Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียนท่องเที่ยวชีวภาพตลาดบ้านบ้าน (Bio Tourism)

ถอดบทเรียนท่องเที่ยวชีวภาพตลาดบ้านบ้าน (Bio Tourism)

Published by Thalanglibrary, 2021-05-19 04:54:55

Description: ถอดบทเรียนท่องเที่ยวชีวภาพ...การตลาดบ้านบ้าน (Bio Tourism) "ท่องเที่ยวชีวภาพ" หรือ "Bio Tourism" เป็นเครื่องมือการตลาดที่สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. นำทุันธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพมาสร้างคุณค่าและรายได้ให้กับกลุ่มสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น/ชุมชน เป็นสินค้าที่มีมูลค่าไม่สูงมาก ตลอดจนทัศนียภาพที่สวยงามของพื้นที่ วิว ทิวทัศน์ สัตว์หายาก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น "ท่องเที่ยวชีวภาพ" เป็นการตลาดแบบ Outside in คือ การสร้างหรือสื่อสารความน่าสนใจของพื้นที่ชุมชนและดึงดูดให้คนภายนอกเข้ามาสัมผัสเยี่ยมชมสถานที่ วิถีชุมชน เลือกชมสินค้าและบริการ ทำให้สินค้าจากภูมิปัญญาและทรัพยากรชีวภาพที่เดิมมีปริมาณและมูลค่าไม่มาก ไม่คุ้มค่าที่จะนำไปจำหน่วยพื้นที่ห่างไกล รวมทั้งสินค้าประเภทบริการ ที่สร้างเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้ เมื่อชุมชนมีรายได้จากทรัพยากรท้องถิ่นตนเอง ก็จะกระตุ้นให้ชุมชนแบ่งผลกำไรหรือรายได้มาทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรให้มีความยั่งยืน หรือกล่าวได้ว่า "อนุรักษ์แล้วต้องมีกินมีใช้ด้วย"

Search

Read the Text Version

ถอดบทเรยี น การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2 Bio Tourism สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) Biodiversity-Based Economy Development Office (Public Organization)

ผู้จดั พิมพ์ สำ�นกั งานพัฒนาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชน้ั 9 เลขที่ 120 หมูท่ ี่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทร. (66) 2141 7835 โทรสาร (66) 2143 9202 E-Mail : [email protected] http://www.bedo.or.th ผู้เขียน นายฐาวร บุญราศร ี เจา้ หน้าที่พฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ กลมุ่ กิจการพฒั นาธรุ กิจและการตลาด ส�ำ นกั งานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน) ที่ปรกึ ษา นางสาวธัญลักษ์ เจรญิ ปรุ กรรมการ รกั ษาการในตำ�แหน่ง ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ นายศุภสิทธ์ จ�ำ ปาวงษ์ ผู้อ�ำ นวยการกลมุ่ กิจการพฒั นาธรุ กิจและการตลาด สงวนลิขสิทธิ์ มนี าคม 2564

ค�ำน�ำ “ท่องเท่ียวชีวภาพ” หรือ “BioTourism” เป็นเคร่ืองมือการตลาด ที่ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. น�ำทุนธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพมาสร้างคุณค่าและรายได้ให้กับ กลุ่มสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น/ชุมชน เป็นสินค้าที่มีมูลค่า ไม่สูงมาก ตลอดจนทัศนียภาพที่สวยงามของพ้ืนที่ วิว ทิวทัศน์ สัตว์หายาก รวมถึง ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ “ทอ่ งเทย่ี วชวี ภาพ” เปน็ การตลาดแบบ Outside in คอื การสรา้ ง หรือส่ือสารความน่าสนใจของพ้ืนที่ชุมชนและดึงดูดให้คนภายนอกเข้ามาสัมผัส เยี่ยมชมสถานที่ วิถีชุมชน เลือกชมสินค้าและบริการ ท�ำให้สินค้าจากภูมิปัญญาและ ทรัพยากรชีวภาพท่ีเดิมมีปริมาณและมูลค่าไม่มาก ไม่คุ้มค่าที่จะน�ำไปจ�ำหน่ายพื้นท่ี ห่างไกล รวมทั้งสินค้าประเภทบริการ ที่สร้างเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้ เมื่อชุมชนมี รายได้จากทรัพยากรท้องถ่ินตนเอง ก็จะกระตุ้นให้ชุมชนแบ่งผลก�ำไรหรือรายได้มา ท�ำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรให้มีความยั่งยืน หรือกล่าวได้ว่า “อนุรักษ์แล้ว ต้องมีกินมีใช้ด้วย” นั่นเอง ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สพภ. ได้ใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” เป็น ปที ี่ 2 สร้างคุณค่าและรายไดใ้ หก้ บั ชุมชน 4 พ้นื ท่ี • กลมุ่ ท่องเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษส์ ัตว์ป่ากยุ บรุ ี บ้านรวมไทย ต.หาดขาม อ.กยุ บุรี จ.ประจวบคีรขี ันธ์ • กลมุ่ เกษตรยง่ั ยนื ชุมชนบ้านศรเี จริญ ต.เลยวังไสย์ อ.ภหู ลวง จ.เลย • กลุม่ โหนด นา เล ต.ท่าหนิ อ.สทิงพระ จ.สงขลา • กลุ่มพฒั นาทรพั ยากรชวี ภาพ (สม้ มะป๊ดี ) ต.วันยาว อ.ขลุง จ.จนั ทบุรี 1ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

กิจกรรมสร้างโอกาสทางการตลาดโดยใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” กับ ชุมชนท้ัง 4 แห่ง ในปี 2563 จัดงานในรูปแบบต่าง ๆ ตามบริบทของชุมชน ได้แก่ พ้ืนที่กุยบุรีจัดกจิ กรรม ให้ชุมชนเครอื ขา่ ย สพภ. ศึกษาดงู านเรยี นรู้วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หา ช้างป่าออกหากินนอกเขตอนุรักษ์ การท�ำกิจกรรมท่องเที่ยวชุมชนสร้างรายได้เสริม ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากช้าง พ้ืนท่ีเลยวังไสย์มีความเด่นท่ีฝ้ายตุ่ยอินทรีย์ จดั กจิ กรรมชอ่ื งาน “เทศกาลอาหารพืน้ บ้าน ดอกฝ้ายบาน @ ขุนเลย” พื้นที่ท่าหนิ กบั อัตลักษณ์ของการด�ำรงชีพท่ีพ่ึงพาตาลโตนดและทะเลสาบสงขลา จัดกิจกรรมชื่องาน “เที่ยวท่าหิน กินปลามิหลัง นั่งเรือแลบัวชมพู เรียนรู้วิถีตาลโตนด” และพื้นที่ ต�ำบลวันยาวซ่ึงเป็นชุมชนชายฝั่งป่าชายเลน จัดกิจกรรมช่ืองาน “ปลูกป่า กินหอย ปล่อยปู ดูเหยี่ยว เท่ียววันยาว” ข้อมูลเศรษฐกิจของชุมชนท้ัง 4 แห่ง รอบปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีรายได้รวม 8,986,256 บาท คิดเป็น 8.64 เท่าของ งบประมาณท่ีใช้ด�ำเนินการ (2.08 ล้านบาท) รายได้ดังกล่าวจะน�ำไปใช้เป็นฐาน ประเมนิ การด�ำเนินงานในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ตอ่ ไป กล่มุ กิจการพัฒนาธุรกิจ และการตลาด สำ� นักงานพัฒนาเศรษฐกิจ จากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) 2 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบ้านบา้ น By BEDO ปี 2

เร่อื ง สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ 1 1. บทน�ำ 5 2. “ท่องเที่ยวชวี ภาพ” สรา้ งเศรษฐกิจ สู่การอนุรกั ษ์ 6 2.1 “ท่องเที่ยวชวี ภาพ” เหมาะกับใคร 6 2.2 ข้ันตอนการใชเ้ คร่อื งมอื “ท่องเที่ยวชวี ภาพ” 8 2.3 ติดตามประเมนิ ผล 9 3. ท่องเที่ยวชวี ภาพ ปี 2563 10 4. บทเรยี นท่ี 1 ชา้ งปา่ กยุ บุร.ี ..ก่อเกิด “ท่องเท่ียวชวี ภาพ” 12 4.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ 13 4.2 ผลลพั ธด์ ีดี กยุ บุรโี มเดล 13 4.3 ชว่ งนี้ชแี้ นะ เพ่อื กยุ บุรที ี่ดีกวา่ 15 5. บทเรยี นที่ 2 ฝา้ ยต่ยุ อินทรยี .์ ..คณุ ค่าดีดีต้นน้�ำเลย 15 5.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ 16 5.2 ผลลพั ธ.์ ..เม่อื ผู้วา่ ฯ...ออกงาน 16 5.3 ชว่ งนี้ชแ้ี นะ...เชญิ แวะอดุ หนุน ฝ้ายต่ยุ 17 3ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

สารบญั (ต่อ) หน้า 18 เร่อื ง 18 6. บทเรยี นท่ี 3 วิถี โหนด นา เล....น่าแลมาต๊ะ 19 6.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ 20 6.2 ผลลพั ธด์ ีดีที่มคี ่าต่อใจ 21 6.3 ชว่ งนี้ชแี้ นะ...เชญิ แวะกินปลามหิ ลงั 21 7. บทเรยี นท่ี 4 วิถีชมุ ชนคนชายฝ่ งั กับ “มะป๊ ดี ” 22 7.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ 23 7.2 ผลลพั ธข์ องความรว่ มมอื ...น่าช่นื ชม 24 7.3 ชว่ งนี้ชแี้ นะ....เชญิ เที่ยววนั ยาว ชมิ น้�ำมะป๊ ดี 8. ก้าวต่อไปกับ “ตลาดปนั รกั ษ์” 4 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

1. บทน�ำ ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. ใช้ช่ือภาษาอังกฤษว่า “Biodiversity – Based Economy Development Office (Public Organization)” เรียกโดยย่อว่า “BEDO” จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2550 ตามพระราชกฤษฎีกา จัดต้ังส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การ มหาชน) โดยมวี ตั ถุประสงค์การจดั ต้ังส�ำนักงาน ดังน้ี (1) ส่งเสริม สนบั สนนุ และดำ� เนนิ การพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและ ภมู ปิ ญั ญาของชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ (3) รวบรวม ศกึ ษา วเิ คราะห์ และประเมินข้อมลู รวมทั้งความตอ้ งการด้าน การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ เพื่อเสนอแนะนโยบายและมาตรการเก่ียวกับ การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพต่อคณะรฐั มนตรี (4) เกบ็ รวบรวมและจดั ทำ� บญั ชรี ายการพชื สตั ว์ และจลุ นิ ทรยี ท์ มี่ แี หลง่ กำ� เนดิ หรอื พบไดใ้ นประเทศรวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาของชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการเป็น ฐานข้อมูลและดูแลการใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาของชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ (5) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพ่ือพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เก่ียวกับ การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาของชุมชนและท้องถิ่น ตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนป้องปันและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ ประโยชนข์ องประเทศในเรอื่ งดังกล่าว (6) ส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน ชีวภาพ (7) สง่ เสริม สนับสนนุ และดำ� เนินการเผยแพร่องคค์ วามรแู้ ละการใหบ้ รกิ าร การเข้าถึงและใช้ประโยชน์เก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาของ ชมุ ชนและท้องถิ่น 5ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

(8) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และด�ำเนินการเพอื่ ให้มีการจดทะเบยี นคุ้มครองความ หลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาของชุมชนและท้องถิ่นตามกฎหมายต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาการละเมิดสทิ ธิประโยชน์ของประเทศใน เรอ่ื งดังกล(9า่ )ว เป็นศูนย์กลางติดตามและประสานการด�ำเนินการของหน่วยงานของรัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาเศรษฐกิจจาก ฐานชวี ภาพใหม้ ีความเชอ่ื มโยงกันและสอดคล้องกับนโยบายทคี่ ณะรัฐมนตรีก�ำหนด (10) ปฏบิ ตั ิงานหรือด�ำเนนิ การอ่ืนใดตามทค่ี ณะรัฐมนตรีหรอื คณะกรรมการ ท่ีคณะรัฐมนตรีก�ำหนดให้ท�ำหน้าที่เก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ มอบหมาย 2.“ท่องเที่ยวชวี ภาพ” สรา้ งเศรษฐกิจ สู่การอนุรกั ษ์ 2.1 “ท่องเท่ียวชวี ภาพ” เหมาะกับใคร สพภ. เป็นองค์การมหาชนภายใต้ก�ำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือ ทส. ภารกิจหลักในการสนับสนุน ส่งเสริม การน�ำทรัพยากรชีวภาพในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม รู้ค่า รู้รักษา สิ่งแวดล้อม และรู้จักแบ่งปันรายได้นั้นมาท�ำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรให้คงอยู่ ถงึ รุน่ ลูกหลาน โดยด�ำเนินการในหลายกจิ กรรม เช่น การท�ำธนาคารความหลากหลาย ทางชีวภาพระดับชุมชน การรวบรวมภูมิปัญญาท้องถ่ินที่เก่ียวกับทรัพยากรชีวภาพ สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ทั้งพัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาศักยภาพของสมาชิก วสิ าหกจิ และสนบั สนุนช่องทางการตลาดในหลากหลายรปู แบบ “ท่องเทย่ี วชวี ภาพ” คือ รูปแบบหน่ึงของเคร่ืองมือการตลาดที่ สพภ. น�ำมาสร้างคุณค่าและรายได้ให้กับ ชุมชนทม่ี ลี กั ษณะ ดงั นี้ 6 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

• ชมุ ชนต้ังอยูห่ ่างไกล • สินค้าหรอื เมอื งใหญ่ ถนนสายหลกั ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน หรอื ตลาดหลักค่อนขา้ งมาก มูลคา่ ไมส่ ูงมาก อายกุ ารเกบ็ รักษาไมน่ าน เป็นสินคา้ พื้นฐาน • มเชน่สี ภ่ิงมู ดทิ ึงศั นด์ สดู ภอาพ่ืนธรรๆมชาติ • ชมุ ชนมคี วามตอ้ งการ มสี ตั วป์ า่ หากยากหรอื มภี มู ปิ ญั ญา และใหค้ วามร่วมมือในการใช้ ท่ีเช่ือมโยงกบั ทรพั ยากรชีวภาพ เคร่อื งมอื “ท่องเท่ยี วชวี ภาพ” ท้องถนิ่ 7ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบ้านบา้ น By BEDO ปี 2

2.2 ขัน้ ตอนการใชเ้ คร่อื งมือ “ท่องเท่ียวชวี ภาพ” การน�ำเครื่องมือ “ท่องเท่ียวชีวภาพ” ไปใช้กับชุมชนใดชุมชนหนึ่งมี กระบวนการดำ� เนินงานเป็น 2 ช่วง ดงั นี้ ข้ันเตรยี มการหรอื เตรยี มความพรอ้ ม • ส�ำรวจ วิเคราะห์ชุมชน เป็นการลงพื้นท่ีส�ำรวจทรัพยากรชีวภาพ และกิจกรรมชุมชน รวมท้ังทัศนคติภาพรวมของกลุ่ม ขั้นตอนการส�ำรวจหรือลงพื้นท่ี อาจมีได้หลายครั้ง เพื่อต่อยอด สร้างกระบวนการ สนับสนุนให้กลุ่มมีเศรษฐกิจดีข้ึน จากการใช้เครื่องมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” โดยการส�ำรวจแต่ละคร้ัง มีวัตถุประสงค์ • แตกต่างกัน ดังนี้ วิเคราะห์ศักยภาพทรัพยากรในด้านคุณค่า ปริมาณ การน�ำไป • ใช้ประโยชน์ วเิ คราะหค์ วามพรอ้ มชมุ ชนทจี่ ะใชเ้ ครอ่ื งมอื “ทอ่ งเทย่ี วชวี ภาพ” • เป็นความพร้อมเชิงทัศนคติ ความร่วมมอื ท�ำกระบวนการ เพ่ือพัฒนาศักยภาพคน และผลิตภัณฑ์ เช่น ประชุมรับฟังและแลกเปลี่ยนความเห็น อบรมเชิงปฏิบัติการ ศึกษาดูงาน ถ่ายทอด ความรใู้ นการจัดการ และการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ข้ันตอนใชเ้ คร่อื งมือ “ท่องเที่ยวชวี ภาพ” • ประชมุ หารอื กำ� หนดกจิ กรรม “ทอ่ งเทย่ี วชวี ภาพ” กำ� หนดชว่ งเวลา • และก�ำหนดชอ่ื งาน ร่วมกบั หน่วยงานพนั ธมติ ร ร่วมกับชุมชนจัดกิจกรรมท่ีก�ำหนด เพ่ือประชาสัมพันธ์งาน จุดประกายการเริม่ ต้นกจิ กรรมท่องเท่ยี วชวี ภาพ 8 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

2.3 ติดตามประเมินผล การตดิ ตามประเมินผล อาจทำ� ไดใ้ นหลายรูปแบบ เชน่ การรว่ มประชุม กับชุมชน สัมภาษณ์ ใช้แบบสอบถาม แบบประเมินผล และส�ำรวจเก็บข้อมูลเชิงสถิติ เพ่ือวิเคราะห์ตัวช้ีวัดความส�ำเร็จโดยเฉพาะ ตัวช้ีวัดด้านมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยการประเมินผลควรประกอบด้วย ตัวชี้วัดด้านผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (ถา้ ม)ี • ผลผลติ (Output) เปน็ ตวั ชว้ี ดั เชงิ ปรมิ าณทชี่ วี้ ดั การดำ� เนนิ งานนนั้ ๆ ได้ทันที โดยปกติการด�ำเนินงานที่ได้ผลผลิตครบถ้วน ถือว่าผ่านตัวช้ีวัดนั้น ๆ • ส่วนคุณภาพของผลผลิต จะส่งผลต่อการเกิดผลลัพธ์ได้ต่อไป ผลลัพธ์ (Outcome) เป็นตัวชี้วัดเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งเป็นผลท่ีเกิดต่อเน่ืองจากผลผลิต เป็นประโยชน์ในวงจ�ำกัดเฉพาะกลุ่มที่ท�ำ • กจิ กรรมน้นั ๆ ผลกระทบ (Impact) เป็นตัวช้ีวัดท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ เกิดต่อเน่ือง มาจากผลลัพธ์ และเป็นประโยชน์หรือผลที่ เกิดข้นึ ในวงกว้างกบั ส่วนรวมและปกติจะใชเ้ วลาระยะหนงึ่ ถงึ จะเกดิ ผลกระทบชดั เจนจากการทำ� กจิ กรรมนน้ั ๆ 9ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

3. ท่องเท่ียวชวี ภาพ ปี 2563 BEDO การส่งเสริมใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” ตามแนวคิด BEDO Concept พ้ืนที่ด�ำเนินงาน 4 พ้ืนท่ีหลัก คือ (1) ชุมชนบ้านรวมไทย อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ (2) ชุมชนบ้านศรีเจริญ ต.เลยวังไสย์ อ.ภูหลวง จ.เลย (3) ชุมชนโหนด นา เล อ.สทิงพระ จ.สงขลา และ (4) ชุมชนต�ำบลวันยาว อ.ขลุง จ.จันทบุรี มีการด�ำเนินงาน ดังน้ี a. ชุมชนบ้านรวมไทย กุยบุรี จัดให้ชุมชนเครือข่าย สพภ. ในกลุ่ม ที่มีศักยภาพจะใช้เครื่องมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” สร้างคุณค่าและรายได้ ให้ชุมชนได้ศึกษาดูงาน และร่วมการถอดบทเรียนเรื่องการแก้ไขปัญหา ช้างป่าหากินนอกเขตอนุรักษ์ ณ บ้านรวมไทยและอุทยานแห่งชาติกุยบุรี 1 ครง้ั เมือ่ เดอื นกมุ ภาพันธ์ 2563 b. ชุมชนบ้านศรีเจริญ เลยวงั ไสย์ ไดจ้ ดั กิจกรรมท่ีเปน็ การสง่ เสรมิ การตลาด โดยใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” ช่ือกิจกรรม “เทศกาลอาหาร พนื้ บ้านดอกฝ้ายบาน @ ขนุ เลย ครง้ั ที่ 2” เม่อื เดอื นธันวาคม 2562 c. ชุมชนโหนด นา เล ทา่ หิน จดั กจิ กรรมทเี่ ปน็ การส่งเสริมการตลาดโดยใช้ เครื่องมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” ชื่อกิจกรรม “เที่ยวท่าหิน กินปลามิหลัง นัง่ เรอื แลบัวชมพู เรยี นรูว้ ิถตี าลโตนด ครัง้ ที่ 1 ” เม่ือเดือนสิงหาคม 2563 d. ชุมชนต�ำบลวันยาว จันทบุรี จัดกิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมการตลาด โดยใช้เคร่ืองมือ “ท่องเท่ียวชีวภาพ” ชื่อกิจกรรม “ปลูกป่า กินหอย ปลอ่ ยปู ดูเหยย่ี ว เท่ยี ววันยาว ครงั้ ที่ 1” เมอื่ เดือนสงิ หาคม 2563 10 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

b. a. c. d. 11ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบ้านบา้ น By BEDO ปี 2

4. บทเรยี นท่ี 1 ชา้ งปา่ กยุ บุร.ี .. ก่อเกิด “ท่องเที่ยวชวี ภาพ” “คนกับช้างกุยบุรีเคยเข่นฆ่า ปัจจุบันพึ่งพาแหล่งอาหาร คนได้ใช้ช้างได้กินพอประมาณ เคยร�ำคาญกลับกลายเอื้ออาทร เม่ือจิตคนเป็นมิตรคิดเกื้อกูล การดับสูญช้างป่าอย่าคิดหวัง มีแต่เพิ่มเติมเต็มเป็นพลัง สร้างความหวังสรรพสิ่งย่ิงย่ังยืน ” บทสรุปที่เป็นตัวแทนสถานการณ์ปัญหาช้างป่ากุยบุรี ณ ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ได้เกิดภาพของความร่วมมือ เอ้ืออาทรระหว่างคนกับช้าง การร่วมมือกันแก้ไขปัญหา กลายเป็น “กุยบุรีโมเดล” ที่เล่ืองลือในการแก้ไขปัญหาช้างป่าออกหากินนอกพื้นท่ี อนุรักษ์ หลายหน่วยงาน องค์กร ได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้ดูงาน กันไม่ขาดสาย ขณะเดียวกัน สพภ. เป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับชุมชนท่ีได้รับ ผลกระทบจากช้างป่า โดยเริ่มด�ำเนินงานในพ้ืนท่ีกุยบุรีตั้งแต่ปี 2555 เร่ิมจาก ร่วมท�ำแผนพัฒนาพื้นท่ี อบรม ศึกษาดูงาน จัดกิจกรรมต่าง ๆ กลายเป็นต้นแบบ ของเครือ่ งมือ “ทอ่ งเทย่ี วชีวภาพ” 12 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สพภ. จัดให้มีการศึกษาดูงานถอดบทเรียน กิจกรรมท่องเท่ียวโดยชุมชนของพื้นที่กุยบุรี โดยให้ชุมชนเครือข่าย สพภ. จ�ำนวน 6 แห่ง ได้ศึกษาดูงานของบ้านรวมไทย เน้นการบริหารจัดการความขัดแย้ง กรณีช้างปา่ ออกหากินนอกพื้นที่อทุ ยานแห่งชาติกุยบรุ ี 4.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ - เรียนรู้ความส�ำคัญของตอไม้ จันทร์หอมในพ้นื ทีอ่ ทุ ยานแหง่ ชาติกุยบรุ ี - การจัดการของอุทยานแห่งชาติ กุยบุรีร่วมกับชุมชน กรณีช้างป่าออกหากิน ในพน้ื ทนี่ อกเขตอทุ ยาน - ทำ� กจิ กรรมจติ อาสา ทำ� โปง่ เทยี ม และลา้ งกระทะน้�ำ ไว้เติมนำ�้ ให้สัตว์ป่าชว่ งหน้าแล้ง 4.2 ผลลัพธ์ดีดี กยุ บุรโี มเดล - ชุมชนบ้านรวมไทยด�ำเนินกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่ากุยบุรี ได้อย่างราบรื่น ไม่มเี หตุการณ์ขดั แยง้ หรือกระทบกระทงั่ กันรุนแรง และเริ่มคดิ พฒั นา ต่อยอด โดยกลุ่มท�ำกระดาษจากใบสับปะรดได้ประยุกต์ท�ำกระดาษจากมูลช้าง และกลุ่มโฮมสเตย์ ริเริ่มการท�ำเสื้อย้อมสีจากดิน โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้จาก หนว่ ยงาน/สถาบันการศึกษาพน้ื ทใ่ี กล้เคียง - มีนักท่องเที่ยวรู้จัก และเข้าไปใช้บริการในชุมชนบ้านรวมไทยมากขึ้น โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวไทย ซ่ึงเดิมการเข้าไปเที่ยวชมช้างป่าจะเป็นนักท่องเท่ียว ต่างชาติเปน็ สว่ นใหญ่ - แม้มีเหตุการณ์สถานการณ์ โควิด19 ท�ำให้มีนักท่องเท่ียวเข้าไปยังชุมชน น้อยลง แต่ก็ไม่กระทบมากนัก โดยเม่ือสถานการณ์คล่ีคลายมีนักท่องเที่ยวชาวไทย เข้าไปยังชุมชนท�ำให้เกิดการใช้จ่ายหมุนเวียนของเศรษฐกิจข้ึน แม้รายได้รวม จะน้อยลงกว่าปี 2562 13ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

- เกดิ ความรว่ มมอื และรว่ มใจกนั ในกจิ กรรมสาธารณะ การชว่ ยอทุ ยานแหง่ ชาติ กยุ บรุ ี ทำ� กจิ กรรมตา่ ง เชน่ การลา้ งกระทะนำ�้ การถางวชั พชื ทำ� โปง่ เทยี ม การปรบั ปรงุ หนา้ ดิน ซอ่ มถนนหนทางรวมทั้งกจิ กรรมอื่น ๆ ทท่ี างอุทยานขอความร่วมมือ ล้างกระทะน้�ำ ท�ำโป่งเทียม - เกิดเปน็ ความเกอื้ กลู กัน เอื้ออาทรกันระหว่างคนในชมุ ชนกับชา้ งปา่ กุยบุรี และเจ้าหน้าที่รัฐ กลายเป็น “กุยบุรีโมเดล” เป็นแบบอย่างให้กับท่ีอ่ืนน�ำไปปรับใช้ ในแนวทางแกไ้ ขปญั หาช้างป่าออกหากนิ ในพื้นทีเ่ กษตรของชมุ ชน - มีการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากช้างป่ากุยบุรี ซ่ึงเป็น การต้งั โดยชุมชนเอง - มูลค่าเศรษฐกิจของชุมชนบ้านรวมไทยในปี 2563 ประมาณ 6 ล้านบาท ด้วยสถานการณ์โควิด 19 ทำ� ให้ไม่สามารถท�ำกิจกรรมไดต้ ามปกติ 14 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

4.3 ชว่ งนี้ชแ้ี นะ เพ่ือกยุ บุรที ่ีดีกว่า การแก้ไขปัญหาช้างป่าออกหากินนอกพื้นท่ีอนุรักษ์ต่อกรณี “กุยบุรี โมเดล” ควรได้น�ำไปต่อยอดแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากช้างป่า ท่ีอื่น ๆ ซ่ึงมีอยู่หลายแห่ง แต่ต้องปรับใช้ให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ีน้ัน ๆ โดยเฉพาะ ในบรบิ ทของ การสรา้ งงาน สรา้ งรายไดโ้ ดยเครอ่ื งมอื “ทอ่ งเทยี่ วชวี ภาพ” ทด่ี ำ� เนนิ การ โดย สพภ. ควรได้รบั การขยายผลสชู่ มุ ชน 5. บทเรียนท่ี 2 ฝ้ายตุ่ยอินทรีย์... คณุ ค่าดีดีต้นน้�ำเลย ชุมชนบ้านศรีเจริญ ต.เลยวังไสย์ อ.ภูหลวง จ.เลย มีความโดดเด่นของ แหล่งผลิตฝ้ายตุ่ยอินทรีย์ ผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ และเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” สร้างคุณค่าและรายได้ ให้กับชุมชน โดยจัดกิจกรรมในช่ืองาน “เทศกาลอาหารพ้ืนบ้าน ดอกฝ้ายบ้าน @ ขนุ เลย” คร้ังท่ี 2 15ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบ้านบา้ น By BEDO ปี 2

5.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ - จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเรื่อง การสรา้ งลายผ้าจากการทอ - จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรือ่ งการย้อมสีธรรมชาติให้ไดค้ ณุ ภาพดี - จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอื่ งการออกแบบและตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ จากผา้ ฝา้ ยทอมอื 5.2 ผลลัพธ์...เม่ือผู้ว่าฯ...ออกงาน - ชุมชนผลิตสินค้าผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติทอมือท่ีมีคุณภาพมากย่ิงขึ้น มีการประยุกต์ใช้มูลช้างมาย้อมผ้าฝ้ายสร้าง อัตลักษณ์ ให้กับผลิตภัณฑ์กลุ่มได้ เป็นอย่างดี ท�ำให้บรรเทาความเสียใจ เคียดแค้นช้างป่า ท่ีออกหากินนอกเขตพ้ืนท่ี เขตรกั ษาพันธุส์ ัตวป์ า่ ภหู ลวง และเยยี บยำ่� ท�ำลาย กินพืชเกษตรของชมุ ชน 16 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

- ชุมชนมีรายได้จากการจ�ำหน่ายผ้าทอมือ เส้ือผ้าส�ำเร็จรูปจากการผลิต ของกลุ่มได้มากขึ้น แมจ้ ะประสบกับสถานการณ์โควดิ 19 - ท�ำให้คนรุ่นใหม่กลับไปเร่ิมประกอบอาชีพที่บ้านเกิด มีสมาชิกเข้าร่วม กลุ่มทอผ้าฝา้ ยมากขน้ึ และ - ชมุ ชนได้รับการสนบั สนุนด้านตา่ งๆ มากขึน้ แบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะ ในปี 2563 ทางกลุ่มได้รับการสนับสนุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายต่อยอดจาก สพภ. ได้แก่ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ส�ำนักงาน ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดเลย และ หน่วยงานอ่ืน ๆ - กลุ่มเลยวังไสย์ มีรายได้ ปี 2563 รวม 542,565 บาท 5.3 ชว่ งน้ีชแี้ นะ....เชญิ แวะอุดหนุน ฝา้ ยต่ยุ ชุมชนบ้านศรีเจริญ ต.เลยวังไสย์ เดิมเป็นชุมชนที่ปลูกฝ้ายและ ปั่นฝ้ายขาย กลุ่มเร่ิมการทอผ้าเม่ือปี 2561 สพภ. ได้เข้าไปพัฒนาทักษะให้กับกลุ่ม ท้ังการย้อมจากสีธรรมชาติ การสร้างลวดลายผ้า การออกแบบ และการเรียนรู้ เพ่ือตัดเย็บ ได้สร้างผลกระทบต่อกลุ่มเป็นอย่างมาก ประกอบกับการจัดกิจกรรม “เทศกาลอาหารพ้ืนบ้าน ดอกฝ้ายบาน @ ขุนเลย” ได้สร้างการรับรู้ จดจ�ำและรู้จัก ชมุ ชนของบคุ คลภายนอกมากขึน้ หน่วยงาน องคก์ รต่าง ๆ จงึ เขา้ ไปสง่ เสริม ต่อยอด พัฒนาให้ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มมีคุณภาพและศักยภาพตามบริบทของแต่ละองค์กร เป็นผลดีต่อชุมชนให้มีการพัฒนาหลาย ๆ ด้าน แบบก้าวกระโดด เพื่อให้เกิด ความย่งั ยนื เสนอแนะการจดั การกิจกรรมของกล่มุ ดังน้ี - ปรับรูปแบบการจัดกิจกรรม โดยเน้นไปในลักษณะการมีร้านจ�ำหน่าย สินค้าชุมชน สินค้ากลุ่มให้มากย่ิงขึ้น เพื่อตอบสนองการเข้ามาของคนต่างถ่ิน ทัง้ มาเท่ียวชม มาดงู าน และประชาชนทผ่ี ่านมาเปน็ ตน้ - สพภ. ควรให้การสนับสนุนต่อยอดทางการตลาด โดยจัดให้เป็นชุมชน ที่มีศักยภาพในการท�ำ “ตลาดปันรักษ์” เพ่ือเป็นการกระจายรายได้และท�ำให้เกิด ความยงั่ ยืนของ เศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม (ทรัพยากรชีวภาพ) 17ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

6. บทเรยี นที่ 3 วิถี โหนด นา เล.... น่าแลมาต๊ะ ตน้ ตาลโตนดเปน็ พชื ทม่ี คี วามสำ� คญั ของพ้ืนท่ีคาบสมุทรสทิงพระ เป็นแหล่ง สร้างงาน สร้างอาชีพ ท่ีอยู่อาศัย ให้กับ ประชากรพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ไม่ต่�ำกว่า 10 ล้านคน ชุมชนต�ำบลท่าหิน เป็นกลุ่มที่มีการประกอบอาชีพโดยอาศัย ทรัพยากรชีวภาพในท้องถ่ินเป็นตัวขับเคล่ือน ท้ังตาลโตนด ท�ำนาข้าวพันธุ์พื้นเมือง และการทำ� ประมงพน้ื บา้ นในทะเลสาบสงขลา 6.1 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ - ปรับปรงุ บรรจภุ ัณฑส์ บูต่ าลโตนด และนำ้� ตาลโตนดผง ให้มีความทันสมยั - สรา้ งจุดยกยอ ในทะเลสาบสงขลาเปน็ ศนู ย์เรียนรวู้ ิถีเล ประมงพนื้ บา้ น - จัดกิจกรรม “เท่ียวท่าหิน กินปลามิหลัง น่ังเรือแลบัวชมพู เรียนรู้วิถี ตาลโตนด คร้ังที่ 1” เม่ือเดือนสิงหาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตลอด 3 วัน ไมน่ ้อยกว่า 500 คน 18 ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

6.2 ผลลัพธ์ดีดีท่ีมคี ่าต่อใจ - สร้างการรับรู้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมชุมชนแก่บุคคลทั่วไป ได้ในวงกว้าง มีประชาชนทะยอยเขา้ มาเที่ยวในชมุ ชนมากขึน้ เมือ่ งานเสร็จส้นิ ไปแล้ว - มีสื่อแขนงต่างๆ ทั้งทีวี และสื่อออนไลน์ ติดต่อขอเข้ามาถ่ายท�ำกิจกรรม ชมุ ชนมากข้นึ - สรา้ งคณุ คา่ และรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน โดยในชว่ งการจดั งานเทศกาล 31 ก.ค. - 2 ส.ค. 2563 มีผู้คนต่างพื้นที่และใกล้เคียงเข้ามาเที่ยวชมงาน รว่ มกจิ กรรมนงั่ เรอื ชมธรรมชาติไม่ต�่ำกว่า 500 คน เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนไม่น้อยกว่า 300,000 บาท โดยเฉพาะรูปแบบการจัดให้มีตลาดชีวภาพชุมชน มีอาหารพ้ืนถิ่น โดยเฉพาะ ปลามิหลัง (ปลาดุกทะเล) ได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างยิ่ง เกิดรายได้ แก่กลุ่มเป็นที่น่าพอใจ กิจกรรมเหล่าน้ีได้สร้างคุณค่าทางใจให้ผู้เข้ามาท�ำกิจกรรม นอกจากได้ความพึงพอใจจากการรับประทานอาหารพื้นบ้านท่ีหายากแล้ว ยังเป็น การปลกุ จติ สำ� นึกดา้ นการอนรุ ักษใ์ ห้แขง็ แกร่งขน้ึ ไป 19ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบ้านบา้ น By BEDO ปี 2

- กลุ่มโหนด นา เล มีรายได้ปี 2562 จ�ำนวน 1,983,000 บาท ขณะท่ี ปี 2563 กลุม่ มีรายได้รวม 1,795,590 บาท แม้อยใู่ นชว่ งสถานการณโ์ ควิด19 ก็ตาม 6.3 ชว่ งนี้ชแี้ นะ...เชญิ แวะกินปลามิหลัง การจดั กิจกรรม “เท่ยี วทา่ หนิ กินปลามิหลัง น่ังเรือแลบวั ชมพู เรยี นรูว้ ิถี ตาลโตนด” ครั้งที่ 1 ประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์เป็นอย่างดี ได้สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างการรับรู้ให้เกิดขึ้นในวงกว้าง ต่อการมีอยู่ของทรัพยากรชีวภาพ ทีท่ รงคณุ ค่าของต�ำบลท่าหนิ อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ข้อสังเกตท่ีคาดว่าสามารถน�ำไปต่อยอดขับเคล่ือนเศรษฐกิจให้กับชุมชน เครือข่าย สพภ. คือ การผลักดันกิจกรรม “ตลาดปันรักษ์” ท่ีจะสร้างรายได้ ให้กับ ชุมชนได้เป็นอย่างดี โดยกลุ่มกิจการพัฒนาธุรกิจและการตลาดจะได้น�ำไปประยุกต์ และผลกั ดนั การเปน็ “ตลาดปันรกั ษ”์ ตน้ แบบ ต่อไป 20 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

7.บทเรยี นท่ี 4 วิถีชมุ ชน คนชายฝ่ ังกับ “มะป๊ ดี ” ชมุ ชนกลมุ่ พฒั นาทรพั ยากรชวี ภาพ ต.วนั ยาว อ.ขลงุ จ.จนั ทบรุ ี เปน็ ชมุ ชน ที่อยู่ใกล้ชิดกับทรัพยากรชายฝั่งที่มีป่าชายเลน และสัตว์น�้ำอาศัยอยู่จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่าโกงกางบริเวณปากแม่น�้ำเวฬุ เป็นท่ีอาศัยอนุบาลสัตว์น้�ำวัยอ่อน โดยท่ีผ่านมา สพภ. ได้ให้โอกาสสมาชิกกลุ่ม เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานการใช้ เครื่องมือ “ท่องเท่ียวชีวภาพ” สร้างคุณค่าและรายได้ให้กับชุมชนต่าง ๆ และเห็นว่า ทางกลุ่มมีความต้องการและพร้อมจะใช้เคร่ืองมือดังกล่าว ขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน จึงหารือร่วมกันเพ่ือท�ำกิจกรรมท่ีสร้างคุณค่าและรายได้จากเครื่องมือ “ท่องเที่ยว ชีวภาพ” ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 7.1 กิจกรรมท่ีด�ำเนินการ - จัดต้ังธนาคารความหลากหลายทางชีวภาพของ “สม้ จ๊ีด” - จัดกิจกรรมในชื่องาน “ปลกู ป่า กินหอย ปลอ่ ยปู ดเู หยย่ี ว เทย่ี ววนั ยาว” ครัง้ ท่ี 1 เม่อื เดือนสงิ หาคม 2563 มผี ู้รว่ มงานไม่น้อยกว่า 300 คน 21ถอดบทเรยี น ท่องเที่ยวชวี ภาพ การตลาดบ้านบ้าน By BEDO ปี 2

7.2 ผลลัพธ์ของความรว่ มมือ...น่าช่นื ชม - สร้างการรับรู้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมชุมชนแก่บุคคลทั่วไป กิจกรรม ที่จัดขึ้นในครั้งน้ี ได้สร้างการรับรู้ในวงกว้าง มีการจัดแถลงข่าวการจัดงาน สื่อมวลชน ทั้งโทรทัศน์ สื่อออนไลน์ คอลัมนิสต์ และรายการวิทยุท้องถิ่น เข้าร่วมประชาสัมพันธ์การจัดงาน โดยเฉพาะโทรทัศน์ช่อง 3 ช่อง 5 และช่อง NBT ได้ออกอากาศประชาสัมพันธ์ท�ำใหข้ ่าวการจัดงานเป็นทรี่ บั ทราบอยา่ งกว้างขวาง - มีสื่อแขนงต่าง ๆ ท้ังทีวี และส่ือออนไลน์ ติดต่อขอเข้ามาถ่ายท�ำกิจกรรม ชมุ ชนมากข้นึ - สร้างคุณค่าและรายได้ให้กับชุมชน การจัดงานช่วงวันที่ 14 - 16 ส.ค. 2563 มีผู้คนต่างพื้นท่ีและใกล้เคียงเข้ามาเที่ยวชมงาน ร่วมกิจกรรมน่ังเรือ ชมธรรมชาติ ไม่ต�่ำกว่า 200 คน มีการจับจ่ายซื้อขายสินค้าพ้ืนถ่ินที่มีชุมชนมา ร่วมออกร้านจ�ำหน่ายประมาณ 25 ร้านค้า เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนไม่น้อยกว่า 300,000 บาท โดยเฉพาะรูปแบบการจัดให้มีตลาดชีวภาพชุมชน มีสินค้าพื้นถ่ิน ตามวิถีชีวิตของชุมชนได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลทั้งแปรรูปเบื้องต้น และแบบ สดใหม่ ได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างย่ิง และท�ำรายได้ให้แก่กลุ่ม เป็นท่ีน่าพอใจ กิจกรรมเหล่าน้ัน ได้สร้างคุณค่าทางใจให้ผู้เข้ามาร่วมกิจกรรม นอกจากได้ความพึงพอใจจากการรับประทานอาหารพื้นบ้านท่ีหายากแล้ว ยังเป็น การปลุกจติ สำ� นกึ ดา้ นการอนรุ ักษใ์ ห้แข็งแกรง่ ขนึ้ ไป - ความร่วมมือของคนในชุมชน แม้ว่าช่วงแรกท่ีตัดสินใจเร่ิมกิจกรรม มีหน่วยงานท่ียินดีร่วมไม่กี่หน่วยงาน มีเพียงวิสาหกิจชุมชนพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ ตำ� บลวันยาว ธนาคารปมู ้า และเทศบาลต�ำบลวนั ยาว ตอ่ มาเม่อื สพภ. เริม่ ขับเคลือ่ น งานร่วมกับชุมชนท�ำให้หลายหน่วยงานยินดีเข้าร่วมท�ำกิจกรรมวันแถลงข่าว มหี นว่ ยงานแจง้ เขา้ ร่วม 17 หน่วยงาน (รวม สพภ.) - ปีงบประมาณ 2563 กลุ่มพัฒนาทรัพยากรชีวภาพต�ำบลวันยาว มีรายได้ ของกลุม่ จากกิจกรรมตา่ ง ๆ รวมทง้ั ปี จำ� นวน 589,550 บาท 22 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบ้าน By BEDO ปี 2

7.3 ชว่ งนี้ชแี้ นะ....เชญิ เที่ยววันยาว ชมิ น้�ำมะป๊ ีด การจัดกิจกรรม “ปลูกป่า กินหอย ปล่อยปู ดูเหย่ียว เที่ยววันยาว” คร้ังท่ี 1 ถือได้ว่าประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์เป็นอย่างดี ได้สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างการรับรู้ให้เกิดข้ึนในวงกว้าง ต่อการมีอยู่ของทรัพยากรชีวภาพ ในระบบนิเวศป่าชายเลนท่ีทรงคุณค่าของชุมชนต�ำบลวันยาวและพื้นท่ีใกล้เคียง ชุมชนมีความเข้าใจ ความเชื่อมั่นในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชนด้วยเคร่ืองมือ “ทอ่ งเที่ยวชวี ภาพ” ต�ำบลวันยาว อ�ำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี มีระยะทางไม่ไกลมากจาก กรุงเทพมหานคร เหมาะแก่การเดนิ ทางท่องเทย่ี วพกั ผอ่ นชว่ งวันหยุด เสาร์ - อาทิตย์ เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนชายฝั่ง ระบบนิเวศป่าชายเลน รวมท้ังชิมรสชาติเครื่องด่ืม จากสม้ มะป๊ดี และอาหารทะเลสด ๆ 23ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

8. ก้าวต่อไปกับ “ตลาดปันรกั ษ์” การด�ำเนินงานใช้เคร่ืองมือ “ท่องเที่ยวชีวภาพ” ที่ผ่านมาได้ผลที่น่าพอใจ สร้างคุณค่าและรายไดใ้ หช้ มุ ชน ทท่ี ำ� กจิ กรรมดังกล่าวเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม กจิ กรรม “ทอ่ งเท่ียวชวี ภาพ” เป็นการจุดประกายใหก้ บั ชมุ ชน ทม่ี ีศักยภาพเหมาะจะใชเ้ ครอ่ื งมือดังกลา่ ว ซงึ่ พบว่ามีกิจกรรมยอ่ ย ท่สี ามารถเปน็ การ สร้างและกระจายรายได้ให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดี คือ การให้ชุมชนน�ำสินค้าหรือ ผลติ ภณั ฑ์ท้องถิ่นมาจำ� หน่ายในช่วงจัดกิจกรรม “ทอ่ งเทีย่ วชีวภาพ” ดังน้ัน สพภ. เห็นว่าควรท�ำกิจกรรมย่อยดังกล่าวให้เกิดความยั่งยืนขึ้นใน ชุมชน จึงมีแนวคิดท่ีจะพัฒนาต่อยอดทางด้านช่องทางการตลาดให้กับชุมชนโดยใช้ “ตลาดปนั รกั ษ์” เป็นเครอ่ื งมือ โดยมีแนวคิดสำ� หรับทำ� “ตลาดปนั รักษ”์ ดงั นี้ 1. สถานที่ท�ำตลาดปันรักษ์ เป็นที่สาธารณะต้องได้รับการยินยอมให้ใช้ ประโยชน์จากผู้ดูแลหรือหากเป็นที่บุคคลต้องได้รับการยินยอมให้ใช้ประโยชน์ท�ำ ตลาดปนั รกั ษเ์ ปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ 3 ปี 2. การบริหารจัดการ ด�ำเนินการโดยวิสาหกิจชุมชนเครือข่าย สพภ. เปน็ หลกั และมสี มาชิกกลมุ่ อาชีพต่าง ๆ เปน็ คณะทำ� งาน 3. การสนับสนุน ร่วมมอื จากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และหรือสถาบัน การศกึ ษาในพ้นื ท่ี โดยมกี ารลงนามความร่วมมอื เป็นลายลกั ษณ์อักษร (MOU) 4. ทำ� กจิ กรรมตอ่ เนือ่ ง การท�ำ “ตลาดปนั รกั ษ์” จะต้องดำ� เนนิ การตอ่ เนือ่ ง ไม่น้อยกว่า 3 ปี 24 ถอดบทเรยี น ท่องเท่ียวชวี ภาพ การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2

ถอดบทเรยี น การตลาดบา้ นบา้ น By BEDO ปี 2 Bio Tourism สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) Biodiversity-Based Economy Development Office (Public Organization)

สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรฐั ประศาสนภักดี ชน้ั 9 เลขที่ 120 หมูท่ ี่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทร. (66) 2141 7835 โทรสาร (66) 2143 9202 http://www.bedo.or.th ดาวน์โหลด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook