Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fundamentals of Logistics Management

Fundamentals of Logistics Management

Published by Thalanglibrary, 2021-02-13 06:34:09

Description: Fundamentals of Logistics Management สนใจข้อมูลเพิ่มเติม สำนักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

Search

Read the Text Version

48   รปู ที่ 6 แสดงแผนผงั พ้นื ทีค่ ลังสินคาทวั่ ไป 1.1 ผงั แสดงพื้นที่ทางเขาออกของตัวอาคารคลังสินคา 1.2 ผงั แสดงพื้นท่ีในการรบั สินคา 1.3 ผงั แสดงพื้นท่ีที่ใชในการจัดเกบ็ สินคา 1.1 ผังแสดงพน้ื ที่ท่ีใชในการควบคุมการปฏบิ ตั ิการ 1.2 ผังแสดงพืน้ ท่ใี นการจดั สงสินคา โดยธรรมชาตขิ องตัวอาคารคลังสนิ คา มกั ถูกออกแบบใหมลี ักษณะที่คลายคลึงหรือ เหมือนกันแทบทุกอาคาร แตส่ิงท่ีแตกตางกันของคลังสินคาแตละแหงคือ เร่ืองของพื้นท่ี คลังสินคา ซึ่งสงผลตอการออกแบบตัวอาคาร ดังนั้นการออกแบบอาคารคลังสินคาจะตอง คํานึงถึงพื้นที่ของการเดินทางของรถบรรทุกขนสงซ่ึงมีขนาดยาว เน่ืองจากจะทําใหเกิด ความยุงยากในชวงเวลาท่ีมีการเขาออกของรถบรรทุกจํานวนมาก ดังจะแสดงใหเห็นถึง บริเวณโดยรอบของตวั พื้นท่ีคลังสนิ คา และอาคารคลังสินคา ดงั รูปประกอบ

49   รปู ท่ี 7 แสดงการจัดแบงพ้นื ที่ในคลงั สินคา รปู แบบตา ง ๆ 2. การกําหนดสัดสวนการใชพื้นท่ีท่ีเปนสวนประกอบภายในคลังสินคา สามารถ จดั แบง พ้ืนทเ่ี ปน สว น ๆ ไดด งั นี้ 1) ทางเดินหลัก (Main Aisles) ทางเดินหลักจะทอดยาวไปตามแนวทาง ของอาคารคลังสินคา ทางเดินหลักมักจะมีความกวางอยูท่ี 2.0–4.0 เมตร ตามความ เหมาะสม โดยปกติควรใหร ถยกขน 2 คนั สามารถสวนทางกนั ไดอยา งสะดวก และคลอ งตัว 2) ทางเดินของคน (Personal Aisles) จะมีความกวาง เทากับ 0.5 เมตร 3) ทางเดินสําหรับรถเข็นมือ (Hand Truck) จะมีความกวาง เทากับ 1 เมตร รถเขน็ มือเปนอุปกรณขนถา ยท่ีใชระบบไฮดรอลิกในการยกสนิ คาใชแรงงานคนในการ ควบคุม มคี วามสามารถในการยกขนไดประมาณ 1,000 กโิ ลกรัม เหมาะสาํ หรบั พ้ืนทแ่ี คบ 4) ทางเดินสําหรับรถยกขน จําพวก สแต็กเกอร (Stacker) และทักค (Truck) ท่ีมีลักษณะเปนรถบรรทุก เชน รถฟอรคลิฟท (Forklift Truck) จะมีความกวาง เทากับ 1.5 เมตร ความกวางของรถอาจมีการเผื่อทางเดินเพ่ิมเติมไวอีกประมาณ 0.2–0.4 เมตร 5) ทางเดินพิเศษ (Special Aisles) ซึ่งเปนทางเดินบริการ (Service Aisles) ที่มีจุดมุงหมายไวตรวจตราสินคาในการวางสินคาเปนของกองขนาดใหญ ซึ่งอาจ ตอ งเปน ทางเดนิ ทที่ ําใหสามารถเขา ถึงกองสนิ คา เพือ่ ตรวจสอบได 3. การกําหนดพ้ืนท่ีสําหรับสนับสนุนการเก็บรักษาสินคา ไดแก พ้ืนที่รับสินคา บรรจุหีบหอ จายสินคา พื้นท่ีสํานักงาน และพื้นท่ีอ่ืน ๆ เพื่อปฏิบัติการสนับสนุนการเก็บ

50   รกั ษาสินคา ซงึ่ ควรทาํ การวางผงั (Layout) อยางเหมาะสมตามสภาพ และความจําเปนของ พ้นื ทีโ่ ดยการจดั วางผังตอ งพิจารณาปจ จยั ตาง ๆ ดังนี้ 1) ลักษณะของคลังสินคาเปนรูปแบบใด เชน คลังหองเย็นเก็บวัตถุดิบ หรือยาขวดเล็ก ๆ แตมีมูลคาสูงใชพ้ืนที่ในการเก็บรักษาไมมากนัก สวนคลังสินคาที่เก็บ วัตถุดิบทางการเกษตร เชน ขาว หรือมันสําปะหลัง จะตองใชพื้นท่ีในการจัดเก็บกวาง และ มหี ลังคาครอบคลุมมดิ ชดิ เพ่อื ปอ งกันละอองจากฝน เปน ตน 2) ความยาวในแนวตงั้ หรือแนวนอนเปน อยางไร 3) กําหนดพ้ืนที่ทางเดินใหมีสัดสวนเหมาะสมกับพ้ืนที่ใชสอยในการ สนับสนุนการเก็บรกั ษา 4) จดั ลาํ ดับความเหมาะสมของงานในแตล ะสว น 4. การกําหนดทิศทางการเก็บรักษาสินคา เปนปจจัยท่ีสําคัญตอการใชพื้นที่ให เกิดประโยชนอยางคุมคา การเลือกทิศทางที่เหมาะสมจะชวยใหการใชพ้ืนท่ี รวมท้ังการ เคล่ือนยายของสินคาท้ังการนําเขาเก็บและการนําออกไปจายใหเกิดประโยชนมากที่สุด การกําหนดทิศทางการเก็บรักษาจําเปนตองศึกษาถึงมาตรฐานของสินคา พาเลท ชั้นวาง สนิ คา ชองทางเดินมาตรฐาน ชองทางเดินควรเปนชอ งทางทีเ่ ดนิ ทางขวามอื เปน หลกั ดวย 5. การกาํ หนดตําแหนงของสนิ คา เปน การกาํ หนดพนื้ ที่การจัดเก็บสินคา โดยบอก เปนตําแหนงที่เก็บของสินคา กําหนดอยูในแผนผังพ้ืนที่ ติดไวท่ีตัวช้ันวาง หัวเสา ฯลฯ มัก กาํ หนดเปนตวั อกั ษร หรอื หมายเลข 6. พื้นที่ท่ีไมกอใหเกิดประโยชน ในการจัดเก็บควรศึกษาถึงพื้นที่ใดท่ีไมกอใหเกิด ประโยชนใ นการจัดเกบ็ ในทางปฏบิ ัติพนื้ ทีใ่ นลกั ษณะนไ้ี มควรมีในคลงั สินคา 6.6 การพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทาํ งานในคลงั สินคา จะเห็นไดวา การจัดการคลังสินคามีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะที่ เก่ียวของกับดานการขนสง โดยทางโลจิสติกสถือวาตนทุนคลังสินคาเปนตนทุนที่สําคัญไม นอย องคกรขนาดใหญจะเล็งเห็นถึงความสําคัญของกระบวนการดานการขนสงหรือการ บริหารสต็อก เนื่องจากกระบวนการทํางานในดานน้ีจะสงผลโดยตรงตอตนทุนโลจิสติกส และประสิทธิภาพในการตอบสนองลูกคาทั้งในดานของเวลาในการดําเนินการ และคุณภาพ มาตรฐานในการสงมอบสินคาใหครบตามจํานวน และเปนไปอยางท่ีลูกคาตองการ ดังน้ัน การการพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการงานคลังสินคาโดยการหาแนวทางใน การปรับปรุงและพัฒนาคลังสินคาและศูนยกระจายสินคาท่ีบริษัทและองคกรตาง ๆ ควร เลือกใช เพ่อื ยกระดับกระบวนการทํางานโลจสิ ตกิ ส ไดแ ก 1. Drop-Shipping เปนการลดภาระสินคาท่ีผานคลังสินคา เปนวิธีการวางแผน จัดหาวัตถุดิบจากซัพพลายเออร หรือการวางแผนการผลิตของโรงงานใหเสร็จทันการใช

51   งานหรือสงมอบ โดยบริษัทจะมีการจัดเก็บท่ีซัพพลายเออร หรือที่โรงงานแทนการเก็บที่ คลังสินคาโดยเม่ือมีความตองการในตัวสินคาเกิดข้ึนสินคาจะถูกสงมอบโดยตรงจาก ซัพพลายเออรถึงโรงงาน หรือสงมอบตรงจากโรงงานถึงลูกคา วิธีการน้ีถือวาเปนวิธีการที่ดี ที่สุดตอบริษัท เพราะทําใหบริษัทไมตองมีภาระดานงานคลังสินคาแตอยางใด และทําให ตนทุนโลจิสติกสโดยรวมลดลงแตมีขอดอยตรงที่บริษัทจะตองมีการวางแผนดานการจัดหา การผลติ และการสงมอบท่ดี ีเยย่ี มวิธีการน้โี ดยสวนมากจะนํามาใชก ับสนิ คา จาํ พวกสงั่ ผลิต 2. Cross-Docking คือ การสงผานสินคาเขาคลัง เปนอีกวิธีการหน่ึงที่ชวยให ประสิทธิภาพดานคลังสินคาของบริษัทสูงข้ึน สินคาจะถูกสงเขามาในคลังสินคา เพียงช่ัวคราวเปนชวงระยะเวลาส้ัน ๆ เพ่ือลําเลียงขึ้นรถขนสงรวมกับสินคาอ่ืน ๆ ที่อาจมี การสงเขามาในชวงระยะเวลาไลเล่ียกันโดยมากชวงระยะเวลานี้จะนอยกวา 1 วัน ทําให สินคาไมตองมีการขนเขาไปจัดเก็บที่บริเวณจัดเก็บของคลังแตอยางใด สินคาเปนเพียง \"สินคาสงผานคลัง\" เทาน้ัน ทําใหคลังสินคาไมเกิดการจัดเก็บ และรองรับปริมาณสินคา ไดมากข้ึน ผลิตภาพการทํางานของคลังสูงขึ้น อยางไรก็ตามวิธีการน้ีมีความยากคลายกับ วิธีการ Drop-Shipping เชนกัน เพราะจะตองมีการประสานขอมูลดานสินคาขาเขาและขา ออกจากคลัง จากตนทางถึงปลายทางพรอมในเวลาเดียวกัน ซ่ึงอาจเปนเรื่องท่ียากลําบาก พอสมควรสําหรบั บางธุรกิจ หรือบางบรษิ ทั 3. การนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยุกตใช ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับ งานคลังสินคา โดยการใชระบบเทคโนโลยีฯ เขาชวยในการปฏิบัติงานดานคลังสินคาที่ สําคญั ไดแ ก - ระบบบารโคด โดยการนําระบบบารโคดมาใชกับคลังสินคาจะสามารถ ใชไดในหลาย ๆ จุด ไดแก การรับและสงสินคาเขาออกจากคลัง การจัดระบบเก็บสินคา ภายในคลัง และการตรวจนบั สนิ คาภายในคลัง เปน ตน - ระบบ RFID ซ่ึงเปนระบบท่ีมีการทํางานและสามารถใชประโยชน คลายคลึงกับระบบบารโคด แตอาศัยคล่ืนวิทยุแทนคลื่นแสง และสามารถอานขอมูลใน ระยะไกลโดยไมจ าํ เปน ตอ งสัมผสั สนิ คา มคี วามละเอียด และสามารถบรรจขุ อมูลไดมากกวา ซึ่งทําใหสามารถแยกความแตกตางของสินคาแตละช้ินแมจะเปน SKU (Stock Keeping Unit-ชนดิ สินคา) เดยี วกนั ก็ตาม - ระบบ Electronic Data Interchange (EDI) หรือระบบแลกเปลี่ยนและ สงขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส การประยุกตใชระบบ EDI น้ีจะทําใหการรับและสงมอบสินคา จากซัพพลายเออร และลูกคา สามารถทําไดรวดเร็ว ท่ีสําคัญสามารถเตรียมการตาง ๆ ทั้ง ในเรอื่ งของพ้นื ท่ี อุปกรณ และพธิ กี ารรับสงสนิ คาตาง ๆ ไดล ว งหนา

52   4. การปรับปรงุ กระบวนการทาํ งานภายใน ไดแ ก - การรวมคลังสินคาใหเหลือนอยลงใหมีลักษณะเปนศูนยกระจายสินคา (Distribution Center: DC) ในแตละพื้นที่ ทําใหเกิดความสะดวกในแงของกาบริหารและ การขนสง - การจัดทํา 5ส. หรือกิจกรรมการปรับปรุง การสะสางสต็อก หรือวัสดุ อุปกรณตาง ๆ ที่ไมไ ดกอประโยชนแ ลว ออกจากคลังสินคา - การพัฒนารูปแบบและวิธีการจัดวางสินคาใหม โดยการกําหนดพื้น ที่ตั้ง ตามลําดับความสําคัญเชิงปริมาณเขาออก หรือลักษณะการใชงานคลังสินคา หรือ เรียกวา รูปแบบในการจัดเก็บสนิ คา ภายในคลงั สินคา แบบโซน ABC - การพัฒนาขั้นตอนการทํางานใหงาย เร็ว และมีประสิทธิภาพ เชน ขั้นตอนการรับและตรวจนับสินคา, การนําสินคาเขาบริเวณหรือชั้นจัดเก็บสินคา, การดูแล สินคาขณะจัดเก็บใหอยูในสภาพที่ดี ไมเสื่อมสภาพหรือเสียหาย, การหยิบสินคาที่จัดเก็บ ออกมาใชหรือเตรียมสงมอบ, การคัดแยกและเตรียมสินคาเพื่อจัดสง, การบรรจุหีบหอหรือ ตดิ ปายตราสนิ คาตา ง ๆ เปนตน - การจัดหาอุปกรณขนถายวัสดุ หรืออุปกรณขนยายท่ีเหมาะสม พรอม ท้ังปรับเปล่ียนระบบการจัดเก็บ และระบบการขนยายโดยใชพาเลทหรือกระดานรองโดย วธิ กี ารนจ้ี ะทําใหก ารทํางานของคลังสินคา สะดวกและรวดเรว็ ย่งิ ข้นึ 6.7 การวดั ผลการดําเนนิ งานคลงั สนิ คา การช้บี ง วา คลังสนิ คามีประสิทธิภาพหรอื ไม จําเปน ตอ งใชดชั นีช้วี ัดเพ่ือวัดผลการ ทํางาน ซง่ึ ดัชนีชี้วดั ผลการทาํ งานของคลงั สนิ คามอี ยูม ากมายซง่ึ ดชั นที ่ีใชว ัดประสิทธิภาพ โดยทว่ั ไปไดแก 1) อัตราการใชป ระโยชนของพ้ืนท่ี (Space utilization) 2) ระยะทางการขนถา ยรวม การจัดเก็บและหยิบสนิ คา (Distance) 3) เวลาในการนําสินคาเขา จัดเก็บ 4) เวลาในการหยิบสนิ คา (Picking time) 5) อตั ราการหยิบของผิดพลาด (Picking error) 6) อัตราการแตกหักเสียหายของสินคา และอัตราการเกิดอุบัติเหตุภายใน คลงั สินคา

53   6.8 ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการคลงั สนิ คา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใช ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับ งานคลังสินคาการใชระบบเทคโนโลยีเขาชวยในการปฏิบัติงานดานคลังสินคาท่ีสําคัญใน ชัว่ โมงน้ี ไดแก 1. ระบบบารโคด (Bar Code) โดยการนําระบบบารโคดมาใชกับคลังสินคาจะ สามารถใชไดในหลาย ๆ จุด ไดแก การรับและสงสินคาเขาออกจากคลัง การจัดระบบเก็บ สินคาภายในคลัง และการตรวจนับสินคาภายในคลัง เปนตน ปญหาภายในคลังสินคา โดยเฉพาะขอผิดพลาดที่เกิดจากพนักงานตรวจนับ รับสงสินคา สามารถบรรเทาลงไดดวย การประยุกตใชระบบบารโคดโดยสินคาตาง ๆ ที่เขาออก และจัดเก็บภายในคลังสินคาจะใช ระบบบารโคดในการระบุตัวสินคาและบรรจุภัณฑเพ่ือขนยาย และจัดเก็บ การปรับปรุง คลังสินคาดวยวิธีนี้จะทําใหการทํางานดานเอกสาร และการตรวจเช็ค ตรวจนับตาง ๆ ภายในคลังสินคาสามารถทําไดรวดเร็วข้ึน และชวยใหขอผิดพลาดตาง ๆ ท่ีเกิดจากการ ปอนขอมลู ดวยคนสามารถลดลงได 2. เทคโนโลยี Radio Frequency Identification (RFID) เปนระบบท่ีมีการทํางาน และสามารถใชประโยชนคลายคลึงกับระบบบารโคดแตอาศัยคลื่นวิทยุแทนคล่ืนแสง และ สามารถอานขอมูลในระยะไกลโดยไมจําเปนตองสัมผัสสินคา มีความละเอียด และสามารถ บรรจุขอมูลไดมากกวา ซึ่งทําใหสามารถแยกความแตกตางของสินคาแตละช้ินแมจะเปน SKU (Stock Keeping Unit-ชนดิ สนิ คา) เดียวกันก็ตาม ความเร็วในการอานขอมูลจากแถบ RFID เร็วกวาการอานขอมูลจากแถบบารโคดหลายสิบเทา สามารถอานขอมูลไดพรอมกัน หลาย ๆ แถบ RFID สามารถสงขอมูลไปยังเครื่องรับไดโดยไมจําเปนตองนําไปจอในมุมท่ี เหมาะสมอยางการใชเครื่องอานบารโคด (Non-Line of Sight) และคาเฉลี่ยของความ ถูกตองของการอานขอมูลดวยเทคโนโลยี RFID น้ันจะอยูท่ีประมาณ 99.5% ขณะท่ี ความถูกตองของการอานขอมูลดวยระบบบารโคดอยูที่ 80% นอกจากนี้แถบ RFID สามารถเขียนทับขอมูลได จึงทําใหสามารถนํากลับมาใชใหมได ซ่ึงจะลดตนทุนของการ ผลิตปายสินคาซ่ึงคิดเปนประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท อีกทั้ง RFID ยังชวยขจัด ปญหาท่ีเกิดขึ้นจากการอานขอมูลซํ้าที่เกิดกับระบบบารโคดไดอีกดวย และดวยความ เสียหายของปายชื่อ (Tag) นอยกวาเน่ืองจากไมจําเปนตองติดไวภายนอกบรรจุภัณฑ และ ระบบความปลอดภัยสูงกวา ยากตอการปลอมแปลง และลอกเลียนแบบ อีกท้ังทนทานตอ ความเปยกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก คลังสินคาสวนมากจึงนิยมนํา เทคโนโลยนี ีม้ าประยกุ ตใช 3. ระบบ Electronic Data Interchange (EDI) หรือระบบแลกเปล่ียนและสงขอมูล ทางอิเล็กทรอนิกส การประยุกตใชระบบ EDI น้ีจะทําใหการรับและสงมอบสินคาจาก ซัพพลายเออร และลูกคา สามารถทําไดรวดเร็วท่ีสําคัญสามารถเตรียมการตาง ๆ ท้ังใน

54   เรื่องของพื้นท่ี อุปกรณ และพิธีการรับสงสินคาตาง ๆ ไดลวงหนา ประกอบกับทําใหลด ข้ันตอน และขอผิดพลาดตาง ๆ ของการรับและสงมอบสินคา เอกสารตาง ๆ มีความถูก ตองและรวดเร็วย่ิงข้ึน การตรวจทานตาง ๆ สามารถทําไดงายและคลองตัวมากข้ึนสงผลให ตน ทุนและประสิทธภิ าพดานเวลารบั และสง มอบสนิ คา ดีขน้ึ 4. ระบบบริหารจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System; WMS) เปนซอฟทแวรระบบการจัดการคลังสินคา มีลักษณะเหมือนกับระบบบริหารการขนสงโดย ระบบบริหารคลังสินคาจะทําการบริหารแผนการจัดเก็บสินคาคงคลังและประมวลผลการ ทํางานตอวันของคลังสินคา นอกจากน้ีระบบ WMS ยังชวยตรวจและติดตามสินคาคงคลัง ในคลังสินคาดวย นอกจากนี้ยังเปนศูนยกลางในการจัดการดําเนินการคําส่ังซ้ือของลูกคา และการจัดการคลังสินคาท่ีสามารถรวบรวมขอมูลจากการจัดการคําสั่งซ้ือลูกคา การรับ สินคา การจัดทําสต็อก การเติมสินคา การจัดเก็บ การเลือกหรือหยิบสินคาตามคําส่ัง การ จัดสงและการจายสินคา ออกจากคลงั และกิจกรรมอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วของ

55   7. การจดั การโลจสิ ติกสไ ทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Logistics Management in AEC) ภาพรวมของปรากฏการณโ ลกาภิวัฒนในระดับภูมิภาคท่ีจะเกิดข้ึนจากการเร่ิมตน เขา สูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยา งเปน ทางการในปพ.ศ.2558 ประเทศไทยควรจะตองมี การปรับตวั ในทศิ ทางใดท่จี ะรองรบั กับบริบทการเปลี่ยนแปลงไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งใน สวนที่เกยี่ วขอ งกบั บทบาทของภาครฐั และภาคเอกชน การรวมตวั กันเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นไดกําหนดเปาหมายไวอยางชัดเจน ในคณุ ลักษณะ 4 ประการ เพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพในการแขงขนั ของอาเซียนกับโลก ไดแก - การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เนนการเคล่ือนยายสินคา การบริการ การ ลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝมือระหวางกันอยางเสรี รวมถึงการเปดเสรีในภาคบริการ สาขาเรงรัดตาง ๆ ซึ่งรวมถงึ ภาคโลจิสตกิ สดว ย - การมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง เนนการดําเนินนโยบายการแขงขันการ พฒั นาโครงสรา งพนื้ ฐาน การคุมครองทรพั ยสินทางปญญา การพฒั นา ICT และพลังงาน - การมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่เทาเทียมกัน มุงสงเสริมการมีสวนรวมและการ ขยายตัวของ SMEs ใหความชวยเหลือแกสมาชิกใหม (CLMV) เพ่ือลดชองวางของระดับ การพัฒนา - การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลกไดอยางสมบูรณ เนนการเปดเขตการคาเสรี (Free Trade Agreement) และพันธมิตรทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership) กบั ประเทศคคู าสําคัญ สําหรับเง่ือนไขการเปดเสรีในธุรกิจภาคบริการที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส (ครอบคลมุ ถึงบรกิ ารขนสงทางทะเล ถนน ราง อากาศ การจัดสงพัสดุ บริการยกขนสินคาท่ี ขนสงทางทะเล บริการโกดังและคลังสินคา ตัวแทนรับจัดการขนสงสินคา บริการบรรจุ ภัณฑ บริการรับจัดการพิธีการศุลกากร) จะอนุญาตใหนักลงทุนสัญชาติอาเซียนเขามาถือ หนุ ในธุรกจิ ไทยไดอ ยา งนอยรอ ยละ 70 ตั้งแตป พ.ศ.2556 เปนตนไป บริการบางสาขาที่ไม มีกฎหมายกํากับดูแลเฉพาะจึงมีความเสี่ยงท่ีจะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงในชวงแรกซ่ึง ถอื เปน ความทา ทายที่ LSPs (Logistics Service Providers) สญั ชาตไิ ทยจะตอ งเผชิญ สงิ่ หนึ่งทตี่ อ งทําความเขา ใจคือการรวมตัวกันเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.2558 เปนเพียงจุดเริ่มตนอยางเปนทางการท่ีประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบานจะ กาวผานไปสูเวทีการแขงขันใหม (New Business Platform) ซ่ึงจะขยายเปนการแขงขันใน ลักษณะของ “กลุมเศรษฐกิจ” บนเวทีการคาโลกซ่ึงแตละประเทศท่ีอยูในระยะการเปล่ียน ผานน้ีจําเปนตองมองใหไกลไปขางหนาวาเปาหมายของการพัฒนาอาเซียนไมใชเพ่ือการ

56   แขงขันหาผลประโยชนภายในกลุมประเทศสมาชิก แตเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตและ สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืนของประชาชนในภูมิภาคอาเซียนบน พื้นฐานความรวมมือและการพึ่งพาทรัพยากรรวมกัน ใหสอดคลองกับวิสัยทัศนที่กําหนดไว ใน แผนแมบทวาดวยความเช่ือมโยงระหวางกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity) แผนแมบทฯ ดังกลาวมีสาระสําคัญครอบคลุมองคประกอบความเชื่อมโยงใน 3 ดา น ไดแ ก 1. ความเช่ือมโยงดานโครงสรางพ้ืนฐานทางกายภาพ (Infrastructure) ท้ังดาน การคมนาคมขนสง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโครงขายพลังงาน โครงการท่ีสําคัญ เชน โครงขายทางหลวงอาเซียน เสนทางรถไฟสิงคโปร–คุณหมิง โครงการพัฒนาศักยภาพ ทา เรอื ในภูมภิ าค 47 แหง โครงการ ASEAN Power Grid (APG) และ Trans-ASEAN Gas Pipeline (TAGP) เปน ตน 2. ความเช่ือมโยงดานกฎระเบียบ (Institution) เปนการจัดระบบสถาบันอยางมี ประสิทธิภาพเพ่ืออํานวยความสะดวกดานการคาและการขนสง โดยมีโครงการเรงดวน ไดแก การจัดต้ังระบบอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวใน ระดบั ประเทศและอาเซียน (National Single Window & ASEAN Single Window) เปน ตน 3. ความเช่ือมโยงดานประชาชน (People) ซึ่งเนนการเพ่ิมอํานาจใหกับภาค ประชาชนในประเทศสมาชิก ภาครัฐของไทยก็ไมไดน่ิงนอนใจ จากผลการดําเนินงานในภาพรวมของการ พัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศไทยตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบโลจิสติกสของ ประเทศป พ.ศ.2550-2554 ที่ผานมาพบวาความสามารถในการบริหารจัดการระบบ โลจิสติกสของประเทศยังคงอยูในระดับท่ีตองไดรับการปรับปรุงอีกมาก สวนหน่ึงสะทอน จากระดับตนทุนโลจิสติกสของประเทศท่ียังอยูในชวงรอยละ 16-19 ตอ GDP โดยมีความ เคลื่อนไหวคอนขางผันผวนในชวงที่ผานมา เน่ืองจากปจจัยราคาน้ํามันและภาวะวิกฤติ เศรษฐกิจโลก อยางไรก็ดีหากพิจารณาในรายละเอียดจะพบวาสัดสวนของตนทุนดานการ บริหารจัดการสินคาคงคลังมีแนวโนมที่ลดลงตามลําดับสะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการของ ความสามารถในการบริหารจัดการระบบโลจิสติกสของธุรกิจไทยคอนขางชัดเจนท่ี สอดคลองกับผลการสํารวจจากผูประกอบการ นอกจากในมิติดานตนทุนภาพรวมแลวยัง ควรใหความสําคัญตอความเขมแข็งของอุตสาหกรรมสาขาโลจิสติกสซ่ึงปจจุบันสามารถ สรางมูลคาเพ่ิมทางเศรษฐกิจใหกับประเทศไดถึง 360,000 ลานบาท ในป พ.ศ.2552 และมี แนวโนมเติบโตมาอยางตอเน่ือง และเม่ือพิจารณาผลลัพธท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงานแผน ยุทธศาสตรฯ พบวา

57   1. ผูประกอบการมีพัฒนาการในการบริหารจัดการโลจิสติกสท่ีทันสมัยมากขึ้น เนื่องมาจากแรงกดดันและการแขงขันจากภายนอก ทําใหผูประกอบการจําเปนตองพัฒนา ตนเองใหสามารถแขง ขนั ได แตการพัฒนาเห็นชัดเฉพาะในสวนโลจิสติกสภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตรยังไมปรับปรุงเทาใดนัก ซ่ึงผูประกอบการไทยมีจุดออนสําคัญคือ ยังขาด จิตสาํ นึก (Spirit) ในการทาํ งานรวมกนั ในหว งโซอ ปุ ทาน 2. ระบบโลจิสติกสของไทยยังอยูในระดับพื้นฐานท่ีเรียกวา โลจิสติกสระดับขนสง (Transport Base) สวนใหญยังเปนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานทางกายภาพ (Physical/ Hard Infrastructure) ซึ่งยังตองใหความสําคัญเพิ่มเติมในสวนของแผนธุรกิจ (Business Model) ที่จะใชประโยชนจากระบบโครงสรางพ้ืนฐานดังกลาวเพื่อชวยตอบโจทยขีดความ สามรถในการแขงขันของประเทศไดอยางแทจริง นอกจากนี้ยังมีปญหาอุปสรรคในการ พัฒนาระบบราง อีกท้ังยังขาดการปรังปรุงระบบการขนสงทางน้ําและทางชายฝงทะเลอยาง จรงิ จงั จงึ ทําใหการพัฒนาการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบไมเห็นผลเปนรปู ธรรม 3. ธุรกิจ LSPs (Logistics Service Providers) ของไทยซ่ึงสวนใหญเปน SMEs ยังขาดการรวมตัว (Fragment) ขาดนวัตกรรมดาน IT การบริหารจัดการท่ีเปนสากล และ การเขาถึงแหลงเงินทุนไดยาก ทําใหลักษณะการใหบริการไมครบวงจร (Integrated Logistics Service) โดยคาดวาจะเผชิญกับสภาพการแขงขันอยางรุนแรงภายหลังจากที่ อนุญาตใหผูประกอบการสัญชาติอาเซียนสามารถถือหุนอยางนอยรอยละ 70 ในบริษัทของ ไทยไดต ามเงือ่ นไขการเปด เสรีภาคบรกิ ารของ AEC ทจ่ี ะเริม่ ต้ังแตป  พ.ศ.2556 เปนตนไป 4. ขาดการใหความสําคัญในการปรับแกกฎหมายที่เกี่ยวของใหเอ้ือตอการ ประกอบธุรกิจของภาคเอกชนและการนําเขา-สงออก รวมถึงขาดการบังคับใชกฎหมาย อยางจริงจังเพื่อใหเกิดความยุติธรรม นอกจากน้ีโครงการสําคัญตอการพัฒนาระบบอํานวย ความสะดวกทางการคาของประเทศ ไดแก ระบบ National Single Window (NSW) ยังมี ความลา ชาเนื่องจากขาดแคลนบคุ ลากรท่ีมีความรูในสวนราชการ และงบประมานสนับสนุน ท่ีเปน บรู ณาการ 5. หนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดจัดการฝกอบรมอยางตอเน่ือง แตการ พฒั นากําลังคนในภาพรวมท่ผี านมาเพ่ิมข้นึ ในเชิงปรมิ าณมากกวาคุณภาพ จึงยังขาดแคลน แรงงานที่มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานไดจริง ท้ังในระดับปฏิบัติการและหัวหนางาน หลักสูตรการศึกษาและอบรมไมมีคุณภาพและยังไมสอดคลองกับความตองการของภาค ธุรกิจ รวมท้ังขาดประสิทธิภาพในการเผยแพรและประยุกตใชผลงานวิจัยเพ่ือการนําไปใช ประโยชนในภาคธรุ กิจและสนบั สนุนการกาํ หนดนโยบายของภาครัฐ โดยสรุปพบวา การดาํ เนนิ การพฒั นาระบบโลจิสติกสของประเทศไทยกาวสูทิศทาง ท่ีถูกตองแตยังไมสามารถผลักดันใหเกิดผลเปนรูปธรรมไดอยางครบถวนตามท่ีเคย ต้ังเปาหมายไว อยางไรก็ตามภารกิจการพัฒนาระบบโลจิสติกสยังตองถือเปนวาระสําคัญ

58   ของประเทศท่ีจําเปนตองไดรับการผลักดันอยางตอเน่ืองใหเกิดผลสัมฤทธิ์ เพ่ือเปน เครื่องมอื สาํ คัญในการยกระดับขดี ความสามารถในการแขง ขนั ของธุรกิจทกุ สาขา จากเหตุผลตาง ๆ ขางตนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) จึงใหความสําคัญตอการรวมประเด็นการพัฒนาดานโลจิสติกสเขาไวใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 ซ่ึงกําหนดวิสัยทัศนไววา “สังคมอยู รวมกันอยางมีความสุขดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปล่ียนแปลง” ประกอบดวย 6 ประเด็นยุทธศาสตร คือ (1) ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม (2) ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน (3) ยุทธศาสตร ความเขมแข็งภาคเกษตร ความม่ันคงของอาหาร และพลังงาน (4) ยุทธศาสตรการปรับ โครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพ และยั่งยืน (5) ยุทธศาสตรการสรางความ เช่ือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม และ (6) ยุทธศาสตรการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมอยา งยงั่ ยืน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 และ 5 เปนประเด็นที่เก่ียวของกับการพัฒนาระบบ โลจิสตกิ สโ ดยตรงประกอบดวยสาระสําคัญ ดังน้ี ยุทธศาสตรท่ี 4 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและ ยง่ั ยืน มงุ พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานและโลจิสตกิ สด ว ยการ 1. ผลักดันการพัฒนาการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ เชน พัฒนาปรับเปล่ียน รปู แบบการขนสง ไปสกู ารขนสงในรูปแบบอื่น ๆ ท่ีมีตนทุนการขนสงตอหนวยตํ่า และมีการ ใชพลังงานท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานและระบบบริหารจัดการขนสง ตอเน่ืองหลายรูปแบบท่ีเชื่อมโยงการขนสงทุกโหมด การขนสงในลักษณะบูรณาการท้ัง ภายในประเทศและระหวางประเทศ และพัฒนาระบบบริหารจัดการรวบรวมและกระจาย สินคาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เปน ตน 2. ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการโลจิสติกส โดยเนนผลิตบุคลากร ดานโลจิสติกสที่มีความเปนมืออาชีพ พัฒนาระบบและบริหารเครือขายธุรกิจขนสงและ โลจิสติกสตลอดทั้งหวงโซอุปทานและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของรวมทั้ง สนับสนุนการวิจัย พัฒนา นวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาโลจิสติกส และยกระดับประสิทธิภาพ กระบวนการอํานวยความสะดวกทางดานการคาและการขนสงสินคาผานแดนและขามแดน ตลอดจนเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขนสงและการกําหนดบทบาทของทาอากาศ ยานและทาเรือหลกั ของประเทศ 3. พัฒนาระบบขนสงทางรถไฟ โดยบูรณะปรับปรุงทางรถไฟ กอสรางทางคูใน เสนทางรถไฟสายหลัก และจัดหารถจักรและลอเลื่อน รวมทั้งปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณ ใหมีความทันสมัย และพัฒนาเสนทางรถไฟความเร็วสูงเชื่อมโยงสูเมืองตาง ๆ ในภูมิภาค และกลมุ ประเทศอาเซียน ตลอดจนปรับโครงสรางการรถไฟแหง ประเทศไทย

59   ยุทธศาสตรที่ 5 การสรางความเช่ือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความม่ันคง ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีกลยุทธดานการพัฒนาความเชื่อมโยงดานการขนสงและ ระบบโลจสิ ตกิ สภ ายใตกรอบความรวมมือในอนุภูมิภาคตาง ๆ ประกอบดวยแนวทางสําคัญ ดังน้ี 1. พัฒนาบริการขนสงและโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพและไดมาตรฐานสากล เชน พัฒนาดานศุลกากรชายแดน ศูนยเศรษฐกิจชายแดน และการอํานวยความสะดวกการคา ผานแดน พัฒนาระบบเครือขายและการบริหารเครือขายธุรกิจของภาคบริการขนสงและ โลจสิ ตกิ สตลอดทัง้ หว งโซอ ปุ ทานในภูมิภาค และรัฐลงทุนนําในโครงการท่ีมีความสําคัญเชิง ยทุ ธศาสตรข องประเทศในแตล ะแนวพน้ื ทีเ่ ศรษฐกจิ เปน ตน 2. ปรับปรุงกฎระเบียบการขนสงคนและสินคาท่ีเก่ียวของ เพื่อลดจํานวนเอกสาร ตนทุนการดําเนินงาน และระยะเวลาท่ีใชในกระบวนการขนสงผานแดนและขามแดน เพ่ือ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขงขันของไทยและอนุภูมิภาคโดยรวมในดานการลดตนทุนคา ขนสงและโลจิสติกส 3. พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนสงและโลจิสติกส ท้ังในดานทักษะ ภาษาตางประเทศและความรูดานบริหารจัดการโลจิสติกส และพัฒนาผูประกอบการ โดยเฉพาะระดับ SMEs รวมท้ังพัฒนาสมรรถนะการเปนผูประกอบการของไทยใหสามารถ รเิ รม่ิ ธุรกิจระหวางประเทศได 4. เชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวพื้นท่ีชายแดน และเขตเศรษฐกิจ ชายแดน โดยเช่ือมโยงเครือขายการขนสงเพื่อเชื่อมโยงปจจัยการผลิต ระบบการผลิต หวง โซการผลิตระหวา งประเทศ และประตูสง ออกตามมาตรฐานสากล อยางมีประสิทธภิ าพ นอกจากนี้ยังมีกลยุทธดานการพัฒนาการผลิตและการลงทุน ตามแนวพื้นที่ พัฒนาเศรษฐกิจ และพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน ซึ่งเปนยุทธศาสตรเชิงพ้ืนท่ีที่จะสามารถ สนองตอบการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศได จะเห็นไดวาความพยายามในการกําหนดยุทธศาสตรและกลยุทธเชิงลึกสําหรับ การพัฒนาดานโลจิสติกสในระยะตอไปน้ันมุงหมายจะสราง The Right Strategy ใหเกิดข้ึน ในประเทศไทยอยางแทจริง ซึ่งจําเปนท่ีทุกภาคสวนจะตองเขาใจและเห็นภาพถึงมิติของ การแขงขันธุรกิจในอนาคต (Landscape of Competition) ใหตรงกันเนื่องจาก ผูประกอบการไทยจะกลายเปนผูเลนบนเวทีการคาการลงทุนระดับภูมิภาคอยางหลีกเล่ียง ไมได

60   บรรณานุกรม กิจกรรมหลักของคลังสินคา [Online], Available : http://logistics-nvc.net/02/3/3-2.php [12 กรกฎาคม 2557]. การวางแผนจัดผังพื้นท่ีในคลังสินคา [Online], Available : http://logistics- nvc.net/02/7/7-3.php [12 กรกฎาคม 2557]. เกศินี วิฑูรชาติ, 2546, การวิเคราะหเชิงปริมาณทางธุรกิจ, คร้ังท่ี 6, สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะผูจัดทําหนังสือพิมพ Intertransport Logistics, 2550, หนังสือพิมพ Intertransport Logistics ฉบับท่ี 169, คร้ังที่ 1, โรงพิมพ ไอทีแอล เทรด มีเดีย จํากัด, กรุงเทพฯ, หนา 1-7. คณะผูจัดทําหนังสือพิมพ Intertransport Logistics, 2550, หนังสือพิมพ Intertransport Logistics ฉบับที่ 194, คร้ังที่ 1, โรงพิมพ ไอทีแอล เทรด มีเดีย จํากัด, กรุงเทพฯ, หนา 1-2. ชุมพล มณฑาทิพยกุล, การจัดการคลังสินคา [Online], Available : http://www.thaicostreduction.com/DocFile/n019%20warehousemgt.pdf [20 กรกฏาคม 2557]. ชุมพล ศฤงคารศิริ, 2545, การวางแผนและควบคุมการผลิต, ครั้งท่ี 10, สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ปี ุน ), กรุงเทพฯ. เทคโนโลยีเก่ียวกับการขนสง [Online], Available : http://www.dg- net.org/th/downloads/service/trucking/transport_technology.pdf [17 กรกฎาคม 2557]. ไทยแลนดอินดัสตร้ีดอทคอม, 2553, ThailandIndustry.com [Online], Available : http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=11534&section=9&rcount=Y [25 กรกฎาคม 2557].

61   ธณิต โสรัตน, 2550, การประยุกตใชโลจิสติกตและโซอุปทาน, ครั้งท่ี 1, โรงพิมพ ประชุมทอง พรนิ้ ตง้ิ กรุป จํากดั , กรุงเทพฯ, หนา 201-276. ธนิต โสรัตน, 2550, โหมดการขนสงทางถนน [Online], Available : http://www.tanitsorat.com/view.php?id=54 [1 สงิ หาคม 2557]. ประสงค ปราณีตพลกรัง, 2547, การบริหารการผลติ และการปฏิบัติการ ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม 2547, สํานักพมิ พธ รรมสาร. พรนพ พุกกะพันธุ, 2548 , ธุรกิจการบิน (Airline business), โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, กรงุ เทพฯ, หนา 120. ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะธุรกิจ มหาวิทยาลัยแมโจ จ.เชียงใหม, MARKETING CHANNEL MANAGEMENT [Online], Available : http://coursewares.mju.ac.th:81/e- learning47/BA330/TPChap6-114.htm [17 กรกฏาคม 2557]. มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล, 2556, การจัดการความรู สํานักบรรณสารและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล [Online], Available : http://library.vu.ac.th/km/?p=700 [20 กรกฎาคม 2557]. วิทยา สุหฤทดํารง, 2546, โลจิสติกสและการจัดการโซอุปทาน, สํานักพิมพบริษัทซีเอ็ด ยเู คชนั่ . วารสารสงเสรมิ การลงทุน, ปท ่ี 16, ฉบบั ท่ี 1 ศิฏฐพร คงศรี ปูนซีเมนตนครหลวง, 2550, ซ้ือรถบรรทุกมาขนสงเองคุมจริงหรือ, Logistics and Supply Chain Website for Thai Industries, หนา 1-5. สาธิต พะเนียงทอง, 2548, Supply Chain Strategy การจัดการโซอุปทานเชิงกลยุทธ, ซีเอ็ดยเู คชน่ั , กรุงเทพฯ, หนา 173.

62   สมโรตม โกมลวานิช และ อนันต ดีโรจนวงศ, 2553, Logistics corner [Online] Available : http://logisticscorner.com/index.php?option=com_content&view=article&id =1760:warehouse-management&catid=38:warehousing&Itemid=92 [24 กรกฎาคม 2557]. Eduzones [Online], Available : http://blog.eduzones.com/kapok/14108 [23 กรกฎาคม 2557]. Heizer, J. and Render, B., 2005, Operations Management, 7th ed., Pearson, New Jersey. John, J., John, L., Robert, A., Brian, J., 2013, Managing Supply Chains A Logistics Approach, 9th ed, South-Western Cengage Learning, International Student Edition. Martin, C., Logistics and Supply Chain Management Strategies for Reducing Cost and Improving service, 2nd ed., Prince Hall, Great Britain.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook