Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Herbal-dietary-supplements-In-the-event-of-an-outbreak-of-Covid-19

Herbal-dietary-supplements-In-the-event-of-an-outbreak-of-Covid-19

Published by Thalanglibrary, 2020-05-07 03:36:24

Description: Herbal-dietary-supplements-In-the-event-of-an-outbreak-of-Covid-19

Search

Read the Text Version

อาหารสมุนไพร เสริมภมู ิคมุ้ กนั ในภาวะทม่ี กี ารระบาดของโควิด-19 กลมุ่ งานเภสชั กรรม และกลมุ่ งานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร เอกสารน้จี ดั ทำข้นึ เพื่อสนบั สนุนการใชส้ มนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนับสนนุ เพื่อวิจัยตอ่ ยอด ห้ามนำข้อมลู น้ีคดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม่ว่าบางสว่ นหรือท้งั หมดเพื่อประโยชนท์ างการคา้

สารจาก…ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร การระบาดของโควิด-19 อย่างกว้างขวางทั่วโลกนั้น นับเป็น ภาวะคุกคามของมวลมนุษยชาติ ทางออกทางเดียวที่เป็นไปได้ในการสู้ กับโรค คือ การทำให้ประชากรมีภูมคิ ุม้ กัน ซึ่งในขณะนี้มีความพยายาม ในการพัฒนาวัคซีนเปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ือง แต่ก็อาจต้องใช้เวลาไม่น้อยกวา่ 1 ปี นอกเหนือจากวัคซีนแล้ว การดูแลสุขภาพองค์รวม ซึ่งเป็น หลักการที่ผ่านการศึกษาค้นคว้ามาอย่างยาวนาน จนได้รับการยอมรับ เป็นแนวปฏิบัติทั่วโลก อันประกอบด้วย การกินอาหารที่สะอาด มีสารอาหารครบถ้วน เน้นพืชผักในสัดส่วนที่สงู กว่าอาหารอืน่ การออก กำลังกายและพักผ่อนอย่างเพียงพอ รวมถึงการเลิกพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่และดื่มสุรา จะเป็นเกราะคุ้มกันเราให้พ้นจากการ คุกคามของไวรัสชนิดนี้ หนงั สอื อาหารสมุนไพร เสรมิ ภูมิคุม้ กนั ในภาวะที่มกี ารระบาด ของโควิด-19 นี้ ได้รวบรวมหลักฐานทางวิชาการเกี่ยวกับสมุนไพร และ ตำรบั อาหารสมนุ ไพร ทีม่ หี ลกั ฐานทางวชิ าการสนบั สนนุ ใน 3 กลไก คือ การเสริมภูมิคุม้ กัน ลดการอักเสบและต้านไวรัสชนิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ เป็นแนวทางในการปรุงอาหาร เพราะอาหารสมุนไพรนั้นนอกจากจะมี สารอาหารหลัก 5 หมู่แล้ว ยังมีพฤกษเคมีที่มีประโยชน์ทั้งในแง่การ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและรักษาโรค และที่สำคัญสมุนไพรเหล่าน้เี ปน็ สิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน หาได้ง่าย ไม่ต้องเสียเงินซื้อในราคาแพง จงึ สมควรอย่างย่ิงท่จี ะนำมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้อ่านทุกท่านจะนำไปใช้ในการ ดูแลสุขภาพในช่วงที่มีการระบาดของโควิด-19 และถึงแม้โควิด-19 จะจากพวกเราไป ก็ขอให้ยังคงนำสมุนไพรเหล่านี้มาใช้ เพราะหลักการ ของการป้องกันโรคคือ การมีภูมิคุ้มกันของร่างกายท่ีแขง็ แรง พญ.โศรยา ธรรมรักษ์ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร เอกสารนีจ้ ัดทำข้ึนเพอ่ื สนบั สนนุ การใช้สมุนไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมลู สนับสนุนเพ่ือวจิ ัยต่อยอด หา้ มนำข้อมลู น้คี ัดลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมดเพื่อประโยชน์ทางการคา้

คำนำ หนงั สอื อาหารสมุนไพรเสรมิ ภูมิคุ้มกัน ในภาวะทมี่ ีการระบาด ของโควิด-19 นับเป็นความพยายามของกลุ่มงานเภสัชกรรมและ กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ได้ค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงเพื่อให้ได้องค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพของ ประชาชน ด้วยข้อจำกัดของระยะเวลาและการเข้าถึงข้อมูล ทำให้ หนงั สอื เลม่ น้ยี ังมขี อ้ จำกดั ในการนำไปใชพ้ อควร แตใ่ นภาวะเร่งรีบเชน่ น้ี ทางคณะผู้เขียนจึงตัดสินใจเผยแพร่เนื้อหาออกมาก่อน เพื่อให้ทันต่อ สถานการณ์ และจะปรับปรุงเนื้อหาให้มีข้อมูลทางวิชาการมากขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หากผู้อ่านมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สามารถ ตดิ ตอ่ คณะผูเ้ ขยี นได้โดยตรง ยนิ ดีรับทุกข้อเสนอแนะเพอื่ ให้สมุนไพรได้ ถูกนำไปใช้ในทางที่ถกู ต้องและเหมาะสม อันจะสง่ ผลให้เกิดการพัฒนา ความรู้ที่ย่งั ยนื 26 เมษายน 2563 เอกสารน้จี ดั ทำขึน้ เพือ่ สนับสนนุ การใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ขอ้ มูลสนับสนุนเพื่อวิจยั ต่อยอด ห้ามนำขอ้ มูลนีค้ ดั ลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม่ว่าบางสว่ นหรือทง้ั หมดเพ่ือประโยชน์ทางการค้า

ในปัจจุบันมีงานวิจัยที่ชัดเจนว่าตำรับ 1 อาหารมีความสัมพันธ์กับการทำงานของระบบ ภมู ิคมุ้ กนั ผู้ป่วยทมี่ ภี าวะทพุ โภชนาการ หรอื ขาด ยังได้พฤกษเคมีที่มีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพ สารอาหาร มักมีระบบภมู ิคุ้มกันของร่างกายไม่ดี โดยเฉพาะชว่ งเวลานี้ และเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย ยกตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเอดส์ที่มีการบริโภคอาหารท่ี การระบาดของโควิด-19 เป็นภาวะที่ มีคณุ ภาพสูง มีชีวิตยืนยาวและลดโอกาสการเกิด เกดิ ขนึ้ อย่างรวดเร็ว การประยุกตใ์ ชห้ ลกั ฐานทาง ภาวะแทรกซ้อน 1 วิชาการที่มีอยู่ร่วมกับทรัพยากรที่มีในประเทศ เป็นสิ่งที่อาจทำได้ในช่วงเวลาวิกฤตเช่นน้ี หน่วยงานทั้งในและต่างประเทศต่าง ในเอกสารฉบับนี้นอกจากการปฏิบัติตัวตาม สนับสนุนให้ใช้หลักการทางโภชนาการเพ่ือ คำแนะนำปกติแล้ว จะมีคำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง สุขภาพที่ดีเพื่อการป้องกันโควิด-19 เพราะ การนำสมุนไพรมาใช้เพิ่มเติม โดยเฉพาะสำหรับ หลักการนี้ได้ผ่านการศึกษาวิจัยและปฏิบัติมา การป้องกันและทำให้ร่างกายมีสุขภาพดีตลอด อยา่ งยาวนาน พบว่าการบริโภคผัก ธัญพืช ผลไม้ ช่วงการระบาดของโควิด-19 และในอนาคตอาจ ในสัดส่วนที่มากกว่าอาหารประเภทอื่น ส่วนการ นำคำแนะนำนี้ไปประยุกต์ใช้กับการระบาดของ บริโภคอาหารโปรตีนประเภทปลา เนื้อสัตว์ไร้ ไวรสั ชนดิ อนื่ ๆ ได้ดว้ ย ไขมัน จะให้สารอาหารที่เป็นประโยชน์และช่วย คงสภาพน้ำหนักให้เป็นปกติ หลีกเลี่ยงอาหาร งานวิจัยที่ผ่านมาพบว่า การเสริมวิตามิน แปรรูป อาหารเค็ม หวานและมันจัด ดื่มน้ำใน บางชนิดมีส่วนช่วยในการลดอัตราการติดเชื้อใน ปริมาณพอเพียงตลอดทั้งวัน ร่วมกับการออก ทางเดินหายใจ ลดความรุนแรงและระยะเวลา กำลังกาย พักผ่อนนอนหลับที่เพียงพอ และลด ของการเจบ็ ป่วย ดงั รายละเอียดด้านลา่ ง ความเครียด รวมทั้งเลิกพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ เลกิ บหุ ร่แี ละสรุ า ส่งิ เหลา่ น้ีมคี วามจำเป็นอย่างยิ่ง 1. ธาตุสงั กะสี ที่จะเป็นเกราะป้องกันสุขภาพจากโรคภัยไข้เจ็บ จากการทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบ ต่างๆ2,3,4,5,6 จากการสำรวจพนักงานบริษัทใน เมืองของประเทศไทย พบว่า ส่วนใหญ่ได้รับ พบว่า การเสรมิ แร่ธาตบุ างชนดิ มีส่วนช่วยในการ วิตามินและเกลือแร่ไม่พอ7 ดังนั้น การ ลดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนลง 35% รับประทานผักและผลไม้ ที่นอกจากจะได้รับ ช่วยลดระยะเวลาการป่วยได้ประมาณ 2 วัน และ วิตามินและเกลือแร่ เพื่อเสริมส่วนที่ขาดแล้ว ทำใหห้ ายปว่ ยเร็วขึน้ โดยขนาดของธาตุสังกะสีที่ ใช้ในการศึกษาคือ 20 มิลลิกรัม/สัปดาห์ ถึง 92 มิลลิกรัม/สัปดาห์ 8,9 นอกจากนั้นยังพบว่า ปริมาณของธาตุสังกะสีที่พอเพียงในร่างกาย ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดี ลดโอกาสติด เชอื้ ไวรัส10 เอกสารนีจ้ ดั ทำข้ึนเพื่อสนับสนุนการใชส้ มนุ ไพรอยา่ งเหมาะสมและเป็นขอ้ มลู สนับสนุนเพื่อวิจัยต่อยอด หา้ มนำขอ้ มูลน้คี ดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไมว่ า่ บางส่วนหรือทงั้ หมดเพอื่ ประโยชนท์ างการค้า

2 2. วิตามนิ ซี การเสริมสารอาหารหรือวิตามินใน ถึงแม้ว่าจากการทบทวนงานวิจัยอย่าง รูปแบบผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปขนาดสูงนั้น ควรทำ ในกรณีท่ไี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั ว่าขาดสารอาหารน้ันๆ เป็นระบบ อาจยังไม่สามารถสรุปได้ว่า วิตามินซี เท่านั้น เพราะการได้รับสารอาหารหรือวิตามิน ชว่ ยปอ้ งกนั หรือรักษาหวัดได้ แตก่ ารเสรมิ วิตามินซี มากเกินไป อาจทำให้เกิดผลข้างเคยี งได้20 จงึ ควร ก็อาจมีประโยชน์อยู่บ้างในบุคคลบางกลุ่ม ทำภายใต้การดูแลของแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ เนื่องจากวิตามินซี มีบทบาทในร่างกายหลาย แต่การเสริมในรูปแบบของอาหารที่มีวิตามิน อย่างตั้งแต่การต้านอนุมูลอิสระ การลดการ แต่ละชนดิ เด่นๆ สามารถทำไดใ้ นระดับประชาชน อักเสบ และการซ่อมแซมเซลลท์ ี่เสยี หายจากการ และยงั มีการศกึ ษาอกี วา่ สารอาหารหลายชนิดที่มี ติดเชื้อ11 มีการศึกษาในหลายประเทศพบว่าการ ในอาหารจะมีส่วนเสริมให้ภูมิคุ้มกันของร่างกาย เสริมวิตามินซีช่วยลดอุบัติการณ์ การเกิดการ ทำงานได้ดีขนึ้ ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ และยังพบว่า วิตามินซีช่วยลดระยะเวลาท่ผี ู้ปว่ ยอยู่ในหอผู้ป่วย นอกจากงานวิจัยที่ผ่านมาเกี่ยวกับการ วิกฤตและลดความจำเป็นในการใช้เครื่องช่วย ติดเชื้อในทางเดินหายใจที่สามารถนำมาปรับใช้ หายใจ12,13 ขนาดของการเสรมิ วิตามนิ ซีอยู่ที่ 1-3 กับการระบาดของโควิด-19 ปัจจุบันมีหน่วยงาน กรมั /วนั แตอ่ ย่างไรก็ตามมีคำแนะนำวา่ ไม่ควรใช้ ที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการทั่วโลกได้ออกมาให้ ขนาดสูงเกิน 2 กรัม/วนั 6 คำแนะนำในการบริโภคอาหารบางประเภทใน สัดส่วนท่มี ากขนึ้ ไดแ้ ก่ 3. วติ ามินดี มีการศึกษาหลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่าการ 1. นมและผลิตภัณฑจ์ ากนม ในทางภูมิคุ้มกันวิทยาพบว่า ในน้ำนมมี เสริมวิตามินดีช่วยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ ทางเดินหายใจเฉียบพลันลงประมาณ 12% ถึง สารที่ส่งเสริมภูมิคุ้มกัน เช่น immunoglobulin 75%14,15,16,17 ซึ่งการศึกษาที่นำมาใช้ในการ lactoferrin, lactalbumin และ glycopeptides วิเคราะห์รวมถึงการติดเชื้อในชว่ งที่มีการระบาด เป็นต้น โดย lactoferrin มีฤทธิ์ปรับภูมิคุ้มกันท่ี ของ H1N1 ในปี 2009 พบวา่ การเสริมวิตามินดี ส่งผลต่อการทำงานของเซลล์ในภูมิคุ้มกันหลาย ทำให้อาการลดลงและทำให้หายเร็วขึ้น18 โดย ชนิด เช่น lymphocytes และ macrophages ข น าดวิ ตาม ิ น ดี ท ี ่ ใ ช้ ม าก ก ว่ า 1000 IU19 ท ี่จะมีผลใน การจดจำการติดเชื้อไวรัส แต่ประโยชนข์ องวติ ามนิ ดีจะชัดเจนมากในผู้ป่วย นอกจากน้ันแลว้ lactoferrin ยงั สามาถจับกับจุด ที่ขาดวิตามินดีหรอื มีปริมาณวิตามินดใี นเลือดต่ำ ที่ไวรัสผ่านเข้าเซลล์ ทำให้ไวรัสไม่สามารถผ่าน กวา่ ปกติ6 เข้าเซลล์ได้ สว่ น α-lactalbumin อาจช่วยปรบั การทำงานของแบคทีเรยี ดีในลำไส้ จงึ มีผลช่วยให้ เอกสารนีจ้ ดั ทำขึ้นเพ่ือสนบั สนุนการใชส้ มนุ ไพรอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนับสนุนเพ่ือวิจยั ตอ่ ยอด หา้ มนำขอ้ มลู น้ีคดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมดเพือ่ ประโยชนท์ างการค้า

3 ร ะ บ บ ภ ู ม ิ ค ุ ้ ม ก ั น ข อ ง ร ่ า ง ก า ย ท ำ ง า น ไ ด ้ ดี 2.1 อาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ส้ม Chinese Centre for Disease Control and มะขามป้อม กีวี่ บร็อกโคลี สตอเบอร์รี Prevention’s (CDC) ร่วมกับ National Institute กะหล่ำดาว เกรปฟรุต แคนตาลูป กะหล่ำปลี for Nutrition and Health, the Chinese กะหล่ำดอก Medical Doctor Association ได้ระบุว่าปกติ การบริโภคนมของจีนนั้นอย่ใู นปริมาณต่ำอยู่แล้ว 2.2 อาหารที่มีวิตามินเอสูง เช่น ตับวัว จึงแนะนำให้ มีการบริโภคน้ำนมประมาณ 300 มันหวาน ผักโขม แคร์รอต แคนตาลูป พริก กรัม/วัน หรือเทียบเท่ากับ 37.5 กรัมของนมผง มะมว่ ง ไข่ ถว่ั ดำ หรือ ชีส 30 กรัม ปริมาณดังกล่าวน่าจะมี ประโยชน์ในการช่วยปรับให้ภูมิคุ้มกันของ 2.3 อาหารที่มีวิตามินอีสูง เช่น เมล็ด- ร่างกายให้ทำงานได้ดีขึ้น ในกรณีของหญิง ทานตะวัน อลั มอนด์ เนยถวั่ ถ่วั ลสิ ง ผกั โขม จมูก ตั้งครรภ์หรือหญิงให้นมบุตร การบริโภคน้ำนม ขา้ ว นำ้ มันทานตะวนั น้ำมันคำฝอย มะเขอื เทศ ควรเพิ่มเป็น 500 กรัม หรือผลิตภัณฑ์นม 350 ถึง 500 กรัม ส่วนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีควรได้รับ 4. อาหารต้านการอกั เสบ นมแม่จะดีที่สุด แต่หากไม่สามารถให้นมแม่ได้ อาหารที่มีคุณค่าทางยาและอาหารสูง น้ำนมจากแหลง่ อนื่ กส็ ามารถใช้ได้ 21 อย่างไรก็ตาม มีบางงานวิจัยพบว่านมมีสารก่อให้เกิดการแพ้ ทีเ่ รียกวา่ ซปุ เปอรฟ์ ูด้ (superfood) เช่น ขมิ้นชัน ดังนั้นในผู้ที่แพ้ อาจเลือกรับประทานนม องุ่นดำและผลไม้ตระกูลเบอร์รี มะเขือเทศ จากแหลง่ อ่ืนได้ น้ำมนั มะกอก ถวั่ ผักทีม่ ีสเี ขยี วเข้ม มันหวาน ส้ม 2. อาหารท่ีมโี ปรตีนสูง ชาเขียว ธัญพืชท่ีไม่ผ่านการขดั สี นำ้ ผงึ้ และปลา21 มีส่วนช่วยในการทำงานของระบบภมู ิคมุ้ กนั โปรตนี เป็นสว่ นประกอบสำคญั ของระบบ ภูมิคุ้มกัน การบริโภคอาหารโปรตีนคุณภาพดี 5. อาหารท่ีมีวติ ามนิ ดสี ูง เช่น ไข่ ปลา และเนื้อแดงเป็นสิ่งที่ควรทำ เพ่ือ การศึกษาหลายช้ินพบว่า การเสริมวิตามินดี เสรมิ การทำงานของระบบภมู ิคุ้มกัน21,22 สามารถลดความเสี่ยงของไวรัสไข้หวัดใ หญ่ ได้ 3. อาหารท่อี ุดมไปด้วยสารตา้ นอนมุ ูลอิสระ หลักฐานที่สนับสนุนว่าวิตามินดีน่าจะมีส่วนช่วย ผัก ผลไม้สด ผลไม้ตระกูลเบอร์รี ในสถานการณ์โควิด-19 คือ การเกิดการระบาด ในช่วงหน้าหนาว เป็นช่วงที่ระดับวิตามินดีใน กระเทียมและหัวหอม เป็นต้น อาหารเหล่าน้ี เลอื ดต่ำ อัตราการตายของการติดเช้อื ในทางเดิน อุดมไปด้วยวิตามินซี เอ และอี21 ที่มีฤทธิ์ต้าน หายใจสัมพันธ์กับปริมาณวิตามินดีในร่างกาย20 อนมุ ลู อิสระ20,21,22,23 การกินอาหารที่มวี ิตามนิ ดีอาจช่วยได้ เช่น ทูน่า ปลา เห็ด นม (รวมถึงนมอื่นๆ ที่เสริมวิตามินดี) ไข่ โยเกิรต์ ธญั พชื ต่างๆ เอกสารน้ีจดั ทำขึน้ เพือ่ สนับสนนุ การใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ เพ่ือวิจัยต่อยอด ห้ามนำข้อมลู นค้ี ดั ลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไมว่ า่ บางสว่ นหรือทัง้ หมดเพอื่ ประโยชน์ทางการค้า

4 6. อาหารทม่ี แี รธ่ าตุสังกะสีสงู ภูมิคุ้มกันนั้นเป็นที่ยอมรับกันว่า จุลินทรีย์- อาหารที่มีสังกะสีสูง เช่น เนื้อวัวย่าง โปรไบโอติกส์ สามารถกระตุน้ เซลล์ macrophage และเพิ่มการสร้าง IgA ที่ระบบทางเดินอาหาร ขนมพายเนื้อ เนื้อหมูสันติดกระดูก ไก่ ถั่ว ส่งผลต่อการหลั่ง cytokines ชนิดต่างๆ ได้ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ เมล็ดฟักทอง โยเกิร์ต ผ่านระบบภูมิคุ้มกันที่เยื่อเมือกหรือเยื่อบุ ช่วยลดความรุนแรงการติดเชื้อระบบทางเดิน ( mucosal immune response) น อ ก จ า ก นี้ หายใจ24 จลุ ินทรยี ์โปรไบโอตกิ สย์ ังสง่ ผลต่อการทำงานของ 7. อาหารปรบั อารมณ์ regulatory T cells ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ ปรบั ภูมคิ ้มุ กนั ของร่างกาย27 อาหารทีม่ โี ปรไบโอ- ซอสแอปเป้ิล ขนมปงั โฮลวที กรกี โยเกิร์ต ติกส์สูง ได้แก่ ขา้ วหมาก เทมเป้ ผกั ดอง ท้ังนค้ี วร ใส่ขิงและข้าวโอ๊ต ชาขิง ชาเปปเปอร์มินท์ เลือกอาหารท่ดี องเอง ชว่ ยคลายกงั วลจากความตึงเครยี ด ทำให้อารมณด์ 2ี 3 8. อาหารทีม่ ีส่วนผสมของเครอ่ื งเทศ นอกเหนือจากการบริโภคอาหารที่กล่าว มาข้างต้นแล้ว เอกสารฉบับนี้ยังได้รวบรวม เครื่องเทศหลายชนิดมีงานวิจัยช่วยเสริม สมุนไพรที่มีหลักฐานทางวิชาการในการเสริม ภูมิคุ้มกัน เช่น พริกไทย มีการศึกษาในอิตาลี ภูมิคุ้มกัน ลดการอักเสบและต้านไวรัส (ไม่เพียง ปี 2019 พบว่า การบริโภคอาหารที่มีพริกไทย เฉพาะไวรัสโคโรนา สายพนั ธใ์ุ หม่ 2019) จำนวน สัปดาห์ละ 4 วัน จะช่วยลดอัตราการตาย 37 ชนิด เพื่อพิจารณาเลือกใช้เป็นส่วนผสมหลกั ส่วนการศึกษาในจีน ปี 2015 พบว่า การบริโภค ในอาหารที่บริโภคทุกวัน สมุนไพรเหล่านี้ควร พริกมีความสัมพันธ์กับการลดอัตราตาย บริโภคด้วยความหลากหลาย โดยเฉพาะหญิง ผู้ที่บริโภคเครื่องเทศเกือบทุกวันจะมีอัตราการ ตั้งครรภ์ ให้นมบุตร ในสมุนไพรบางรายการ ตายลดลง 14% เมื่อเทียบกับผู้ที่บริโภค ยังไม่มีรายงานความปลอดภัย ดังนั้นควรบริโภค เครื่องเทศน้อยกว่า 1 วัน/สัปดาห์26 ซึ่งจาก ในรูปแบบของอาหาร และหลากหลาย การศึกษาเหล่านี้ดำเนินการใช้เวลาหลายปี จึงมี จะปลอดภัยท่ีสุด ความน่าเชื่อถือสูง ดังนั้นการเพิ่มเครื่องเทศใน อาหารจงึ จำเปน็ ต้องทำอย่างสม่ำเสมอ 9. อาหารที่มีผลต่อจุลินทรีย์ดีในลำไส้ (โปรไบโอติกส)์ ฐานข้อมูล Cochrane ในปี 2015 พบว่า การบริโภคอาหารที่มีโปรไบโอตกิ ส์ ชว่ ยลดอัตรา การติดเชื้อทางเดินหายใจลดลงอย่างมีนัยสำคญั ประโยชน์ของจุลินทรีย์โปรไบโอติกส์ในด้าน เอกสารนี้จดั ทำขึน้ เพ่อื สนบั สนุนการใช้สมุนไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนับสนนุ เพื่อวิจัยตอ่ ยอด ห้ามนำข้อมลู นีค้ ดั ลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไมว่ ่าบางสว่ นหรือท้ังหมดเพ่ือประโยชนท์ างการคา้

สว่ นประกอบ 37 สมนุ ไพรชว่ 1. ขมน้ิ ตัวอย่าง ฤทธ์เิ สริม ฤทธ์ลิ ด ฤทธิ์ สารสำคญั ทพี่ บ ภูมิคมุ้ กัน อกั เสบ ตา้ นไวรัส curcumin,    • dimethoxy- curcumine • 2. ขิง zingerol,    • gingerol • เอกสารนจ้ี ดั ทำขึ้นเพอ่ื สนับสนุนการใช้สมุนไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนบั สนนุ เพื่อวิจัยต่อยอด ห้ามนำขอ้ มูลนี้คัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

5 วยเสริมภูมิคมุ้ กัน ข้อมูลเพมิ่ เตมิ ตวั อยา่ ง เมนูอาหาร โดดเดน่ ด้านการลดอกั เสบ มีงานวิจัยในหลอดทดลองพบว่า • แกงไกข่ มิ้น ขมิน้ ชัน ชว่ ยยับยงั้ การหลงั่ สารอักเสบ และปรับภูมคิ มุ้ กนั ไม่ให้ • ปลาทอดขมน้ิ เกดิ การทำลายปอดใหเ้ กิดความเสยี หายจากการติดเช้อื ไวรัส • โยเกิร์ตขม้นิ ไข้หวัดใหญ่ (influenza A virus) 28 • โดนทั ขมน้ิ ชนั การจำลองภาพสามมิติในคอมพวิ เตอร์ พบว่า สารสำคัญสามารถ • น้ำต้มขมนิ้ แย่งจบั กบั ตำแหน่งท่ไี วรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 จะเขา้ สูเ่ ซลลป์ อด และตำแหน่งทม่ี ีผลยับยง้ั การแบ่งตวั ของไวรัสได้ 29,30 ขิงมรี สเผด็ รอ้ น มีคุณสมบัตอิ นุ่ พบฤทธติ์ า้ นไวรสั ไข้หวดั ใหญ่ • ไกผ่ ดั ขงิ พน้ื บ้านใช้กนิ แก้หวดั 31 • ปลานึ่งขิง การจำลองภาพสามมิติในคอมพิวเตอร์ พบว่า สารสำคัญสามารถ • น้ำขิง แย่งจับกบั ตำแหน่ง main protease (Mpro) ทีช่ ว่ ยยบั ย้งั การ • ขิงดอง แบ่งตวั ของไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 • ยำก้งุ แหง้ ขิงสด มว่ า่ บางสว่ นหรือทงั้ หมดเพ่อื ประโยชนท์ างการค้า

สว่ นประกอบ ตัวอย่าง ฤทธเิ์ สรมิ ฤทธ์ลิ ด ฤทธิ์ 3. ขา่ สารสำคญั ทพ่ี บ ภูมิคุ้มกัน อักเสบ ตา้ นไวรัส galangin,    • kaempferol, • quercetin • 4. ตะไคร้ kaempferol*,    • quercetin*, myricetin • 5. กระชาย kaempferol*,    • quercetin* • เอกสารนจ้ี ดั ทำขึ้นเพื่อสนับสนุนการใชส้ มุนไพรอย่างเหมาะสมและเป็นข้อมลู สนับสนนุ เพื่อวจิ ัยต่อยอด หา้ มนำขอ้ มูลนี้คัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

6 ขอ้ มูลเพ่มิ เติม ตวั อย่าง เมนอู าหาร ข้อมลู พืน้ บ้านใช้รักษาหลอดลมอกั เสบ 32 • ตม้ ข่าไก่ การจำลองภาพสามมิตใิ นคอมพิวเตอร์ พบว่า สารสำคัญ galangin • ตม้ ยำกงุ้ สามารถแย่งจับกับตำแหนง่ ทีไ่ วรัสโคโรนาสายพันธ์ุ 2019 จะข้าสู่ • ลาบเปด็ เซลลป์ อด และตำแหนง่ ท่มี ีผลยบั ยง้ั การแบ่งตัวของไวรัสได้ 30 quercetin เปน็ สารกลุม่ โพลีฟีนอล พบในพืชหลายชนดิ มีฤทธ์ลิ ดอกั เสบ เสริมภูมิคมุ้ กัน ตา้ นไวรัส และตา้ นมะเร็ง 33 ขอ้ มูลพืน้ บ้านใชร้ กั ษาปอดบวม แก้ไข้ แก้หวดั รกั ษามาลาเรีย • ยำตะไคร้กุ้งสด พบฤทธติ์ ้านการไอ และยังใช้คลายเครียด 34 • ทอดมนั ตะไคร้ การจำลองภาพสามมิติในคอมพวิ เตอร์ พบว่า สารสำคญั * ทพี่ บ • ไก่ทอดตะไคร้ สามารถแยง่ จับกับตำแหนง่ main protease (Mpro) ท่ีชว่ ย • นำ้ ตะไคร้ ยับยง้ั การแบ่งตัวของไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 ได้ชื่อวา่ เป็นโสมของคนไทย “Thai ginseng” พน้ื บา้ น • ขนมจีนนำ้ ยา ใช้แกไ้ อแห้งและแก้หวดั 35 • แกงสม้ การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพิวเตอร์ พบว่า สารสำคัญ*ทพ่ี บ • นำ้ กระชาย สามารถแย่งจับกับตำแหน่ง main protease (Mpro) ทช่ี ว่ ย • ผดั ขเ้ี มา ยบั ยั้งการแบ่งตัวของไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 • แกงปา่ ม่ว่าบางสว่ นหรือท้งั หมดเพ่อื ประโยชนท์ างการคา้

สว่ นประกอบ ตัวอย่าง ฤทธิ์เสรมิ ฤทธิล์ ด ฤทธ์ิ 6. พริก สารสำคญั ท่พี บ ภูมคิ มุ้ กนั อกั เสบ ตา้ นไวรสั quercetin,    • luteolin-7- glucoside • 7. พรกิ ไทย piperine    • • 8. กะเพรา phosphatidyl    • choline (PC)- complexed • oleanolic acid, ursolic acid, rosmarinic acid, eugenol, carvacrol, linalool เอกสารนี้จดั ทำขึ้นเพอ่ื สนบั สนุนการใช้สมนุ ไพรอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ขอ้ มลู สนับสนุนเพ่ือวจิ ัยตอ่ ยอด หา้ มนำข้อมลู น้ีคดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

7 ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั อย่าง เมนูอาหาร พรกิ เปน็ ยาขับเสมหะท่ีดีมาก สังเกตจากท่เี วลาเรากินพริกจะมี • ผดั พรกิ ออ่ นไก่ นำ้ ตาไหล น้ำมูกไหล อาหารท่ีเหมาะกบั การฟ้ืนฟปู อดและระบบ • นำ้ พรกิ หน่มุ ทางเดนิ หายใจ มกั จะมสี ว่ นประกอบของพริก กระเทียม และ • นำ้ พริกข้ีกา เครือ่ งเทศ 31 • ยำวุน้ เส้นใส่ การจำลองภาพสามมิตใิ นคอมพวิ เตอร์ พบว่าสารสำคัญทีพ่ บ พริกขี้หนสู วน สามารถแยง่ จบั กบั ตำแหน่ง main protease (Mpro) ทีช่ ่วย • ส้มตำไทย ยบั ย้ังการแบ่งตวั ของไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 • ถั่วผัดพริก ใชม้ าอยา่ งยาวนานในแถบเอเชีย โดยเฉพาะในการแพทย์แผนจนี • แกงเลยี ง และอายุรเวท นิยมใช้แก้ปวด เพ่มิ การไหลเวียนโลหิต 36 • สปาเกตต้ีขเ้ี มา มฤี ทธิ์ต้านไวรสั ไขห้ วัดใหญ่ ต้านซมึ เศร้า ต้านการแพ้ โดยมผี ล • ผัดฉ่า ยบั ย้งั การหลงั่ สารสือ่ อักเสบหลายชนิด เช่น interleukin -6, • หมูผัด interleukin -1b, immunoglobulin -E และ histamine8-1036-38 พรกิ ไทยดำ อายุรเวทใช้รกั ษาหวัด แกป้ วดหัว คลายเครียด • ผัดกะเพรา มีฤทธ์ติ า้ นไวรัสไขห้ วัดใหญ่ โดยมีผลยบั ย้งั เอนไซม์ • ไก่ซอสกะเพรา neuraminidase ของไวรสั ซ่งึ เป็นเป้าหมายสำคัญในการรักษา • น้ำกะเพรา และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของไวรัส กลไกเดยี วกนั กบั ยา oseltamivir 39 ม่ว่าบางสว่ นหรือทงั้ หมดเพื่อประโยชนท์ างการค้า

สว่ นประกอบ ตวั อย่าง ฤทธ์ิเสริม ฤทธิ์ลด ฤทธ์ิ 9. โหระพา สารสำคญั ที่พบ ภมู คิ มุ้ กนั อกั เสบ ต้านไวรัส caffeic,    • p-coumaric • acid 10. หูเสือ carvacrol,    • 11. สะเดา thymol • • quercetin*,    • azadirachtin • เอกสารน้ีจดั ทำขึ้นเพื่อสนับสนนุ การใชส้ มนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมลู สนับสนุนเพ่ือวิจัยตอ่ ยอด หา้ มนำข้อมูลนี้คัดลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

8 ขอ้ มลู เพมิ่ เติม ตัวอย่าง เมนูอาหาร พ้ืนบา้ นใชน้ ้ำค้นั สดจากใบดืม่ วนั ละ 2 ครัง้ เพอื่ รกั ษาหวัด 40 • มะเขอื ยาวผัด มฤี ทธิ์ตา้ นไวรัสไข้หวดั ใหญ่ และปรบั ภูมคิ ้มุ กนั โดยมผี ลยบั ยง้ั โหระพา การหลัง่ สารอกั เสบหลายชนดิ เชน่ IL-2, TNF-β, IL-5, IL-10 41 • ไขเ่ จยี วโหระพา • ห่อหมกใบ โหระพา พื้นบ้านใช้เป็นยาแกห้ วดั บรรเทาอาการไอ ไอเรอื้ รงั ขบั เสมหะ • ต้มจืดหเู สือ แก้เจ็บคอ คออกั เสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ หลอดลมอกั เสบ แก้ • ปอเปย๊ี ะหูเสือ หอบหดื ทำให้หายใจโล่ง พบฤทธ์ขิ ยายหลอดลม • สมทู ตห้ี เู สอื น้ำตม้ หรอื คัน้ จากใบใช้ลดเสมหะเหนียวขน้ ไดด้ ีมากจากสาร carvacrol และ thymol 42 carvacol พบฤทธ์ติ า้ นไวรัสไข้หวดั ใหญ่ 43 มีฤทธ์ติ ้านไวรสั ไขห้ วัดใหญ่ สาร nimbidin ลดการทำงานของ • สะเดานำ้ ปลา macrophages และ neutrophils มผี ลลดการอกั เสบและยังมี หวาน ฤทธ์ปิ รบั ภมู คิ ุม้ กัน 44,45 • ยำสะเดา การจำลองภาพสามมิติในคอมพวิ เตอร์ พบว่า สารสำคญั *ท่พี บ • นำ้ พริกสะเดา สามารถแย่งจบั กับตำแหนง่ main protease (Mpro) ท่ชี ่วย • แกงเผด็ สะเดา ยบั ยง้ั การแบง่ ตัวของไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 ม่ว่าบางส่วนหรือทง้ั หมดเพอ่ื ประโยชน์ทางการคา้

สว่ นประกอบ ตัวอยา่ ง ฤทธิ์เสริม ฤทธ์ลิ ด ฤทธ์ิ สารสำคัญท่ีพบ ภมู คิ มุ้ กัน อกั เสบ ต้านไวรสั 12.กะหลำ่ ปลี 13. บรอกโคลี kaempferol*,    • sulforaphane • 14.ผักหวานบา้ น kaempferol    • • เอกสารนจี้ ัดทำขึ้นเพ่อื สนับสนุนการใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนับสนนุ เพื่อวิจัยต่อยอด ห้ามนำขอ้ มลู นี้คัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ 9 พืชกลุ่ม cruciferous เช่น กะหล่ำปลี บรอกโคลี มีสาร ตวั อยา่ ง sulforaphane มีฤทธติ์ ้านไวรสั หวดั (influenza) และอดุ มไป เมนูอาหาร ด้วยสารต้านอนมุ ูลอสิ ระและเส้นใยอาหารสูงที่ชว่ ยเสริม ภมู คิ ุ้มกัน 46,47 • กะหล่ำปลีลยุ สวน การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพวิ เตอร์ พบว่า สารสำคัญ*ท่พี บ • ผัดกะหลำ่ ปลี สามารถแยง่ จบั กับตำแหนง่ main protease (Mpro) ทช่ี ว่ ย • กะหลำ่ ปลตี นุ๋ ยบั ยั้งการแบ่งตัวของไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 • ไข่ตนุ๋ กะหล่ำปลี • สลัดผัก ใบรสหวานเย็น ปรุงเป็นยาเขยี ว แก้ไข้ พบฤทธิต์ า้ นการอักเสบ • บรอกโคลนี ำ้ มนั หอย และกระตุน้ ภมู ิคุ้มกนั 48-50 • ข้าวผัดบรอกโคลี การจำลองภาพสามมติ ิในคอมพิวเตอร์ พบว่า สารสำคญั ทพ่ี บ • ซปุ ไก่บรอกโคลี สามารถแยง่ จับกับตำแหน่ง main protease (Mpro) ทีช่ ว่ ย ยบั ยง้ั การแบ่งตวั ของไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 • ผักหวานผัดไข่ • ยำผกั หวาน • ยอดผกั หวาน ผัดกงุ้ ม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมดเพือ่ ประโยชนท์ างการค้า

สว่ นประกอบ ตัวอยา่ ง ฤทธ์ิเสรมิ ฤทธล์ิ ด ฤทธ์ิ 15. มะรมุ สารสำคญั ท่พี บ ภมู ิคุ้มกนั อกั เสบ ตา้ นไวรัส quercetin    • • 16. ปวยเล้ง kaempferol    • • 17. ชาเขียว catechin,    • epicatechin gallate* • เอกสารน้จี ัดทำข้ึนเพอ่ื สนับสนุนการใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเป็นขอ้ มูลสนับสนนุ เพ่ือวจิ ัยตอ่ ยอด หา้ มนำขอ้ มูลนีค้ ดั ลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

10 ข้อมลู เพิ่มเตมิ ตวั อยา่ ง เมนูอาหาร ใบมะรุมมีสารต้านอนุมูลอสิ ระสูงมาก โดยเฉพาะกลุ่มฟนี อลกิ และฟลาโวนอยด์ ซ่งึ มีการศกึ ษาการใชส้ ารกล่มุ น้ใี นการรักษา • แกงส้มมะรุม หลอดลมอกั เสบ มาลาเรยี ไขเ้ ลอื ดออก 51,52 • ยอดมะรมุ ลวก การจำลองภาพสามมติ ิในคอมพวิ เตอร์พบว่าสารสำคัญที่พบ สามารถแย่งจับกบั ตำแหนง่ main protease (Mpro) ที่ช่วย จม้ิ นำ้ พรกิ ยบั ยงั้ การแบ่งตัวของไวรสั โคโรนาสายพันธ์ุ 2019 ได้ 29 • ไขเ่ จียวใบมะรมุ สารสกดั นำ้ จากปวยเล้งมีฤทธต์ิ า้ นการอักเสบ ต้านหอบหืด 53,54 • ตม้ จดื ยอด การจำลองภาพสามมิตใิ นคอมพวิ เตอร์พบวา่ สารสำคญั ทพ่ี บ สามารถแยง่ จับกบั ตำแหนง่ Main Protease (Mpro) ทชี่ ว่ ย มะรมุ ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรสั โคโรนาสายพันธ์ุ 2019 ได้ 29 • ปวยเล้งผัดไข่ • ปวยเลง้ นำ้ มนั งา • แกงจดื ปวยเล้ง ชาเขียวมีสารในกลุ่มโพลีฟนี อลทมี่ ฤี ทธิต์ ้านอนุมูลอิสระ ลดการ • เครอ่ื งดม่ื ชา อกั เสบ และปรับภมู ิคุ้มกนั 55,56 เขียว การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพิวเตอร์พบว่าสารสำคญั *ท่ีพบ สามารถแยง่ จับกบั ตำแหน่ง main protease (Mpro) ทชี่ ว่ ย • พดุ ดง้ิ ชาเขยี ว ยบั ย้งั การแบ่งตวั ของไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 • ไอศกรีมชาเขียว • ยำใบชา ม่ว่าบางส่วนหรือท้ังหมดเพ่ือประโยชน์ทางการคา้

สว่ นประกอบ ตวั อยา่ ง ฤทธ์ิเสรมิ ฤทธ์ลิ ด ฤทธ์ิ 18.ข้าวไมข่ ัดสี สารสำคัญท่พี บ ภมู ิคมุ้ กนั อกั เสบ ต้านไวรัส 19. ผักชี phytosterols,   • phenolic acids, flavonoids, GABA, • phytic acid, • γ-oryzanol kaempferol,    • quercetin • 20.หวั หอม quercetin,    • luteolin-7- • glucoside เอกสารนี้จัดทำข้นึ เพอื่ สนับสนนุ การใชส้ มุนไพรอยา่ งเหมาะสมและเป็นขอ้ มูลสนบั สนนุ เพ่ือวิจยั ตอ่ ยอด ห้ามนำข้อมลู นี้คดั ลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

11 ข้อมลู เพม่ิ เติม ตัวอย่าง เมนูอาหาร มงี านวจิ ัยในหนพู บว่าขา้ วกล้องงอกท่ีอุดมไปดว้ ย GABA • ข้าวผดั ธญั พืช ชว่ ยเพิ่มจำนวนเซลลเ์ พม่ิ ค้มุ กัน splenic B, T-helper cell • ข้าวอบไก่ตุ๋น สารหลายชนิดชว่ ยลดการอกั เสบ เช่น γ-oryzanol • ขา้ วห่อใบบัว วิตามินอีท่ีพบในข้าวไมข่ ัดสี ช่วยซอ่ มแซม DNA และเสรมิ ภูมคิ มุ้ กัน • ขา้ วคลุกกะปิ มีวติ ามนิ บชี ่วยบำรงุ ระบบประสาท คลายเครียด 57 พน้ื บ้านใช้น้ำค้นั จากใบอ่อนใชค้ ลายกังวลและรักษาอาการนอนไม่หลบั 58 • เมี่ยงปลาทูแนม การจำลองภาพสามมิติในคอมพิวเตอร์พบว่าสารสำคญั ทีพ่ บ ผกั ชี สามารถแย่งจบั กับตำแหนง่ main protease (Mpro) ท่ชี ่วย • ไข่ลกู เขยโรย ยบั ยง้ั การแบง่ ตวั ของไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ 2019 ได้ 29 ผกั ชี • สาคไู ส้หมกู ิน กับผักชี หัวหอมใชเ้ ป็นยาแก้หวัด รกั ษาหลอดลมอกั เสบ แก้ไอ 31 • ไขเ่ จียวหอม การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพวิ เตอร์พบว่าสารสำคัญทพ่ี บ • ซปุ หัวหอม สามารถแยง่ จบั กบั ตำแหนง่ main protease (Mpro) ทช่ี ่วย • หอมชบุ แปง้ ยับยง้ั การแบง่ ตัวของไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ 2019 ได้ 29 ทอด • สลดั ผัก ม่ว่าบางส่วนหรือทงั้ หมดเพื่อประโยชนท์ างการคา้

สว่ นประกอบ ตวั อยา่ ง ฤทธ์เิ สริม ฤทธล์ิ ด ฤทธ์ิ 21. กระเทียม สารสำคัญที่พบ ภมู ิคุ้มกนั อกั เสบ ตา้ นไวรสั quercetin,    • allicin • • 22. ยอ quercetin* ,    • vitamin C, niacin • เอกสารน้ีจดั ทำขึน้ เพื่อสนบั สนนุ การใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเป็นขอ้ มลู สนับสนนุ เพื่อวิจยั ต่อยอด หา้ มนำข้อมูลนค้ี ดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

12 ข้อมูลเพิ่มเติม ตัวอยา่ ง เมนูอาหาร กระเทยี มช่วยเสรมิ การทำงานของภูมิคุ้มกันโดยกำเนดิ และ • ปลาโอผัด ภูมิค้มุ กันแบบจำเพาะ 59 กระเทียมพรกิ ไทย allicin มีฤทธ์ยิ บั ยง้ั ไวรัสชนดิ มีเปลือกหมุ้ และชนิดไมม่ ีเปลอื กหุ้ม 60 • ไก่ทอดกระเทียม • ไขผ่ ัดวุน้ เสน้ การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพิวเตอร์พบว่าสารสำคญั ท่ีพบ กระเทียมดอง สามารถแย่งจบั กับตำแหน่ง main protease (Mpro) ทีช่ ่วย ยบั ยง้ั การแบง่ ตัวของไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ 2019 ได้ 29 • กระเทยี มดอง นำ้ ผ้ึง มีฤทธิป์ รบั ภมู คิ ุ้มกนั ลดการอักเสบ ต้านอนุมูลอสิ ระ และยังมี • สม้ ตำยอ ฤทธิค์ ลายเครยี ด 61,62 • ยอกวนพรกิ ไทย การจำลองภาพสามมิตใิ นคอมพิวเตอร์พบวา่ สารสำคญั * ทพี่ บ • น้ำลูกยอ สามารถแย่งจับกับตำแหนง่ main protease (Mpro) ทีช่ ว่ ย ยบั ยงั้ การแบ่งตัวของไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 ม่ว่าบางส่วนหรือท้ังหมดเพือ่ ประโยชนท์ างการคา้

ส่วนประกอบ ตวั อยา่ ง ฤทธ์เิ สรมิ ฤทธ์ลิ ด ฤทธ์ิ 23. มะกรดู สารสำคัญทพ่ี บ ภูมคิ ุม้ กนั อักเสบ ต้านไวรัส 24. มะนาว hesperedin,    • naringenin พบมากทผ่ี วิ 64 • • • • เอกสารนจ้ี ัดทำขน้ึ เพ่ือสนบั สนนุ การใช้สมนุ ไพรอย่างเหมาะสมและเป็นขอ้ มูลสนบั สนนุ เพ่ือวจิ ยั ตอ่ ยอด หา้ มนำขอ้ มูลนคี้ ัดลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

13 ข้อมลู เพ่มิ เติม ตัวอยา่ ง เมนูอาหาร มีวิตามนิ ซีสูง ช่วยลดระยะเวลาการเป็นหวัด เสรมิ ภูมิคมุ้ กนั 63 • มะกรูดเช่ือม แก้เจ็บคอได้ดี 31 • มะกรูดลอยแกว้ มะกรดู ชว่ ยเสรมิ การทำงานของภมู ิค้มุ กันโดยกำเนิด • แยมมะกรูด และภูมคิ ุ้มกันแบบจำเพาะ 64,65 • ชาผวิ มะกรดู สาร naringenin ชว่ ยส่งเสริมการทำงานของเซลล์ภูมิคุ้มกัน B cell, • แกงเทโพ • นำ้ มะนาว NK cell66 การจำลองภาพสามมิตใิ นคอมพิวเตอร์พบว่าสาร naringenin • ตม้ ยำ • หมมู ะนาว สามารถแย่งจบั กบั ตำแหนง่ Main Protease (Mpro) ที่ช่วย • ปลาน่งึ มะนาว ยับยง้ั การแบ่งตัวของไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 • ฟักตนุ๋ มะนาว ในการศกึ ษาคน้ คว้า พบว่าสาร hesperidin สามารถจบั กับ ดอง เอนไซมข์ องไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ทำใหเ้ กิดการยับยัง้ การ • เม่ยี งคำ แบ่งตวั ของไวรสั ได้ดกี ว่ายา lopinavir 30 และสามารถจับตัวรบั ACE2 ในการผ่านเข้าเซลลป์ อดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุ 201967 ม่ว่าบางสว่ นหรือทง้ั หมดเพ่อื ประโยชน์ทางการคา้

สว่ นประกอบ ตวั อย่าง ฤทธ์เิ สริม ฤทธิล์ ด ฤทธิ์ 25.มะขามปอ้ ม สารสำคญั ท่พี บ ภูมิคมุ้ กัน อกั เสบ ตา้ นไวรัส phyllaemblicinG7,    • phyllaemblinol, phyllaemblivin B • • เอกสารน้ีจดั ทำข้ึนเพื่อสนับสนุนการใชส้ มุนไพรอย่างเหมาะสมและเป็นขอ้ มลู สนบั สนุนเพื่อวิจยั ตอ่ ยอด หา้ มนำข้อมลู น้คี ดั ลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

14 ขอ้ มลู เพ่ิมเติม ตัวอยา่ ง เมนอู าหาร มะขามป้อมเปน็ ยาแก้ไอ ละลายเสมหะ พ้นื บา้ นใชร้ กั ษา • กินสด หลอดลมอักเสบ วัณโรคปอด หอบหดื 31 ช่วยส่งเสรมิ การทำงาน • มะขามป้อม ของ NK cells และ cytotoxic T lymphocytes (CTL) แชอ่ ิ่ม Phyllanthin และ Chebulagic acid มฤี ทธยิ์ ับยัง้ กระบวนการ • มะขามป้อม อกั เสบ NF-κB signaling pathway 68 การจำลองภาพสามมติ ใิ นคอมพวิ เตอร์ พบว่า สาร กวน/แยม Phyllaemblicin G7 มคี วามสามารถในการจับกบั ขาโปรตนี • น้ำพรกิ (Spike protein) และตัวรับ ACE2 ในการผา่ นเข้าเซลล์ปอด ของไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ 2019 สาร Phyllaemblinol และ มะขามป้อม • นำ้ มะขามปอ้ ม • น้ำตรผี ลา Phyllaemblivin B เข้าจับตำแหนง่ 3-chymotrypsin-like protease (3CLpro) และตำแหน่ง RNA-dependent RNA polymerase (RdRp) โดยเป็นตำแหนง่ สำคัญในการยบั ย้ังการ สรา้ งและการแบ่งตัวของเชอื้ ซ่ึงเป็นกระบวนการสำคัญในการ เพิม่ จำนวนของไวรัส 69 ม่ว่าบางส่วนหรือทง้ั หมดเพื่อประโยชน์ทางการค้า

สว่ นประกอบ ตวั อย่าง ฤทธิ์เสริม ฤทธล์ิ ด ฤทธิ์ 26.มะเขอื เทศ สารสำคัญทพี่ บ ภมู ิคมุ้ กัน อกั เสบ ต้านไวรสั 27. มะละกอ 28. แคร์รอต betacarotene   • 29. ฟักทอง • 30. งาดำ sesamol,   • sesamolin, • sesaminol • • เอกสารนี้จัดทำข้ึนเพื่อสนับสนุนการใช้สมุนไพรอย่างเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนบั สนนุ เพ่ือวจิ ยั ตอ่ ยอด หา้ มนำข้อมลู น้ีคัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

ขอ้ มูลเพิม่ เติม 15 betacarotene พบในผักผลไมส้ เี หลอื งส้มแดง เช่น มะเขือเทศ ตวั อยา่ ง แคร์รอต มะละกอ ฟักทอง 70 มฤี ทธปิ์ รบั ภมู คิ ุ้มกัน และต้าน เมนอู าหาร อนมุ ูลอสิ ระได้ดมี าก 71 betacarotene สามารถเปลีย่ นเปน็ วติ ามินเอในรา่ งกาย • สปาเกตตี้ผดั จากงานวิจยั แนวทางการดูแลตัวเองแบบบูรณาการใน ซอสมะเขอื เทศ สถานการณไ์ วรัสโควิดระบาด แนะนำใหใ้ ช้สารอาหารเพือ่ เสรมิ ภมู คิ ้มุ กัน เช่น วิตามนิ เอ วิตามินซี สังกะสี • สม้ ตำแคร์รอต สำหรับวิตามินเอ มีงานวิจยั พบว่าสามารถลดระดบั สารส่อื • ซปุ ฟักทอง อักเสบ IL-1b 72 ควรปรึกษาเภสัชกรก่อนใชห้ ากจะซ้ือวติ ามิน • มะละกอสุก อัดเม็ด เพราะสามารถสะสมในรา่ งกายได้ • แตงโม พน้ื บา้ นมีการใชง้ า รักษาหอบหืด หลอดลมอักเสบ และปอด • บวดฟกั ทอง อกั เสบ 31 • แกงฟักทอง นำ้ มนั งาและสาร sesamol มีผลปรับภูมคิ ุม้ กัน ปอ้ งกันไมใ่ ห้ dendritic cell หลั่งสารสอื่ อักเสบ • น้ำเตา้ หงู้ าดำ งานวิจยั ในหนูพบวา่ งาสามารถลดสารสอื่ อักเสบได้หลายชนดิ • บัวลอยน้ำขิง เชน่ TNF-α, IL-1β, and IL-6 73 งาดำ • ไข่ต๋นุ งาดำ ม่ว่าบางส่วนหรือทัง้ หมดเพอื่ ประโยชน์ทางการคา้

สว่ นประกอบ ตัวอยา่ ง ฤทธเิ์ สริม ฤทธิ์ลด ฤทธิ์ 31.ถวั่ ต่างๆ สารสำคญั ทพ่ี บ ภมู คิ ุ้มกนั อกั เสบ ตา้ นไวรัส zinc    • (แรธ่ าตุสังกะส)ี • • 32. เหด็ • beta-glucans,    • polysaccharides • • เอกสารน้จี ดั ทำขน้ึ เพ่ือสนับสนุนการใชส้ มุนไพรอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ขอ้ มูลสนับสนนุ เพื่อวิจยั ต่อยอด ห้ามนำข้อมลู นค้ี ัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

16 ข้อมูลเพม่ิ เตมิ ตวั อย่าง เมนูอาหาร ถ่ัวเปน็ แหล่งอาหารช้นั ดขี องแร่ธาตสุ ังกะสี ท่ีมีส่วนชว่ ยในการ • ถว่ั ค่ัวเกลอื เสริมภมู ิคุม้ กันและอดุ มไปด้วย วิตามนิ บี ชว่ ยบำรุงระบบ • ผัดเผ็ดเม็ด ประสาท ต้านซึมเศร้า มะมว่ งหิมพานต์ สังกะสีมีสว่ นชว่ ยในการทำงานของต่อมไทมัสที่สร้างเซลล์ • ตม้ ถ่วั ลสิ งรากบัว lymphocyte หรอื T cell 31 • น้ำอารซ์ ี สงั กะสีสามารถยับยง้ั การเขา้ เซลล์ของไวรัสโคโรนาและลดความ • ถั่วเขียวต้ม รุนแรงของการตดิ เชือ้ 72 สงั กะสสี ามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไวรัสโคโรนาสาย พนั ธุ์ 2019 : papain-like protease 2 74 beta-glucans และ polysaccharides มีฤทธิ์ปรบั ภมู ิคมุ้ กัน • ลาบเห็ด และลดความรนุ แรงของหวดั • เหด็ ย่าง งานวิจัยของเห็ดท่ีพบฤทธิต์ า้ นไวรัสหวัดพบขอ้ มูลบางสายพนั ธ์ุ • ยำเห็ด เชน่ Ganoderma pfeifferi 75,76 • เห็ดชุบแปง้ ทอด ระวงั การใชส้ ารสกัด polysaccharide ในผทู้ ยี่ ืนยนั ว่าตดิ โรคโควดิ -19 เพราะอาจกระตุ้นการหล่ังสารอกั เสบบางชนดิ แตย่ ังคงรบั ประทานเปน็ อาหารดุแลสขุ ภาพได้ 72 ม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมดเพอื่ ประโยชนท์ างการคา้

สว่ นประกอบ ตวั อย่าง ฤทธ์เิ สรมิ ฤทธล์ิ ด ฤทธ์ิ 33.มะระขนี้ ก สารสำคญั ท่พี บ ภมู คิ ุ้มกนั อักเสบ ตา้ นไวรัส flavonoid ,    • tannin • 34.สันพรา้ หอม quercetin,*    • quercitrin, • psoralen • 35. อบเชย cinnamaldehyde    • • • • เอกสารนีจ้ ดั ทำขนึ้ เพ่อื สนบั สนนุ การใช้สมุนไพรอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ข้อมูลสนับสนนุ เพ่ือวจิ ัยตอ่ ยอด ห้ามนำข้อมลู นีค้ ัดลอก หรือดดั แปลง เผยแพร่ ไม

17 ข้อมูลเพ่มิ เติม ตวั อย่าง เมนอู าหาร สารสกัดโปรตนี จากผลสุกมะระขนี้ กมฤี ทธิต์ ้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ • มะระขน้ี กผัดไข่ สายพันธ์ุเอได้หลายชนิด ได้แก่ H1N1, H3N2, H5N1 (broad • ฉฉู่ ่ีมะระข้ีนก antiviral activity against different subtypes of influenza A) 77 • ลวกกินกบั นำ้ ค้นั มะระขี้นกมีฤทธเ์ิ สรมิ การทำงานของภูมคิ ุ้มกัน นำ้ พรกิ T-helper type 2 (Th2) 78 มฤี ทธ์ติ ้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ (influenza) • ตม้ จืด สาร quercetin, quercitrin และ psoralen ยบั ยั้งการแบ่งตวั สันพรา้ หอม ของไวรัสและเหนย่ี วนำการหล่งั สารกำจัดไวรัสอย่าง IFN-beta79,80 • ผักสดแกล้มกับ การจำลองภาพสามมติ ิในคอมพวิ เตอร์พบวา่ สารสำคัญ* ท่ีพบ ลาบ สามารถแย่งจับกบั ตำแหนง่ main protease (Mpro) ท่ีชว่ ย ยับยง้ั การแบ่งตวั ของไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ุ 2019 ได้ 29 ทางยุโรปนิยมใช้อบเชยป้องกนั และรกั ษาหวัด โดยผสมผงอบเชย • น้ำผ้ึงมะนาว กบั พรกิ ไทยดำและน้ำผึ้ง อบเชย ใชแ้ ก้ไอโดยผสมผงอบเชยกบั ขิงและกานพลู • ปีกไก่อบอบเชย ผงอบเชยผสมกับนำ้ ผ้ึง ดม่ื ชว่ งฤดฝู นเพ่ือป้องกนั หวดั 81,82 • พะโล้ cinnamaldehyde มีฤทธ์ิกดการทำงานของ nuclear factor- • นำ้ ขงิ อบเชย κB หากมกี ารทำงานของภูมคิ มุ้ กนั มากเกนิ ไป 83 ม่ว่าบางสว่ นหรือท้ังหมดเพอื่ ประโยชน์ทางการคา้

ส่วนประกอบ ตวั อยา่ ง ฤทธ์ิเสริม ฤทธลิ์ ด ฤทธ์ิ 36.ผกั ชลี าว สารสำคญั ทพ่ี บ ภมู ิคุ้มกนั อกั เสบ ต้านไวรสั (เทียนตาต๊ักแตน) kaempferol,    • quercetin • 37.นำ้ ผึ้ง fructose,   * • glucose, sucrose, • amino acids, flavonoids • เอกสารน้จี ัดทำข้ึนเพื่อสนับสนนุ การใช้สมุนไพรอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ขอ้ มลู สนับสนนุ เพ่ือวิจยั ต่อยอด หา้ มนำข้อมูลนี้คัดลอก หรือดัดแปลง เผยแพร่ ไม

18 ข้อมลู เพ่ิมเติม ตวั อยา่ ง เมนูอาหาร พื้นบา้ นใชใ้ บช่วยขบั ลม พบฤทธต์ิ า้ นไวรัส เมลด็ ใชก้ นิ รักษาหวดั 31 • แกงอ่อม การจำลองภาพสามมิติในคอมพวิ เตอร์ พบว่า สารสำคัญทีพ่ บ • เมลด็ ผักชีลาว สามารถแยง่ จับกบั ตำแหนง่ main protease (Mpro) ทช่ี ว่ ย 60 กรมั ยับย้ังการแบ่งตวั ของไวรสั ได้ 29 ชงผสมน้ำผง้ึ กินวันละ 3 ครงั้ เวลาเป็นหวัด งานวิจยั ท่ีพบเป็นของน้ำผ้ึงมานูก้า พบฤทธติ์ ้านไวรสั ไข้หวัด • มะนาวดองนำ้ ผ้ึง ใหญ่* • แพนเคก้ ราด นำ้ ผง้ึ มนี ้ำตาลหลายชนดิ ส่วนใหญ่จะเป็นฟรักโทสกบั กลโู คสท่ี ชว่ ยใหพ้ ลงั งานและทำใหร้ ู้สึกสดช่ืน คลายความเหน่อื ยลา้ น้ำผ้ึง ออ่ นเพลียได้ 84 • ไกอ่ บน้ำผ้งึ สรรพคุณที่ระบไุ ว้ในตำราอาหารและยาจนี บำรงุ ภาวะพรอ่ ง • อัญชนั น้ำผึ้ง • น้ำผึง้ มะนาว ออ่ นแอ เหมาะกบั วณั โรคปอด ชว่ ยลดความแหง้ ของปอด ทำให้ชมุ่ ชนื้ เหมาะสำหรบั อาการไอแห้งๆ ไม่มเี สมหะ ไอเร้ือรัง มกั จะทำให้ชุ่มคอ อาจใชร้ ่วมกบั สมนุ ไพร ซาเซิน เซงิ ตี้ 85 ม่ว่าบางส่วนหรือทัง้ หมดเพือ่ ประโยชน์ทางการคา้

ภาคผนวก




























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook