั สเปรยจ์ งึ ท�ำ ใหเ้ กดิ แรงผลกั ให้ฝ่นุ และไวรัสออกไป ไม่เข้ามาใกล้หรือเกาะหน้ากาก 37 กรกฎาคม 2563

เ3บ5อ้ื งปหลลางั ชนดิ ใหมข่ องโลก ดร.ชวลิต วิทยานนท์ ชนิดท่ี 1 ปลาซิวเจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์ Amblypharyngodon chulabhornae Vidthayanon & Kottelat, 1990 ในประเทศไทย ปลาท้งั นำ�้ จดื และ ที่อำ�เภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย แต่ได้มา กรมประมงเหน็ วา่ การคน้ พบใหมน่ น้ี า่ ทะเลนา่ จะส�ำ รวจพบไดม้ ากกวา่ แบบเยนิ ๆ สบิ กวา่ ตวั ปญั หาคอื จะหาตวั อยา่ ง จะตงั้ ชอื่ ใหแ้ กผ่ ทู้ ม่ี คี ณุ ปู การแกก่ ารประมง 2,900 ชนดิ ซงึ่ สว่ นมากกค็ น้ พบและตงั้ ชอื่ ทส่ี วยๆ ทจ่ี ะเอามาเปน็ ตน้ แบบ holotype ทง้ั ของไทย จงึ ด�ำ เนนิ การขอพระราชทานพระ โดยชาวตา่ งประเทศ แต่ใน 2-3 ทศวรรษ รูปถ่ายและวาดได้อย่างไร ในที่สุดก็ใช้เวลา อนุญาตใช้พระนามของสมเด็จพระเจ้า ท่ีผ่านมา ก็มีคนไทยหลายคนค้นพบปลา และการเดนิ ทางอย่กู วา่ 4 ปี จึงได้มาตวั นึง ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคร และตง้ั ชอ่ื วิทยาศาสตรป์ ลามากขึน้ จากการสำ�รวจแหล่งน้ำ�ท่ีอำ�เภอบางบัวทอง ราชกุมารี (พระยศขณะน้ัน) และการจะ ปลาซิวเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์น้ีพบจากการ จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นงานของกรมประมง เขียนรายงานนั้นก็ต้องเทียบกับชนิดเดิม สำ�รวจแหล่งน้ำ�ของกรมประมงเมื่อกว่า ร่วมกบั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 3 ชนิดท่ีพบในอินเดียถึงพม่า ซ่ึงได้รับ 30 ปกี อ่ น แตพ่ อมาเทยี บกบั key (รปู วธิ าน) ความรว่ มมือจากผเู้ ขียนรว่ ม Dr. Maurice มันก็แปลกๆ ไม่เข้าพวก ทางกรมประมง Kottelat แล้วตีพิมพ์ ใน Bull. Natural เ ล ย ถ า ม ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ป ล า ฝ ร่ั ง ค น นึ ง History of Siam Soc. (ดร.ไทสัน โรเบิร์ต) ท่ีมาแวะเวียนมาท่ี ฉบับท่ี 38 (1990) กรมประมงบอ่ ยๆ ได้ความวา่ มนั เปน็ สกลุ ที่ไม่เคยมีรายงานในน่านน้ำ�ไทยมาก่อน Holotype คือตัวอย่างต้นแบบ อาจเพราะมันไม่มีสีสันสะดุดตา และตัว ที่ใช้ในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของชนิดนั้นๆ เช่นในคน Homo sapiens เล็กแบบลูกปลาตะเพยี นทว่ั ๆ ไป หลงั จากนนั้ มกี ารตามลา่ ตวั อยา่ งปลา ก็ใช้ศพของ Calorus Linnaeus ที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ Upsala ชนิดน้ีต่อ แล้วไปพบโดยบังเอิญจากการ ประเมินแหล่งน้ำ�โครงการประมงหมู่บ้าน กรกฎาคม 2563 38

QSuciiz บา้ นนักคิด ฉบบั นเ้ี ราไปดเู ฉลยกนั ฮะวา่ เครอ่ื งมือท่ใี ช้วัดข้อมูลสภาพอากาศทงั้ 6 อย่างที่เหมยี วถามนน้ั เรยี กวา่ อะไร 1. ทศิ ทางลม 1W I N D V 2A N E 2. ความเรว็ ลม N 3. อณุ หภมู ิ 4. ความชนื้ ในอากาศ E 5. ปริมาณน�้ำ ฝน 6. ความกดอากาศ 3T 4 H E R M O M E T E 5R ผู้ไดร้ ับรางวัลประจำ�ฉบับที่ 87 YO A รางวลั ท่ี 1 ปน่ิ โต NSTDA Eco Go Green GM I ได้แก่ คณุ สมฤทธ์ิ พทุ ธนั บตุ ร 6B A R O M E T E R N รางวลั ที่ 2 สมุดโนต้ I love science G ไดแ้ ก ่ คุณฉมาพร ขจรบุญ OT คณุ ปณาลี เชิดชูธรรมขจร คณุ วิลาสินี ทองฉิม ME A ER U TG EE R คำ�ถามประจ�ำ ฉบับท่ี 87 รางวัลประจำ�ฉบับที่ 87 เมอ่ื กเ๊ี หมยี วพลกิ ไปอา่ นคอลมั นห์ อ้ งภาพสตั วป์ า่ เมอื งไทย รางวลั ท่ี 1 ชดุ กฟิ ตเ์ ซตนกั ดม่ื (ขวดน�ำ้ + มาฮะ ไมอ่ ยากจะเชอ่ื เลยวา่ “หมขี อ” ไมใ่ ช่ “หม”ี เมอื่ มนั จานรองแก้ว world scientist) ไมใ่ ชห่ มี แลว้ มนั เปน็ ญาตกิ บั สตั วต์ ระกลู ไหนกนั ฮะเนย่ี จำ�นวน 1 รางวลั คุณผ้อู ่านช่วยบอกเหมยี วหน่อย สง่ คำ�ตอบมาร่วมสนุกไดท้ ่ี รางวลั ท่ี 2 กองบรรณาธกิ ารสาระวิทย์ ฝา่ ยสร้างสรรคส์ ื่อและผลติ ภัณฑ์ พวงกุญแจผ้าหม้อหอ้ ม จำ�นวน 3 รางวัล สำ�นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหนึง่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 หมดเขตส่งค�ำ ตอบ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2563 คำ�ตอบจะเฉลยพรอ้ มประกาศรายชื่อผไู้ ด้รับรางวลั ใน สาระวิทย์ ฉบบั ที่ 89 หรือสง่ ทางโทรสารหมายเลข 0 2564 7016 หรือทาง e-mail ท่ี [email protected] อยา่ ลมื เขียนชื่อ ท่อี ยู่ มาดว้ ยนะฮะ ส�ำ หรับของรางวลั เราจะจดั ส่งไปให้ทางไปรษณยี ์ 39 กรกฎาคม 2563

นคกั �ำ วคทิ มย์ A scientific truth does not triumph by convincing its opponents and making them see the light, but rather because its opponents eventually die กองบรรณาธิการ and a new generation grows up that is familiar with it. สาระวทิ ย์ - Max Planck - สจั ธรรมทางวทิ ยาศาสตรห์ าได้มชี ัยจากการโน้มนา้ วใจฝ่ายตรงข้าม และท�ำ ให้พวก เขามองเหน็ แสงสว่าง แทนท่ีจะเป็นเชน่ นัน้ ศตั รขู องมันจะตายไปในท่สี ดุ และชนรนุ่ ใหม่ทเี่ ติบโตขนึ้ จะคุ้นเคยกับมนั ตา่ งหาก - มกั ซ์ พลังค์ - https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Max_Planck_(1858-1947).jpg มกั ซ์ พลังค์ ((23 เมษายน ค.ศ.1858 - 4 ตลุ าคม ค.ศ.1947) มักซ์ คารล์ แอนสท์ ลดุ วจิ พลังค์ (Max Karl Ernst Ludwig Planck) เป็นนกั ฟิสกิ สช์ าวเยอรมนั ผบู้ ุกเบิกการศึกษา ทฤษฎคี วอนตมั อนั เปน็ สว่ นส�ำ คญั ในการศกึ ษาฟสิ กิ สส์ มยั ใหม่แมใ้ นชวี ติ ตอนแรกของเขาจะดรู าบรนื่ โดยเขามคี วามสามารถ ทงั้ ทางดนตรีและฟิสกิ ส์ แต่เขากลบั เดนิ ไปในเส้นทางแห่งนกั ฟิสกิ สท์ ฤษฎี จนเขาได้ตงั้ ทฤษฎีทางฟสิ ิกสท์ ่สี �ำ คญั ตอ่ ฟสิ ิกส์ สมัยใหม่ นนั่ คอื กฎการแผ่รงั สีของวตั ถุด�ำ ของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับวา่ ขาดไม่ได้เลยส�ำ หรับการ ศึกษากลศาสตรค์ วอนตัม ใบสมัครสมาชิก สทิ ธิพเิ ศษสำ�หรบั สมาชิก - ไดร้ บั “นติ ยสารสาระวิทย”์ e-magazine สามารถสมัครผา่ นชอ่ งทางออนไลนไ์ ดท้ ่ลี ิงก์ รายเดอื นอยา่ งตอ่ เนื่องทางอเี มล https://forms.gle/jnj86w6J58Y9Nqqb8 โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย หรือ Scan QR Code - ซ้ือหนงั สือของ สวทช. ได้รับส่วนลด 20% ณ ศนู ย์หนงั สือ สวทช. อุทยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย https://bookstore.nstda.or.th/ ติดต่อกองบรรณาธิการสาระวิทย์ ได้ทางอีเมล [email protected] ท่ีอยู่ ฝา่ ยสรา้ งสรรคส์ ่ือและผลิตภัณฑ์ (MPC) สำ�นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ 111 อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึง่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 สาระวทิ ย์ เป็นนิตยสารอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-magazine) รายเดอื น มจี ุดประสงค์เพอ่ื เผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารและความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทงั้ ของไทยและต่างประเทศ ใหแ้ ก่กล่มุ ผอู้ า่ นท่ีเป็นเยาวชน กรกฎาคม 2563 40และประชาชนทวั่ ไปที่สนใจในเรอื่ งดงั กล่าว โดยสามารถดาวน์โหลดไดฟ้ รที ่ี www.nstda.or.th/sci2pub/ หรอื บอกรบั เปน็ สมาชิกไดโ้ ดยไม่เสยี ค่าใช้จ่ายใดๆ จดั ทำ�โดย ฝ่ายสร้างสรรคส์ ่อื และผลิตภัณฑ์ สำ�นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) ขอ้ ความตา่ งๆ ทปี่ รากฏในนิตยสารอเิ ล็กทรอนิกส์ฉบบั นี้ เป็นความเหน็ โดยอสิ ระของผ้เู ขียน สำ�นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ไมจ่ ำ�เปน็ ต้องเหน็ พ้องดว้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook