Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book สาระน่ารู้-นอนหลับ

E-book สาระน่ารู้-นอนหลับ

Published by Thalanglibrary, 2020-05-07 03:25:16

Description: E-book สาระน่ารู้-นอนหลับ

Search

Read the Text Version

สาระนา่ รู้ ฝัน VS ไมฝ่ นั แบบไหนคอื “หลับสนิท” จรงิ ๆ ? ห้องสมุดประชาชนอาเภอถลาง จังหวัดภเู กต็

ไม่ฝัน แปลว่า “นอนหลับสนิท” ? จริงๆ แลว้ มนษุ ยเ์ ราฝันขณะนอนหลับทุกคนื ยาว่าทกุ คนื เพียงแตใ่ นหลายๆ คืนคุณอาจจะจาไม่ได้ ว่าฝัน ฝนั ไหนทีเ่ ราจาได้ คอื ฝนั ทีเ่ ราตน่ื ในขณะทเ่ี รา กาลงั ฝนั ไปกลางเร่ือง อาจจะเปน็ ชว่ งทีเ่ พง่ิ เขา้ นอนได้ ไมน่ าน ช่วงกลางดึก หรือช่วงกาลงั จะรุ่งเชา้ หากคนื ไหนทเ่ี รารู้สกึ ว่าเราไมไ่ ดฝ้ นั เลย อาจเปน็ เพราะเรา นอนหลบั ๆ ตน่ื ๆ ไมไ่ ด้นอนหลับยาว ๆ จนทาใหเ้ กดิ ความฝนั มากกว่า

ทาไมเราถึง “ฝนั ” ? การนอนหลบั ของคนเรามักจะฝันอยู่เสมอ เป็น กระบวนการทางสมองที่ทางานขณะนอนหลับ ใน 1 คืนเราไม่ได้ฝันแค่เร่อื งเดยี ว โดยเฉลยี่ แล้วแต่ละคนื เรา อาจฝนั ได้มากถึง 4-5 เร่อื ง แต่เรามกั จะจาความฝันได้ ไมห่ มดทุกเรือ่ ง มกั จะจาเรอ่ื งสุดทา้ ยท่ีฝนั ได้เพราะเปน็ ชว่ ยใกล้จะตนื่ มากท่สี ดุ บางคนฝนั เปน็ ภาพสี บางคน อาจฝันเปน็ ภาพขาวดา โดยทฤษฎีแล้วไมไ่ ด้มคี วาม แตกตา่ งกันแต่อยา่ งใด สาเหตุทีเ่ ราฝันยังไม่สามารถระบไุ ด้อย่างชดั เจน แตค่ วามฝนั ไมไ่ ดม้ ีขนึ มาเฉย ๆ เพราะการทีเ่ ราฝนั ขณะนอนหลบั เป็นการช่วยปลอบประโลมจติ ใจราวกับ ได้ทาการบาบัดจติ ด้วยตัวเองอยา่ งที่เราคาดไมถ่ ึง

ข้อดขี องความฝัน นอกจากความฝันตามความเช่ือทางไสยศาสตร์ จะให้คาทานายตา่ ง ๆ นานา ไดแ้ ลว้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เอง ความฝนั ก็มปี ระโยชนต์ อ่ เราเช่นกนั เราสามารถ ฝันไดต้ ังแต่เรือ่ งไรส้ าระทเ่ี กิดขึนในช่วงชวี ิตของเราใน ตอนนัน ไปจนถงึ เรื่องทีเ่ ราหวาดกลัว หรอื กงั วลใน อดีต รวมไปถึงความทรงจาอนั เลวร้าย สถานการณ์ ตา่ งๆ ทเี่ กิดขนึ ในชวี ิตจรงิ แต่เราพยายามหลกี เลี่ยงที่ จะพบกับส่ิงเหลา่ นัน การทเ่ี ราฝนั ถงึ สิ่งแย่ ๆ เหลา่ นี เป็นกระบวนการทางสมองท่อี ยากบาบดั จิตใจของเรา เองใหค้ นุ้ ชนิ และยอมรับกับสิง่ ท่ีเกิดขนึ หรือสงิ่ ที่เรา หวาดกลวั เม่อื เราเปิดใจยอมรับกับสิ่งเหล่านันในความ ฝัน จิตใตส้ านึกของเรากจ็ ะเริม่ คอ่ ย ๆ ปรบั ตัว และ รูส้ กึ หวาดกลัว หรือรู้สกึ แยต่ อ่ เร่ืองราวเหล่านนั นอ้ ยลงได้ ราวกบั เราไดเ้ ลา่ เรอื่ งที่เรากังวลใจให้กับ จิตแพทย์ฟัง ดังนนั จึงเรียกไดว้ า่ ความฝัน สามารถลด อาการของโรคซมึ เศรา้ ได้

ในขณะเดยี วกนั หากเราพยายามหลกี เล่ยี งท่จี ะ ไม่พบไมเ่ จอไม่เห็นเรอ่ื งราวเหล่านนั แมก้ ระทั่งในฝัน เรากอ็ าจจะต้องพบกับเรอ่ื งแย่ ๆ เหลา่ นันในความฝัน ไปเรื่อย ๆ ไม่จบไมส่ นิ คุณอาจต้องเผชิญกบั ภาวะฝัน ร้ายซา ๆ เพราะคณุ ยงั คงไมส่ ามารถปล่อยวางจาก เรื่องนนั ๆ ได้ ดังนนั หากคุณสามารถเผชญิ กบั สง่ิ ทเ่ี รา ไม่อยากเผชิญในความฝนั ได้ คณุ อาจสามารถปลดลอ็ ก ตวั เองจากสิ่งทีเ่ รากงั วล หรือความทรงจาทเ่ี ป็น บาดแผลในจติ ใจลึก ๆ ของคุณได้จากการฝนั อยา่ งไรกต็ าม หากเรามคี วามฝันทดี่ ี ก็สามารถ ชว่ ยสรา้ งความทรงจาดี สร้างบรรยากาศที่ดหี ลงั จาก ต่นื นอนได้ ส่งผลต่อจติ ใจทีเ่ บิกบานไปตลอดทงั วันได้ ด้วยเชน่ กนั

ทาอยา่ งไรเราถึงจะ “ฝันด”ี ? แม้วา่ ฝันร้ายกส็ ามารถสง่ ผลดตี ่อจิตใจของเราได้ แต่ถ้าเลือกได้ หลายคนคงอยากมีฝนั ดีมากกว่า ปัจจัยที่จะทาใหเ้ ราฝนั ดไี ม่สามารถระบุ ไดช้ ัดเจน เพยี งแต่มีปจั จยั เสรมิ บางอยา่ งทอ่ี าจสง่ ผลกระทบตอ่ ความฝนั ในคา่ คนื นนั ๆ ได้ นันคือสภาพจิตใจ และความรู้สึกนกึ คดิ ของเราเอง กอ่ นเขา้ นอน ใครท่ีเขา้ นอนหลงั จากได้ดู หรอื ไดฟ้ งั เร่ืองราวดี ๆ กจ็ ะมี โอกาสนอนหลบั ฝนั ดีมากกวา่ คนท่ีคร่นุ คดิ แต่เรอื่ งรา้ ย ๆ เครยี ด ๆ แม้กระทั่งส่ิงทเ่ี กิดขึน คาท่พี ูด คนที่คยุ ด้วย เร่อื งทคี่ ุยกนั ระหว่างวนั ก็ อาจจะมาโผลใ่ นความฝนั ของเราในคา่ คนื นนั ไดเ้ ช่นกัน คุณภาพในการนอนก็สาคญั เชน่ กัน อยา่ งทบ่ี อกไปแล้ววา่ การ นอนหลบั สนิทจะทาใหเ้ ราฝนั ได้ ดงั นันการเตรยี มตวั ให้ร่างกาย และ สมองผ่อนคลายอยา่ งเตม็ ที่ จงึ จะชว่ ยใหเ้ รานอนหลบั ไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ • อาบนาอุ่น หรือแช่นาอนุ่ ใหส้ บายตัว • ด่มื นา หรือนมอ่นุ ๆ • ปรบั อากาศในหอ้ งนอนใหส้ บาย ไม่ร้อนหรอื หนาวจนเกนิ ไป ให้ตัวแห้ง ไม่มีเหงอ่ื ตลอดคนื • งดใช้อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ทกุ ชนิด รวมถงึ งดการดทู ีวกี ่อนเขา้ นอน • ปดิ ไฟในหอ้ งนอนใหม้ ืด หรือมีเพยี งแสงไฟสลวั ๆ • ปิดเพลง หรือเปิดเพยี งเพลงเบา ๆ ทเ่ี ป็นเพลงชา้ ฟังสบาย • จุดเทียนหอม หรอื ฉีดสเปรย์ทีม่ ีกลิน่ หอมท่ีชว่ ยให้จติ ใจผอ่ นคลาย เชน่ กลิน่ ของดอกลาเวนเดอร์ • หากหลบั ตานอนเฉยๆ ไป 15-30 นาทแี ลว้ ยงั ไม่งว่ ง ให้ลกุ ขนึ มาทา กจิ กรรมเบาๆ กอ่ นจนกวา่ จะง่วง เช่น ฟังเพลง อ่านหนังสอื (ยงั คงงด เวน้ จากทวี ี และอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส)์ • ช่วงหลับตานอน ใหน้ กึ ถึงเรือ่ งดี ๆ ท่เี ราอยากฝันถึง

หากสดุ ท้าย ทาทกุ วิธแี ลว้ ยังคงมปี ัญหาในการนอน หลบั อยู่ ควรปรกึ ษาแพทย์เพือ่ ทา sleep test วเิ คราะห์ ปญั หาการนอนหลับอยา่ งจรงิ จัง ผ้เู ขา้ รบั การตรวจ ควรพบแพทย์เฉพาะทางดา้ นโรคการนอนหลบั โดยตรง

ขอขอบคุณ ข้อมลู :huffpost.com,webmd.com, National Institute of Neurological Disorders and Stroke


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook