เหด็ ขมุ ทรัพยช์ ุมชน สรปุ รายงานการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและการใชป้ ระโยชนเ์ ห็ด พน้ื ทป่ี า่ ชุมชนดงใหญ่ อำ� เภอหวั ตะพาน จังหวดั อ�ำนาจเจรญิ ปี 2558 – 2561 จ�ำนวนทพ่ี ิมพ์ 2,000 เล่ม ปีทีพ่ มิ พ์ สิงหาคม 2561 จดั พมิ พ์โดย สำ� นกั งานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องคก์ ารมหาชน) ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชน้ั 9 เลขท่ี 120 หมทู่ ี่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ 10210 โทร 02 141 7800 คณะผู้วจิ ัยและเรยี บเรียงหนังสือ ศนู ย์พนั ธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ สวทช. นางสาวธิตยิ า บญุ ประเทือง ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) นายรัตเขตร์ เชยกล่นิ มหาวิทยาลัยมหดิ ล นางสาวประภาพรรณ ซอหะซนั โครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� รฯิ นายภัทรชัย จุฑามาศ ศูนย์พันธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยชี ีวภาพ สวทช. นายณัฐวุฒิ วริ ยิ ะธนาวุฒวิ งศ์ ศนู ยพ์ ันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพ สวทช. นางสาวทกั ษพร ธรรมรกั ษ์เจรญิ ศูนย์พันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ สวทช. นางสาวมณรี ตั น์ พบความสขุ ศูนยพ์ นั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ สวทช. นางสาวสริ ิวรรณ ณ บางชา้ ง ศนู ยพ์ ันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ สวทช. นางสาวสกาวกาญ อนาผล สำ� นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) นางสาวธัญญรัตน์ เชดิ สูงเนิน ส�ำนักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ (องคก์ ารมหาชน) นางสาวพัชรี ปะตังเวสา ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) นางวราภรณ์ คำ� คง กติ ติกรรมประกาศ โครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เงนิ งบประมาณประจ�ำปี 2561 ของส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) และ ไดเ้ งินสนับสนนุ การวิจัยจากโปรแกรมการบรหิ ารจดั การความ หลากหลายทางชวี ภาพ คลสั เตอร์ทรพั ยากรชีวภาพ ส�ำนกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสโครงการ P1651630
เหด็ ขมุ ทรัพยช์ มุ ชน
2 เหด็ ขุมทรัพย์ชุมชน พ้ืนท่ีจังหวัดอ�ำนาจเจริญเป็นพ้ืนท่ีได้รับความสนใจเป็นอย่างย่ิงเน่ืองจากได้รับการศึกษาข้อมูลพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถ่ินทุก ต�ำบลแสดงให้เห็นถึงด้วยความอุดมสมบูรณ์ของป่าชุมชนซึ่งมีจ�ำนวนหลายแหล่ง ป่าชุมชนท่ีมีความสมบูรณ์ท่ีสุดในจังหวัดอ�ำนาจเจริญ และเป็นป่าทีม่ ขี นาดผืนใหญท่ สี่ ุดในจงั หวัด ขนาด 25,000 ไร่ ปา่ ชมุ ชนน้ี เกิดจากประชาชนบรเิ วณป่าชุมชนดงใหญท่ ลู เกล้าถวายเอกสาร สทิ ธ์ทิ �ำกนิ ในที่ดินของตน ให้กบั สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ เพ่ือให้เป็นปา่ ของชมุ ชน ด้วยการนี้พระองคท์ า่ นจงึ ไดร้ บั ปา่ ชมุ ชนนอี้ ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลโดยมขี อ้ ตกลงการใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ระหวา่ งราษฎรภ์ ายในทอ้ งถนิ่ แตด่ ว้ ยความอดุ มสมบรู ณข์ องปา่ นท้ี ำ� ให้ ถกู การรุกรานจากการเกบ็ ทรัพยากรชีวภาพไปเพือ่ การคา้ จากคนนอกพืน้ ทโี่ ดยไม่ค�ำนึงถึงความยั่งยนื ของทรพั ยากรน้นั เป็นผลใหเ้ กิดการ เขา้ ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพนื้ ทอ่ี ยา่ งไมม่ ขี อบเขตและกฎเกณฑ์ เนอ่ื งสภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องปา่ นท้ี ถี่ กู โอบลอ้ มดว้ ยชมุ ชนและมที างเขา้ จากทกุ หมบู่ า้ น รวมถงึ มถี นนหลวงตดั ผา่ น ดงั นน้ั การควบคมุ การเขา้ หาผลประโยชนท์ รพั ยากรชวี ภาพจากคนนอกถน่ิ จงึ ยากแกก่ ารควบคมุ จงึ เกิดการเข้าหาผลประโยชนม์ ากเกินกวา่ ทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ จะรบั ได้
ดงั นน้ั โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ 3 สยามบรมราชกุมารี ขอสนับสนุนนักวิจัยเร่งส�ำรวจและอนุรักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่นจังหวัด อ�ำนาจเจริญ โดยเฉพาะทรัพยากรในพื้นท่ีป่าชุมชนดงใหญ่เป็นป่าท่ีสมบูรณ์ที่สุดในจังหวัด อำ� นาจเจรญิ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี งเพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มลู เบอื้ งตน้ ใชป้ ระกอบการวางแผนการจดั การ ทรพั ยากรชวี ภาพและใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื ในอนาคต “เหด็ ” เปน็ หนง่ึ ในทรพั ยากรชวี ภาพทถี่ กู หยบิ ยกขน้ึ มาพจิ ารณาในกรณนี ้ี เนอื่ งจากวถิ ชี วี ติ ของคนอำ� นาจเจรญิ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี งโดยเฉพาะในภาคอสี าน เกบ็ เหด็ ปา่ เพอ่ื การบรโิ ภค และจำ� หนา่ ย เหด็ จากปา่ ชมุ ชนดงใหญม่ คี วามหลากหลายเพราะเปน็ ปา่ ทอี่ ดุ มสมบรู ณเ์ ตม็ ไป ดว้ ยตน้ ไมใ้ หญท่ ม่ี อี ายยุ าวนาน ในปี 2558 ไดเ้ กดิ การรวมตวั ของนกั วจิ ยั ทม่ี คี วามชำ� นาญใน การศกึ ษาอนกุ รมวธิ านเหด็ และเปน็ ภณั ฑารกั ษข์ องพพิ ธิ ภณั ฑเ์ หด็ รว่ มกนั ศกึ ษาความหลาก หลายทางชวี ภาพและอนกุ รมวธิ านของเหด็ ทป่ี รากฎในพน้ื ทปี่ า่ ชมุ ชนดงใหญ่ โดยสำ� นกั งาน พฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน), ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพ สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ไดเ้ ขา้ รว่ ม สนองพระราชด�ำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยยึดหลักการใช้พื้นท่ี ธรรมชาตแิ ละชมุ ชนในจงั หวดั อำ� นาจเจรญิ เปน็ แหลง่ ปกปกั พนั ธกุ รรม พชื ความหลากหลายทางชวี ภาพและพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐาน ชวี ภาพ ตรงกบั กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรมอนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชน์ พนั ธกุ รรมพชื หรอื “อำ� นาจเจรญิ โมเดล” โดยไดใ้ ช้ “เหด็ ”
เปน็ ทรพั ยากรชวี ภาพนำ� รอ่ ง ในปี 2558 – 2561 ไดท้ ำ� การสำ� รวจเหด็ อนกุ รมวธิ าน เปน็ แหลง่ รวบรวมสายพนั ธเ์ุ หด็ เพอ่ื การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ พ้ืนท่ี “ป่าชุมชนดงใหญ่” ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอหัวตะพาน ซง่ึ จะนำ� ไปสกู่ ารคดั เลอื กและพฒั นาปรบั ปรงุ เปน็ ผลติ ภณั ฑใ์ นอนาคต จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ การจะนำ� ทรพั ยากรชวี ภาพมาใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาเศรษฐกจิ และ จากการดำ� เนนิ งานทผี่ า่ นมาหนว่ ยงานฯ ไดร้ บั การสนบั สนนุ รว่ ม ประเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพนน้ั จำ� ตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู พนื้ ฐานเกยี่ วกบั ทีมศึกษาและประสานงานจากโครงการ อพ.สธ. ส่วนงบประมาณ ทรพั ยากรชวี ภาพในการวางแผนจดั การทรพั ยากรชวี ภาพใหส้ ามารถ สนบั สนนุ ไดจ้ ากภาครฐั ผา่ นระบบงบประมาณแผน่ ดนิ และทนุ วจิ ยั ของ นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื และมปี ระสทิ ธภิ าพ โปรแกรมการบรหิ ารจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ คลสั เตอร์ เปา้ หมายของโครงการ คอื เพอื่ สนองพระราชดำ� รฯิ ในโครงการ ทรัพยากรชีวภาพ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพ รหสั โครงการ P1651630 เพอื่ เกบ็ รวบรวมและจดั ทำ� บญั ชรี ายการ รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สรา้ งองคค์ วามรดู้ า้ นอนกุ รมวธิ าน 4 เหด็ ทม่ี แี หลง่ กำ� เนดิ ในพน้ื ที่ “ปา่ ชมุ ชนดงใหญ่ หวั ตะพาน” ศกึ ษา เพ่ือศึกษาชนิดพันธุ์ท่ีถูกต้องของเห็ด รายละเอียดลักษณะสัณฐาน อนุกรมวิธานโดยใช้เอกลักษณ์ทางสัณฐานวิทยาและชีวโมเลกุล วทิ ยาของเหด็ ในพนื้ ทปี่ า่ ชมุ ชนดงใหญ่ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั จำ� แนกและ ประกอบเพอื่ จดั จำ� แนกในระดบั ชนดิ และจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู barcoding การอ้างอิงตามหลักอนุกรรมวิธาน เก็บตัวอย่างแห้งเห็ดเพื่อใช้ใน ของเห็ดเพ่ือเก็บเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมของเห็ดชนิดนั้นๆ เห็ดที่ งานอนุกรมวิธานและเป็นหลักฐานการปรากฎของเห็ดชนิดนั้นของ สามารถแยกเช้ือได้จะท�ำการแยกเช้ือ ท�ำให้เป็นเชื้อบริสุทธ์ิจัดเก็บ ประเทศไทย ข้อมูลรายละเอียดสัณฐานวิทยาและรายละเอียดรหัส ท่ีธนาคารจุลินทรีย์ เพื่อน�ำไปศึกษาการน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อยอด พนั ธกุ รรม (DNA barcoding) ของเหด็ แตล่ ะชนดิ และเกบ็ รกั ษาสาย ตัวอย่างแห้งของเห็ดท้ังหมดจัดเก็บที่พิพิธภัณฑ์เห็ดแห่งชาติ ณ พนั ธเ์ุ หด็ บรสิ ทุ ธใ์ิ นธนาคารจลุ นิ ทรยี ไ์ บโอเทค สำ� หรบั สนบั สนนุ การ ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติผลทไ่ี ดจ้ ากโครงการน้ี อนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชนจ์ ากเหด็ ในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ เพอ่ื การศกึ ษา จะเปน็ แหลง่ เกบ็ รวบรวมตวั อยา่ งแหง้ เพอ่ื การศกึ ษาเทยี บเคยี งชนดิ เพอ่ื วจิ ยั และนำ� ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ยอด ทง้ั หมดนบี้ คุ คลทว่ั ไปสามารถเขา้ เปน็ หลกั ฐานขอ้ มลู ทางพนั ธกุ รรมดา้ นความหลากหลายของชนดิ และ ถงึ และน�ำไปศกึ ษาตอ่ ยอดได้
ส�ำรวจและเก็บตวั อยา่ ง ขนั้ ตอนและวธิ กี ารวจิ ยั บันทกึ ลักษณะตัวอย่างในภาคสนาม ทำ� ตัวอย่างแห้ง ภาพถ่ายและขอ้ มลู ของพนื้ ที่ แยกเชือ้ คดั เลือกและศึกษา เกบ็ รักษาคุณภาพและฝากเก็บ เกบ็ ข้อมูลลง ท�ำใหเ้ ชื้อบรสิ ุทธ์ิ สายพันธุเ์ หด็ กิน ตวั อย่าง พพิ ิธพัณฑเ์ หด็ รา (BBH) ฐานขอ้ มูล ท�ำซ้ำ� และส่งเก็บ ได้ท่ีมีศักยภาพใน ยืมตวั อย่างแห้ง BBH เพอ่ื ศกึ ษารายละเอยี ด BEDO, BIOTEC ฝากเกบ็ การสง่ เสรมิ เพอื่ & RSPG คลงั จุลินทรยี ์ การบรโิ ภค หรือ จ�ำหนา่ ย และศกึ ษา วฎั จักรเชื้อเหด็ ศึกษาดว้ ยชีวโมเลกุล ศกึ ษารายละเอยี ดใตก้ ลอ้ งทดสอบ 5 สกัดDNA ท�ำ PCR สารเคมี คำ� นวณสถติ สิ ปอร์ วาดภาพวทิ ยาศาสตร์ ทางอนกุ รมวธิ าน วิเคราะหข์ ้อมลู เบือ้ งต้น เทยี บกบั GenBank และ Bold System สรา้ ง Phylogram เพอื่ วเิ คราะหค์ วาม บนั ทกึ ผลทางสัณฐานวทิ ยาจาก สมั พันธแ์ ละวิวฒั นาการของเห็ดแต่ละกลมุ่ ภาคสนามและหอ้ งปฏิบตั ิการ ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์ ภาพถา่ ยและข้อมลู พ้นื ที่ วิเคราะหข์ อ้ มลู รว่ ม เปรียบเทียบข้อมลู และจดั จำ� แนก เขียน manuscript เห็ดชนดิ ใหม่ จัดทำ� รา่ งหนงั สือเหด็ ป่าชุมชนดงใหญ่
รายงานผลการวิจยั 1. แผนที่เส้นทางและจุดส�ำรวจ จากการวางแผนการส�ำรวจและเก็บตวั อยา่ งเหด็ รา ณ ป่าดงใหญ่ ต�ำบลสรา้ งถอ่ นอ้ ย อำ� เภอหัวตะพาน จงั หวัดอำ� นาจเจริญทั้งหมด 4 คร้งั ต่อปี เร่ิมต้นจากเดือนพฤษภาคมจนถงึ กันยายน ดังมรี ายละเอียดเสน้ ทางสำ� รวจดงั ปรากฎในภาพท่ี 1 6 ภาพที่ 1 แสดงต�ำแหน่งการเก็บตวั อยา่ งในแผนทปี่ า่ ชุมชนดงใหญ่ ตำ� บลหัวตะพาน อ�ำเภอสรา้ งถ่อนอ้ ย จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ จาก program Google Earth วันท่ี 24 กรกฎาคม 2561
2. เกบ็ ตวั อยา่ ง 3. การจ�ำแนกตามประโยชน์และโทษ จากการส�ำรวจระยะเวลา 4 ปี (2558 – 2561) ระหวา่ งเดือน จากเหด็ ทงั้ หมดจำ� นวน 1,027 ตวั อยา่ ง แยกการใชป้ ระโยชนแ์ ละ พฤษภาคมถงึ เดือนกันยายนนน้ั มจี ำ� นวนวนั ทสี่ �ำรวจรวม 40 วัน ได้ โทษปรากฎได้ 7 กลุ่มและคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละเรียงตามล�ำดับ ตัวอยา่ งทั้งสิน้ รวม 1,027 ตัวอย่าง พบว่าในเดือน กรกฎาคม เป็น จากมากไปนอ้ ยดงั นี้ เหด็ กนิ ไดแ้ ละเกบ็ ขายมจี ำ� นวนมากทสี่ ดุ จำ� นวน เดือนที่พบเห็ดต่อวันมากที่สุด รองลงมาเป็นสิงหาคม พฤษภาคม รอ้ ยละ 36 รองลงมาเปน็ กลมุ่ ทไี่ มม่ บี ทบาทแนช่ ดั ในธรรมชาตริ อ้ ยละ มิถุนายน และกันยายน ตามล�ำดับ ดังแสดงในแผนภูมิภาพที่ 1 26 อนั ดบั สามคอื ใชป้ ระโยชนด์ า้ นอน่ื เชน่ สารสกดั สารเสรมิ อาหาร จำ� นวนตัวอยา่ งท่ีเก็บไดต้ อ่ วันในแตล่ ะเดอื น เครอื่ งสำ� อางรอ้ ยละ23พบเหด็ พษิ และเหด็ เมาถงึ รอ้ ยละ10เหด็ ทเ่ี ปน็ สมุนไพรร้อยละ 4 เห็ดท่นี ำ� มาใชป้ ราบศตั รูพืชอกี ร้อยละ 1 แสดงใน แผนภมู ิท่ี 2 อตั ราส่วนการใช้ประโยชนแ์ ละโทษของเหด็ ในทอ้ งถน่ิ แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงจำ� นวนตัวอย่าง กนิ ได้ ไม่มขี ้อมูล ประโยชนด์ า้ นอน่ื เหด็ พิษ 7 ต่อวันในแต่ละเดือนตลอดระยะ 33670% 22668% 22334% 99%6 เวลา 4 ปี ระหว่าง 2558 – 2561 จำ� นวนตัวอยา่ ง พค., 23 เหด็ สมนุ ไพร ปราบศตั รพู ชื ดว้ ยชวี วถิ ี เหด็ เมา แผนภมู ทิ ่ี 2 ตอ่ วนั ในแตล่ ะเดอื น มิย., 23 แสดงอตั ราส่วน กค., 34 445% 17% 1%7 การใช้ประโยชน์ สค., 27 และโทษของเหด็ กย., 21 ในทอ้ งถิ่น
4. การจ�ำแนกด้วยบทบาททางธรรมชาติ เหด็ ย่อยสลาย เห็ดองิ อาศัยพืช เหด็ องิ อาศยั ปลวก เห็ดก่อให้เกดิ โรคในพืช จากเห็ดท้ังหมดจ�ำนวน 1,027 ตัวอย่าง แยกด้วย บทบาททางธรรมชาติปรากฎ 7 กลุ่ม กลุ่มที่มากที่สุดเป็น 464.881 % 404.123 % 7.724% 4.412% อนั ดับหนึ่งรอ้ ยละ 46.8 เปน็ เหด็ กลมุ่ ย่อยสลาย รองลงมาเป็น เห็ดกลุ่มท่ีเก็บบริโภคและจ�ำหน่ายท้ังหมดอยู่ในกลุ่มอิงอาศัย เหด็ มลู สตั ว์ ราบนเหด็ เหด็ จบั ไสเ้ ดอื นฝอย แผนภมู ทิ ี่ 3 พบรอ้ ยละ 40.2 พบเห็ดกลุม่ องิ อาศัยกบั ปลวก หรอื เห็ดโคน แสดงอตั ราส่วน รอ้ ยละ 7.2 เหด็ กอ่ ใหเ้ กดิ โรคและยอ่ ยเหด็ ดว้ ยกนั เองอกี รอ้ ยละ 1.133% 0.22% 0.22 % บทบาทของเห็ด 4.1 และ เห็ดบนมูลสัตว์ร้อยละ 1.3 เห็ดปรสิตร้อยละ 0.2 ในธรรมชาติ และเหด็ จบั ไสเ้ ดือนฝอยร้อยละ 0.2 8
Trogia infundibuliformis Psathyrella sp. Micropsalliota megarubescens Chlorophyllum 9 molybdites sp. Entoloma sp. Amanit exitialis Clitocybe sp. Amanita brunneitoxicaria
Amanita aff. Lactarius cf. volemus princeps Lactarius cf. volemus Lactarius cf. luculentus var. laetus 10 Amanita fulva Lactarius luculentus var. laetus Amanita cf. hemibapha Lactarius friabilis
Scleroderma cf. Lactarius cf. lignyotus xanthochroum Bovistella sp. Mycoamaranthus cf. cambodgensis 11 Scleroderma sp. Lycoperdon sp. Geastrum sp. Lycoperdon sp.
Termitomyces microcarpus Resupinatus alboniger Trichaleurina javanica 12 Auricularia polytricha Dacryopinax cf. spathularia Termitomyces sp. Calvatia sp. Anthracophyllum cf. archeri
Phlebopus cf. spongiosus Tylopilus sp. Tylopilus sp. Boletus sp. 13 Tylopilus sp. Bspo.letus Urnula cf. Tylopilus sp. maxicana
Boletus sp. Boletus sp. Borofutus Tylopilus sp. dhakanus Boletus sp. Boletus sp. 14 Laccaria sp. Gymnopilus cf. penetrans
Craterellus sp. Russula sp. Tricholoma giganteum Russula sp. 15 Russula cf. mustelina Cantharellus sp. Russula sp. Russula sp.
Ramaria sp. Marasmius guyaensis Ramaria sp. Clavulina sp. 16 Clavulinopsis sp. Clavulinopsis sp. Clavulina cf. cristata
Marasmiellus sp. Ganoderma sichuanense Gymnopus sp. Ganoderma carnosum 17 Gymnopus menehune Ganoderma subresinosum Marasmius aff. haematopus Ganoderma sp.
Amauroderma sp. 18 Coriolopsis sp. Phellinus sp. Pycnoporus cf. puniceus Favolus aff. tenuiculus. Inonotus cf. tabacinus
Dichomitus sp. Hymenochaete sp. Porogramme cf. albocincta 19 Hyphodontia sp. Serpula similis Flavodon flavus Favolus grammocephalus
Calostoma sp. 20 Lysurus sp. Mutinus bambusinus Cyathus subglobisporus Phallus indusiatus
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: