เปน็ วันรำลกึ พระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟำ้ จุฬำโลกมหำรำช (รัชกำลที่ ๑) ทรงเสดจ็ ปรำบดำภิเษกขีน้ เปน็ พระมหำกษัตรยิ ์แห่งรำชวงศ์จกั รแี ละเป็นวนั ครบรอบกำรก่อต้ังรำชวงศจ์ กั รี
ภาพถ่ายกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ความสาคญั ของวนั จกั รี วนั จกั รี (Chakri Memorial Day) คือ วนั ท่รี ะลึกถึงมหาจักรีบรม ราชวงศ์ เป็นวนั ที่ พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสดจ็ ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์เป็น พระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี อีกทั้งยงั เริ่มก่อสร้างพระนคร แห่งใหม่ในนาม กรงุ เทพมหานครบวรรัตนโกสินทร์ ท่นี ับว่าเป็นเมืองหลวงแห่ง ใหม่ถัดจากกรงุ ธนบุรี ซึ่งเมือ่ คร้ังทีก่ รงุ ธนบุรีเป็นราชธานีนน้ั มอี าณาบริเวณ รวมทงั้ สองฝ่ังของแม่นา้ เจ้าพระยา ทาให้เป็นเมืองหลวงทีม่ ีแมน่ ้าไหลผ่าน กลางเมือง ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ได้ทรงเปลีย่ นนาม ใหม่ จาก กรงุ เทพมหานครบวรรตั นโกสินทร์ เป็น กรงุ เทพมหานครอมร รตั นโกสินทร์ ซึง่ ช่วงเวลาตั้งแต่ก่อต้ังกรงุ เทพมหานครฯ เมื่อปี พ.ศ. 2325 มกั เรียกกนั ว่า สมัยรัตนโกสินทร์ เช่นเดียวกนั กบั ท่เี คยเรียกยุคสมยั ทีผ่ ่านมาใน สยาม โดยพระเจ้าแผน่ ดินในสมยั รัตนโกสินทร์นไี้ ด้สืบสนั ตติวงศ์ตอ่ เนื่องกันมา ในราชวงศ์เดียวกนั จนถึงปัจจุบนั มี 10 รชั กาล รวมระยะเวลาแล้วกว่า 238 ปี
ภาพถ่ายปราสาทเทพบดิ ร จากบันทึกตามประวตั ิศาสตร์ระบวุ ่า ในปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ไดโ้ ปรดเกล้าฯ ให้หล่อพระบรมรปู ของบรู พมหา กษัตริย์ 4 พระองค์ (รชั กาลท่ี 1 – รชั กาลท่ี 4) ขึ้นประดษิ ฐานเอาไว้สาหรบั ให้ พระมหากษัตรยิ ์พระองค์ต่อๆ ไป ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์ ขา้ ราชการ และ ประชาชนทว่ั ไปไดถ้ วายความเคารพสกั การะ เพื่อเป็นการระลึกถึงพระมหา กรุณาธิคณุ เปน็ ธรรมเนียมปีละหนง่ึ ครั้ง และไดโ้ ปรดเกล้าฯ ใหอ้ ัญเชญิ ไป ประดษิ ฐานยงั พระท่นี ่ังดสุ ิตมหาปราสาท ต่อมากไ็ ด้มีการเปลีย่ นสถานทีป่ ระดิษฐาน หลายต่อหลายครั้ง จนมาถึงในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฏเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาล ท่ี 6 พระองค์ไดท้ รงโปรดเกล้าฯ ให้เคลือ่ นย้ายพระบรมรูปของบรู พมหากษตั ริย์ 4 พระองค์มาไว้ ณ ปราสาทเทพบิดร ภายในวดั พระศรีรตั นศาสดาราม พร้อมกับ พระบรมรูปของรชั กาลที่ 5 พระชนกชาถ ซ่งึ พระทน่ี ง่ั สาหรับประดิษฐานพระบรมรปู องค์น้ี รชั กาลที่ 6 ทรงโปรดให้ซ่อมแซมจากพทุ ธปรางคป์ ราสาทเพือ่ การนี้ โดยเฉพาะ และได้พระราชทานพระนามว่า ปราสาทเทพบดิ ร โดยได้มีการซอ่ มแซม และประดิษฐานพระบรมรูปท้ัง 5 รชั กาลแล้วเสรจ็ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2461 จากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หวั จึงมีพระบรมราชโองการประกาศ ตั้งพระราชพิธถี วายบงั คมพระบรมรปู ขนึ้ ในวันที่ 6 เมษายนปีเดียวกัน อีกทงั้ ยังโปรด ให้เรียกวนั ที่ 6 เมษายนนีว้ ่า วันจักรี
ราชวงศจ์ ักรี เปน็ ราชวงศ์ทีป่ กครองประเทศไทย ต่อจากสมเด็จพระเจ้าตาก สินมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกลู ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา) ทรง สถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.2325 ยคุ ของราชวงศน์ ี้ เรียกว่า \"ยคุ รตั นโกสินทร์\"
ชือ่ ของราชวงศจ์ ักรีมีทีม่ าจากบรรดาศักดิข์ อง เจ้าพระยาจกั รี องครักษ์ ขณะน้ันดารงตาแหนง่ สมุหนายกซึง่ เปน็ ตาแหน่งทางราชการท่ี พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเคยดารงตาแหนง่ นมี้ า ก่อนในสมยั กรงุ ธนบรุ ี คาว่า จักรี พ้องเสียงกบั คาว่า จักร และ ตรี ทเ่ี ปน็ เทพ อาวุธของพระวิษณุ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชจึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระแสงจักรและพระแสงตรีไว้ 1 สารบั อีกทั้ง กาหนดให้ใช้เทพอาวุธนเี้ ป็นสญั ลกั ษณ์ประจาราชวงศ์จกั รีสืบเนื่องมาจนถึง ปัจจบุ นั
เคร่อื งราชกกุธภณั ฑ์ กกุธภัณฑ์ หรือ เครื่องราชกกธุ ภัณฑ์ ตามรปู ศัพทแ์ ปลว่า เครือ่ งใชส้ าหรับ พระมหากษตั รยฺ ์ กกธุ ภณั ฑ์ เป็นคาภาษาบาลี มาจาก กกุธ แปลว่า เครือ่ ง หมายความเปน็ พระราชา + ภณฺฑ แปลว่า ของใช;้ ระบไุ ว้ในอภิธานัปปทปี กิ า คาถา ท่ี ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉตั ร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนีคือ มีฉัตร แทนธารพระกร กกธุ ภณั ฑ์มีความสาคญั ยิง่ เพราะเปน็ เครื่องหมายแหง่ ความ เป็นพระราชาธิบดี จึงเปน็ สิ่งที่จะตอ้ งนาขึ้นทูลเกล้าฯถวายในพระราชพิธบี รม ราชาภิเษก เครื่องราชกกธุ ภณั ฑ์ประกอบดว้ ย • พระมหาเศวตฉตั ร หรือพระนพปฏลมหาเศวตฉัตร • พระมหาพิชยั มงกฏุ • พระแสงขรรค์ชัยศรี • ธารพระกร • วาลวีชนี (พดั กบั แส้จามรี) • ฉลองพระบาท
พระปฐมบรมมหาชนกแหง่ ราชวงศจ์ กั รี \"จะกล่าวถงึ เจ้านายจาพวกซ่งึ เป็นปฐมเปน็ ต้นแซต่ ้นสกุลเจ้าฟา้ แล พระองค์เจ้า หมอ่ มเจ้า หมอ่ มราชวงศ์แลเจ้าราชนิ ิกุลที่เรยี กนามว่า คุณ ว่า หมอ่ ม มีบรรดาศักดิเ์ นือ่ งในพระบรมราชวงศน์ ี้ ซึง่ บดั นเี้ ป็นจาพวกต่างๆอยู่ จะ ให้รแู้ จ้งว่าเนือ่ งมาแต่ท่านผู้ใด พระองค์ใด เปน็ เดมิ แต่แรกต้ังกรงุ เทพมหานคร อมรรตั นโกสินทร์ มหนิ ทรายุธยานี้มา พึงรู้โดยสังเขปว่าบุรษุ นารีมบี รรดาศกั ดิ์ ซึ่งเรียกวา่ เป็นจาพวกเจ้า คือเจ้าฟา้ แลพระองค์เจ้า หมอ่ มเจ้า หมอ่ มราชวงศ์ท้ัง ปวงนั้น ล้วนปฏิพัทธ์พวั พันสืบต่อลงมาแต่องค์สมเดจ็ พระมหาไปยกาธิบดี คือ องค์สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ พระเจ้าหลวงของพระบาทสมเด็จพระปรโมรุถชา มหาจกั รีบรมนาถ ซึ่งปรากฏพระนามในบัดนีว้ ่า พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอด ฟ้าจฬุ าโลก ซึง่ เป็นปฐมบรมอคั รมหาราชาธิราชในพระบรมมหาราชวัง\" จึงนบั ได้วา่ สมเดจ็ พระมหาไปยกาธิบดี หรือ สมเดจ็ พระปฐมบรม มหาชนก เปน็ พระมหาชนกพระองค์แรกแห่งราชวงศจ์ กั รี อกี ท้ังเป็นเจ้านายแห่ง ราชวงศจ์ ักรีพระองค์แรกอยา่ งแท้จรงิ มีพระมหาสังข์ เดิมเปน็ พระมหาสังข์ทใ่ี ช้ บรรจพุ ระบรมอัฐของสมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนกเมือ่ คร้ังสมัยรชั กาลที่ 1 ปจั จุบนั ใช้รดน้าในพระราชพธิ ีมงคลให้แก่พระบรมวงศานวุ งศ์เท่านั้น
รชั กาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธริ าชรามาธิบดี ศรสี ินทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธิ บดนิ ทร์ ธรณินทราธริ าช รตั นากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศร ตรีภวู เนตรวรนารถ นายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรยั สมทุ ยั ดโรมนต์ สกลจกั รวาฬาธิเบนทร์ สุริเยนท ราธบิ ดินทร์ หริหรินทรปรมาธิเบศร โลกเชฎวิสุทธิ์ รัตนมงกฎุ ประกาศ คตามหา พทุ ธางกูรบรมบพติ ร พระพทุ ธเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1 ใชอ้ กั ษรย่อวา่ “จปร” ยอ่ มาจาก “มหาจักรีบรมนาถ ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 27 ปี (พระชนมายุ 73 พรรษา) รชั กาลที่ 1 พระราช สมภพ 20 มีนาคม พ.ศ.2279 – สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.2352
รชั กาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจกั รพรรดิราชาธิ บดินทร์ ธรณินทราธิราช รตั นากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภวู เนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรยั สมทุ ัยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธบิ ดินทร์ หริหรินทราธาดาธิบดี ศรวี ิบลู ยคณุ อกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันตอกนิษฐ ฤทธิ ราเมศวรมหันต บรมธรรมกิ ราชาธิราชเดโชชยั พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภู มิทรปรมาธิเบศโลกเชษฐวิสทุ ธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพทุ ธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ 2 ใชอ้ กั ษรยอ่ วา่ “อปร” ยอ่ มาจาก “มหาอิศรสนุ ทร ปรมราชาธิราช” | ครองราชย์ 15 ปี (พระชนมายุ 57 พรรษา)
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดนิ ทร์ สยามนิ ทรวิโรดม บรม ธรรมกิ มหาราชาธริ าช บรมนารถบพิตร พระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 3 ใช้อักษรยอ่ วา่ “จปร” ยอ่ มาจาก “มหาเจษฎาบดนิ ทร ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 27 ปี (พระชนมายุ 64 พรรษา)
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกฎุ สุทธิ สมมตุ ิเทพยพงศวงศาดศิ รกษตั รยิ ์ วรขตั ติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธิ เคราะหณี จกั รีบรมนาถ อดิศวราชรามวรงั กูร สจุ ริตมูลสุสาธิตอุกฤษฐวิบลู ย บุรพาดลู ยกฤษฎาภินิหารสุภาธกิ ารรังสฤษดิ ธัญญลกั ษณ วจิ ิตรโสภาคสรรพางค์ มหาชโนต มางคประณตบาทบงกชยุคคล ประสทิ ธสิ รรพสุภผลอุดม บรมสขุ มุ าลยมหาบรุ ุษยรัตน ศกึ ษาพิพัฒนสรรพโกศล สวุ ิสทุ ธวิ ิมลศภุ ศีลสมาจารย์ เพ็ชรญาณประภาไพโรจน์ อเนก โกฎสิ าธุ คณุ วบิ ลุ ยสนั ดาน ทิพยเทพวตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรา นุรกั ษเ์ อกอคั รมหาบุรษุ สุตพุทธมหากระวี ตรีปฎิ กาทิโกศล วิมลปรชี ามหาอุดมบณั ฑิต สุนทรวจิ ิตรปฏภิ าณ บริบรู ณ์คณุ สาร สสั ยามาทโิ ลกยดิลกสาร สสั ยามาทโิ ลกยดิลก มหาปริวารนายกอนนั ต์ มหนั ตวรฤทธเิ ดชอนนั ต์ มหันตวรฤทธเิ ดช สรรพพิเศษ สิรนิ ธร มหาชนนิกรสโมสรสมมติ ประสทิ ธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉตั ร สิริ รตั โนปลักษณมหาบรมราชาภิเศกาภิษติ สรรพทศทิศวิชิตวิไชย สกลมไหศวรินมหา สยามนิ ทร มเหศวรมหินทร มหาราชาวโรดมบรมนารถชาติอาชาวศรัย พุทธาทไิ ตร รัตนสรณารักษ์ อกุ ฤษฐศักดิอัครนเรศราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบญุ การสกลไพศาลมหารัษฎาธิเบนทร ปรเมนทรธรรมมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบรม บพติ ร พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 4 ใชอ้ กั ษรย่อวา่ “มปร” ย่อมาจาก “มหามงกฎุ ปรมราชาธิราช” | ครองราชย์ 17 ปี (พระชนมายุ 63 พรรษา
รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ บดนิ ทรเทพยมหามงกุฎ บุรษุ รัตนราชรววิ งศ์ วรฒุ มพงษบ์ รพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรนั ตบรมมหา จกั รพรรดิราชสงั กาศ อุภโตสชุ าตสงั สทุ ธเคราะหณจี กั รีบรมนาถ อดิศวรราช รามวรงั กูร สุภาธิการรังสฤษฏ์ ธัญลักษณวิจติ โสภาคยสรรพางค์ มหาชโนต มางคประณตบาทบงกชยุคล ประสทิ ธสิ รรพศุภ ผลอดุ มบรมสขุ มุ มาลย์ ทพิ ย เทพาวตารไพศาลเกียรติคุณอดลุ ยวิเศษ สรพรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสษิ ฐศักดิ์ สมญาพินติ ประชานาถเปรมกระมลขตั ิยราชประยรู มลู มุขราชดิลก มหาปริวาร นายกอนนั ต์มหันตวรฤทธเิ ดช สรรวิเศษสิรนิ ทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิว์ รยศ มโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉตั ราดิฉัตร สิรริ ตั โน ปลกั ษณมหาบรมราชาภิเษกกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยมหา สวามนิ ทร์ มเหศวรมหินทรามหารามาธริ าชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาวศรยั พทุ ธาธิไตยรัตนสรณารกั ษ์ อดลุ ยศกั ดิ์อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรณุ าสีตล หฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดนิ ทร์ ปรมนิ ทรธรรมิกหา ราชาธริ าช บรมนาถบพิตรพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ 5 ใช้อักษรยอ่ วา่ “จปร” ยอ่ มาจาก “มหาจุฬาลงกรณ ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 42 ปี (พระชนมายุ 57 พรรษา)
รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ วธุ เอกอรรคมหาบรุ ษุ บรมนราธริ าช พินิต ประชานาถมหาสมมตวงศ์ อดิศยั พงศว์ ิมลรตั น์วรขัตติราชนิกโรดม จาตุรันตบรม มหาจักรพรรดิราชสังกาศ อภุ โตสุชาตสังสุทธเคราะหณีจักรบี รมนาถ จฬุ าลงกรณ ราชวรางกูร บรมมกุฏนเรนทร์สรู สันตติวงศ์วสิ ฐิ สุสาธิตบรุ พาธกิ าร อดุลยกฤษฎา ภินิหาร อดิเรกบญุ ฤทธิ ธญั ลักษณวจิ ิตรโสภาคยสรรพวงค์ มหาชโนตมางตป ระณตบาทบงกชยคุ ล ประสิทธิสรรพศุภผลอดุ ม บรมสุขุมาลย์ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณ อดลุ ยวเิ ศษสรรพเทเวศรานรุ ักษ์ บริมศักดิสมญาเทพวาราวดี ศรีมหาบุรษุ สดุ สมบตั ิ เสนางคนิกรรตั นอศั วโกศลประพนธปรีชา มัทวสมาจาร บริบูรณคณุ สารสยามาทินค รวรุตเมกราชดลิ ก มหาปริวารนายอนันต์ม หนั ตวรฤทธิเดช สรรพวเิ ศษศิรนิ ธรบรมชนกาดิศรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดม บรมราชสมบตั ิ นพปฎลเศวตฉตั ราดิฉัตร สริ ิรตั โนปลกั ษณมหาบรมราชาภิเษฏาภิ สติ สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามนิ ทร์ มเหศวรมหินทรมหา รามาธริ าชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวศรัยพทุ ธาธไิ ตรรัตนสรณารกั ษ์อดุลยศกั ดิ์ อรรคนเรศราธิบดี เมตตากรณุ า สตี ลหฤทยั อโนมยั บุญการสกลไพศาล มหา รัษฎาธิบดนิ ทร์ ปรเมนทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 6 ใชอ้ ักษรย่อวา่ “วปร” ยอ่ มาจาก “มหาวชิราวุธ ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 15 ปี (พระชนมายุ 45 พรรษา)
รชั กาลที่ 7 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาประชาธิปก มหนั ตเดชนดิลกรามาธบิ ดี เทพยปรยี า มหาราชรววิ งศ์ อสมั ภินพงศพรี ะกษตั รบรุ ุษรตั นราชนิกโรดม จาตรุ ันตบรมมหาจักรพรรดิ ราชสงั กาศ อภุ โตสุชาตสงั สทุ ธเคราะหณี จกั รีบรมนาถจุฬาลงกรณราชวรางกรู มหมกุฏวง ศวีรสรู ชิษฐ ราชธรรมทศพิธ อุตก์ ฤษฎานิบณุ ย์อดุลยฤษฎาภินหิ าร บรู พาธกิ ารสสุ าธติ ธนั ย ลักษณ์วจิ ิตรเสาวภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคมานทสนธมิ ตสมนั ตสมาคม บรมราช สมภาร ทพิ ยเทพวตารไพศาลเกยี รติคุณ อดุลยศกั ดเิ ดช สรรพเทเวศปรยิ านุรกั ษ์ มงคลล คนเนมาหวัยสโุ ขทัยธรรมราชา อภิเนาวศิลปศึกษาเดชาวุธ วิชยั ยุทธศาสตร์โกศล วิมลนรรย พินิต สจุ รติ สมาจาร ภัทรภิชญาณประดิภานสนุ ทรประวรศาสโนปสดุ มภก มลู มขุ มาตยวร นายกมหาเสนานี สราชนาวีพยูหโยธโพยมจร บรมเชษฏโสทรสมมต เอกราชยยศสธคิ มบรม ราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉตั ราดฉิ ตั ร ศรรี ัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิศิกต์ สรรพ ทศทศิ วิชติ เดโชไชย สกลมไหศวรยมหาสยามินทรมเหศวรมหินทรมหารามาธริ าชวโรดม บรมนาถชาตอาชาวศรยั พุทธาธิไตรรตั นวิศิษฎศกั ดิอ์ ัครนเรศวราธิบดี เมตตากรุณาศีตล หฤทยั อโนปไมยบณุ ยการ สกลไพศาลมหารัษฏราธิบดนิ ทร์ ประมินทรธรรมิกมหา ราชาธริ าช บรมนาถบพิตร พระปกเกล้าเจา้ อยู่หวั หรือพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 7 ใชอ้ ักษรย่อวา่ “ปปร” ย่อมาจาก “มหาประชาธิปก ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 9 ปี (พระชนมายุ 47 พรรษา)
รัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ลสกลไพศาลมหารษั ฎาธิบดี พระอฐั มรา มาธบิ ดนิ ทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพิตร (ต่อมาเมื่อวนั ท่ี ๘ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๓๙ ทรงได้รับการสถาปนาพระบรมอัฐิ เฉลิมพระนามเปน็ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหา อานนั ทมหิดลอดุลยเดช วิมลรามาธบิ ดี จุฬาลงกรณราชปรียวรนัดดา มหิตลานเรศวราง กูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติยศกั ตอรรคอุดมจกั รบี รมราชวงศนิวฐิ ทศพิธราชธรรมอุกฤษฎนบิ ณุ อดลุ ยกฤษฎาภินกิ ารรังสฤษฎ์ สสุ าธิตบูรพาธกิ าร ไพศาล เกียรติคุณอดลุ ยพเิ ศษ สรรพเทเวศรานุรักษอ์ ดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ ธญั อรรค ลกั ษณวิจติ รโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมงคประณตบาทบงกชยุคล อเนกนิกรชน สโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉตั ราดิฉตั ร สรรพรัฐ ทศทศิ วชิ ติ ไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธริ าชวโรดม บรม นาถชาติอาชาวไศรย พุทธาทิไตรรตั นสรณารกั ษ์ วิศิษฎศกั ตอัครนเรศรามาธิบดี พระ อัฐมราะบดนิ ทร สยามินทราธริ าชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 8 ใชอ้ ักษรย่อวา่ “อปร” ย่อมาจาก “มหาอานนั ทมหดิ ล ปรม ราชาธริ าช” ครองราชย์ 12 ปี (พระชนมายุ 20 พรรษา)
รชั กาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จกั รีนฤบ ดินทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร รัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อวา่ “ภปร” ยอ่ มาจาก “มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ปรม ราชาธริ าช” | ครองราชย์ 70 ปี (พระชนมายุ 88 พรรษา)
รชั กาลที่ 10 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรี สนิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภมู ิพลราชวรางกรู กิติสิริ สมบรู ณอ์ ดุลยเดช สยามินทราธเิ บศรราชวโรดม บรมนาถ บพติ ร พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ 10 ใชอ้ ักษรยอ่ ว่า “วปร” ยอ่ มาจาก “มหาวชิราลงกรณ ปรม ราชาธริ าช” ครองราชย์ – ปัจจบุ นั
การลงพระปรมาภิไธยในเอกสารราชการ (ภาพถ่ายพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย \"สยามินทร\"์ ในประกาศนียบตั รสาหรบั ผไู้ ดร้ ับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อนั เป็นทีเ่ ชดิ ชยู ิง่ ชา้ งเผือก ชน้ั ท่ี 3 นิภาภรณ์ พระราชทานแก่ศาสตราจารย์กาลิเลโอ คินี จิตรกรชาว อิตาลีผู้วาดภาพประดับโดมเพดานของพระทน่ี ั่งอนนั ตสมาคม เมือ่ วันท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ. 2456)
การทรงลงพระปรมาภิไธยในเอกสารสาคัญต่างๆ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย เริ่มปรากฏหลกั ฐานคร้ังแรกในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ปรากฏ หลักฐานการลงพระปรมาภิไธยในแต่ละรัชกาลดงั นี้ รชั กาลที่ 4 ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"สมเด็จพระปรเมนทรมหามกฎุ พระจอมเกล้าเจ้า กรุงสยาม\" ในกรณีที่เปน็ เอกสารภาษาต่างประเทศจะทรงลงพระ ปรมาภิไธยว่า \"SPPM. Mongkut Rex Siamensium\"
รชั กาลที่ 5 ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"จุฬาลงกรณ์ ปร.\" หรือ \"สยามนิ ทร์\" รัชกาลที่ 6 ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า ช่วงต้นรัชกาลทรงลงพระปรมาภิไธยวา่ \"วชิราวุธ ปร.\" หรือ \"สยามนิ ทร\"์ ภายหลงั ทรงเปลยี่ นเปน็ \"ราม วชิราวุธ ปร.\" หรือ \"ราม ร.\"
รชั กาลที่ 7 ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"ประชาธิปก ปร.” รัชกาลที่ 8 ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"อานนั ทมหดิ ล\"
รชั กาลที่ 9 โดยทัว่ ไปทรงลงพระปรมาภไิ ธยว่า \"ภูมิพลอดลุ ยเดช ปร.\" ในเอกสารบาง แห่งทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช สยามินทราธริ าช บรมนาถบพิตร\" ในกรณีที่เป็นเอกสารภาษาตา่ งประเทศ จะทรงลงพระปรมาภิไธยว่า \"Bhumibol R.\"
รัชกาลที่ 10 ทรงลงพระปรมาภิไธยดงั ภาพตวั อย่างเบื้องลา่ ง โดยในช่วงที่พระองค์ข้นึ ทรงราชย์ก่อนการบรมราชาภิเษก เอกสารของทางราชการกาหนดให้อ่าน ว่า \"มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร\" ภายหลังเมื่อทรงกระทาพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ทางราชการจึงกาหนดให้อ่านอย่างใหมว่ ่า \"มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั \"
พระราชลญั จกร ประจาพระมหากษตั ริย์ในรชั กาล 1-10 พระราชลัญจกร คือ ตราทีพ่ ระมหากษตั ริยท์ รงใช้ประทบั กากับ พระปรมาภิไธยและประทับกากับเอกสารสาคัญ การราชการแผ่นดิน เช่น รฐั ธรรมนญู พระราชบัญญตั ิ พระราชกาหนด พระราชกฤษฎกี า และ เอกสารสาคญั ส่วนพระองค์ ทีเ่ กีย่ วกบั ราชการแผ่นดิน ทีอ่ อกในพระ ปรมาภิไธยประจาแผ่นดนิ หรือประจารชั กาลนั้น พระราชลัญจกรเป็น เครือ่ งมงคลที่แสดงถึงพระราชอสิ ริยยศ และพระบรมเดชานุภาพของ พระมหากษตั ริย์ อกี ท้ังยังเปน็ เครื่องมงคลอีกด้วย พระราชลัญจกรประจา แผ่นดินจะต้องเชิญขนึ้ ทูลเกล้าฯถวายในพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พร้อม กับเครื่องมงคลอืน่ ๆ พระราชลัญจกรมี 4 ประเภท คือ 1.พระราชลัญจกรสาหรบั แผ่นดนิ ใช้ประทับกากบั เอกสารสาคญั ทีอ่ อกใน พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์เช่น พระราชลัญจกรมหาโองการ พระ ราชลญั จกรไอยราพต 2.พระราชลัญจกรประจาแผ่นดิน หรือประจารชั กาล ใช้ประทับกากับพระ บรมนามาภิไธยในเอกสารสาคัญ 3.พระราชลัญจกรประจาพระองค์ ใช้ประทับกากบั พระบรมนามาภิไธย ใน เอกสารสาคัญส่วนพระองคท์ ีไ่ ม่เกย่ี วด้วยราชการแผ่นดิน 4.พระราชลัญจกรประจาเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ ใช้ประทบั ประกาศนียบัตรเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามทีก่ าหนดไว้
ตราประจารัชกาลที่ 1 แหง่ ราชวงศจ์ กั รี “มหาอณุ าโลม” ลกั ษณะกลมรปู ปทมุ อณุ าโลม มอี ักขระ “อุ” อยู่ตรงกลาง (“อ”ุ มลี กั ษณะ เป็นมว้ นกลม คล้ายลกั ษณะพระนามเดิมว่า “ด้วง”) หมายถงึ ตาที่สามของพระอิศวร ซึ่งถือเปน็ ปฐมฤกษ์ในการต้ังพระบรมราช จกั รีวงศ์ ล้อมด้วยกลีบบัว ซึ่งเป็นพฤกษชาติสิริมงคล ทางพระพุทธศาสนา
ตราประจารชั กาลที่ 2 แหง่ ราชวงศจ์ ักรี “ครฑุ จบั นาค” ลักษณะรปู ครฑุ จบั นาค เนือ่ งจากพระนามเดิมคือ “ฉมิ ” ซึง่ ตามความหมายของวรรณคดีไทย คือ ที่อยู่ของพญาครฑุ
ตราประจารชั กาลที่ 3 แหง่ ราชวงศ์จกั รี “มหาปราสาท” ลักษณะกลม รูปปราสาท เนือ่ งจากพระนามเดิมคือ “ทับ” ซึง่ หมายถงึ ที่อยหู่ รือเรือน จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราช ลัญจกรเป็นรปู ปราสาท
ตราประจารชั กาลที่ 4 แห่งราชวงศจ์ กั รี “พระมหาพิชยั มงกุฎ” ลักษณะกลมรี รูปพระมหามงกฎุ ตามพระนามเดิม คือ เจ้าฟ้ามงกฎุ อยู่ในเครื่องเบญจราชกกธุ ภณั ฑ์ มฉี ัตรปริวาร ๒ ข้าง มี พาน ๒ ช้ัน วางพระแว่นสรุ ิยกานต์ หรือเพชร ข้างหนง่ึ อกี ขา้ งหนึ่งวาง สมดุ ตารา
ตราประจารชั กาลที่ 5 แหง่ ราชวงศจ์ กั รี “พระจลุ มงกฎุ หรือ พระเกีย้ ว” ลักษณะกลมรี มรี ปู พระเกี้ยว ยอดมีรัศมี ประดิษฐานบนพานทอง ๒ ช้ัน เคียงด้วยฉัตรปริวาร ๒ ข้าง ที่ริมขอบทั้ง ๒ ข้าง มพี านทอง ๒ ชั้น วางพระแว่นสุริยกานต์ หรือเพชรข้างหนง่ึ อกี ข้างหน่งึ วางสมุดตารา
ตราประจารชั กาลที่ 7 แหง่ ราชวงศจ์ กั รี “พระไตรศร” ลักษณะกลมรี รปู ราวพาดพระแสงศร ๓ องค์ คือ พระแสงศรพรหมศาสตร์, พระแสงศรอคั นีวาต และพระแสงศร ประลัยวาต ( เปน็ ศรของพระพรหม, พระนารายณ์ และพระอิศวร)
ตราประจารชั กาลที่ 8 แห่งราชวงศจ์ กั รี “รูปพระโพธิสตั ว์” ลักษณะทรงกลมกว้าง ๗ ซม. ลักษณะประทบั บนบลั ลงั ก์ดอกบวั ห้อยพระบาทขวาเหยียบบวั บาน หมายถงึ แผ่นดิน พระหัตถซ์ ้ายถือดอกบวั ตมู มีเรือนแก้วด้านหลังแท่นรัศมี มี แท่นรองรบั ต้ังฉตั รบรวิ าร ๒ ข้าง เปน็ สัญลักษณ์ของ พระ ปรมาภิไธยว่า อานนั ทมหดิ ล ซึ่งแปลว่า เป็นที่ยนิ ดีของแผน่ ดนิ
ตราประจารชั กาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี “พระแท่นอฏั ทิศ อทุ มุ พรราชอาสน์” ลกั ษณะรูปไข่ ประกอบด้วยวงจกั ร กลางวงจักรมีอักขระ “อ”ุ รอบๆ มรี ศั มี มคี วามหมายว่า ทรงมีพระบรมเด ชานุภาพในโดยท่วี นั บรมราชาภเิ ษก ตามโบราณราชประเพณี ไดเ้ สด็จประทบั เหนือ พระท่นี ่งั อฐั ทศิ สมาชิกรฐั สภาถวายนา้ อภเิ ษกจากทิศทงั้ 8 นบั เป็นครงั้ แรกใน ประวตั ศิ าสตร์ ท่พี ระมหากษัตรยิ ใ์ นระบอบประชาธิปไตย ทรงรบั นา้ อภิเษกจากสมาชิก รฐั สภา แทนท่จี ะรบั จากราชบณั ฑิตด่งั ในรชั กาลก่อน องคพ์ ระราชลญั จกรนีเ้ ป็นตรากลม รรี ูปไข่แนวตงั้ กวา้ ง 5 เซนติเมตร สงู 6.7 เซนติเมตร พระราชลญั จกรองคน์ ีน้ อกจากจะ ใชป้ ระทบั ในเอกสารสาคญั สว่ นพระองคท์ ่ไี มเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ราชการแผน่ ดินแลว้ ยงั ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานตรานีแ้ ก่สถาบนั อดุ มศกึ ษากลมุ่ มหาวทิ ยาลยั ราช ภฏั และ ทรงพระราชทานนาม \"ราชภฏั \" แก่ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ซง่ึ หมายถงึ \"คนของ พระราชา\" เม่อื วนั ท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2535 และ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ใช้ เป็นตราประจามหาวิทยาลยั แตล่ ะแหง่ ในเครอื ของตน เม่อื ปี พ.ศ. 2531และยงั ไดม้ ีพระ บรมราชานญุ าตใหใ้ ชเ้ ป็นภาพประธานในตราสญั ลกั ษณง์ านพระราชพิธีสาคญั ตา่ งๆ ในรขั กาลของพระองค์ ไดแ้ ก่ พระราชพิธีรชั มงั คลาภิเษก งานฉลองสิรริ าชสมบตั ิครบ 50 ปี และงานพระราชพธิ ีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช 2550อกี ดว้ ย
พระราชลัญจกร รชั กาลที่ ๑๐ พระราชลญั จกรประจาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล ปัจจุบนั เป็นรูปวชิราวธุ ซ่งึ หมายถงึ สายฟ้าอันเปน็ เทพศาสตราของ พระอินทร์ มแี บบตามพระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั ด้านบนมี พระเก้ียว มีแบบตามพระราชนิยมใน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว แทนคาว่า “อลงกรณ์” ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับ เปน็ พระราชสัญลกั ษณ์ของพระบรม นามาภิไธย “มหาวชิราลงกรณ” เปล่งรศั มเี ปน็ สายฟ้า ประดิษฐาน อยู่บนพานแว่นฟา้ พร้อมด้วยฉัตรบริวาร
ข้อมูลและรปู ภาพจาก • https://th.wikipedia.org • http://event.sanook.com/day/chakriday
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: