Free e-magazine ฉบบั ท่ี 99 มถิ ุนายน 2564 ISSN 2286-9298 ยอ่ ยโลกขอ้ มูลขา่ วสารวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อคุณ รายงานอณุ หภูมิ ร่างกายประจาํ วัน Secure Cloud อา่ นผลตรวจ วินิจฉยั พร้อมคยุ วดิ โี อคอล กบั ผู้กักตัวผ่านแอปฯ แพทยแ์ ละพยาบาลหรือผู้ดูแล สุดลำ้โรงพยาบาลสนาม ด้วยนวัตกรรมพร้อมใช้ เปิด ปดิ open close เปิดคา้ ง hold ไทยคน้ พบพชื วงศข์ งิ 29 คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ลว้ ไง 39 “สายพนั ธโ์ุ ควดิ ” ชนดิ ใหม่ 8 ชนดิ ขอ้ งใจเหรอคะ ชอ่ื นน้ั สำคญั ไฉน ? 47
A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 บทความพเิ ศษ 14 ระเบยี งขา่ ววิทย-์ เทคโนฯ ไทย 21 ท่ีปรึกษา หน้าตา่ งขา่ ววทิ ย-์ Sci- สาระ App 38 เทคโนฯ โลก 32 infographic 35 ณรงค์ ศิริเลิศวรกลุ จุฬารัตน์ ตันประเสรฐิ รอ้ ยพันวิทยา 39 สภากาแฟ 47 หอ้ งภาพ 51 จมุ พล เหมะคีรินทร์ สัตวป์ ่าไทย บรรณาธิการผพู้ ิมพ์ผโู้ ฆษณา สาระวิทย์ เปดิ โลก อ๋อ ! มนั เปน็ กุลประภา นาวานุเคราะห์ ในศลิ ป์ 52 นิทานดาว 57 อย่างน้นี ่เี อง 61 บรรณาธิการอ�ำ นวยการ ปน้ั น�ำ้ 63 Sci Quiz 65 คำ�คมนักวทิ ย์ 66 เปน็ ปลา นำ�ชยั ชวี วิวรรธน์ ENdiototer’s บรรณาธกิ ารบริหาร ความสำำ�คััญของวิทิ ยาศาสตร์์ เทคโนโลยีี ปรทิ ศั น์ เทียนทอง และนวัตั กรรมในยามวิิกฤต กองบรรณาธกิ าร ในห้้วงเวลานี้้จ� นถึงึ อนาคตข้า้ งหน้า้ ปััญหาการแพร่่ระบาดของโรคโควิิด 19 ยัังคงอยู่่�กัับเราไปอีกี สักั สักั ระยะ รักฉัตร เวทวี ฒุ าจารย์ การที่�เราต้้องใช้้ชีวี ิติ ในรููปแบบปกติิใหม่่ (new normal) เป็็นเรื่�่องที่่�ทุกุ คนต้อ้ งปฏิบิ ัตั ิอิ ย่า่ งหลีกี เลี่�ยงไม่ไ่ ด้้ วัชราภรณ์ สนทนา อาทติ ย์ ลมูลปล่งั แต่่ปัญั หาการติิดโรคโควิิด 19 ในปัจั จุุบัันก็็ยังั มีจี ำ�ำ นวนผู้้�ติิดเชื้อ� ที่่�สููงอยู่�ในแต่ล่ ะวันั เกิิดคลััสเตอร์์ใหม่่อยู่�ตลอดเวลา วีณา ยศวงั ใจ ภัทรา สัปปนิ นั ทน์ วััคซีีนเป็็นทางเลืือกที่�จะช่่วยสร้้างภููมิิกัันให้้ร่่างกายเพื่่�อต่่อสู้้�กัับไวรััสร้้ายชนิิดนี้้� แต่่ในประเทศไทยมีีจำ�ำ นวนวััคซีีน ที่่�จำ�ำ กัดั และยี่่�ห้อ้ วัคั ซีีนที่่�ยังั ไม่ม่ ีใี ห้เ้ ลืือกมากนััก นักเขยี นประจำ� ทำ�ำ ให้้เราเห็็นได้้ว่่าประเทศผู้้�ที่่�มีีนวััตกรรมและองค์์ความรู้�ทางด้้านการแพทย์์ วิิทยาศาสตร์์ และเทคโนโลยีีสามารถ รวศิ ทศั คร ผลิิตวััคซีีนได้้เอง จะสามารถนำำ�มาช่่วยเหลืือประชาชนในประเทศตนเองได้้ก่่อน จากนั้้�นจึึงส่่งออกต่่างประเทศเพื่�่อ พงศธร กจิ เวช ช่่วยเหลืือประเทศอื่่น� ต่อ่ ไป ปว๋ ย อุ่นใจ วริศา ใจดี หากวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีของประเทศไทยเราเข้้มแข็็ง ก็็สามารถช่่วยแก้้ไขวิิกฤตการแพร่่ระบาด ของโรคโควิิด 19 ภายในประเทศของเราได้้ ซึ่�งในปััจจุุบัันมีีทีีมนัักวิิจััยไทยทุ่�มเทในการพััฒนาวััคซีีนอย่่างสุุด บรรณาธกิ ารศิลปกรรม ความสามารถ รวมถึึงนวััตกรรมและสิ่�งประดิิษฐ์์ที่่�ช่่วยในการป้้องกัันและดููแลผู้้�ป่่วยที่�ใช้้งานอยู่�ในขณะนี้้� ซึ่�ง คุุณผู้้�อ่่านทุุกท่่านสามารถติิดตามได้้จาก Cover Story ของนิติ ยสารสาระวิิทย์์ฉบับั นี้้�ครัับ จุฬารตั น์ นิ่มนวล ☺เรามาร่ว่ มสนับั สนุนุ และให้ก้ ำ�ำ ลังั ใจบุคุ คลากรทางการแพทย์์ นักั วิทิ ยาศาสตร์์ และนักั วิจิ ัยั ไทยไปด้ว้ ยกันั นะครับั ศิลปกรรม ปริทิ ััศน์์ เทียี นทอง เกดิ ศริ ิ ขันตกิ ติ ตกิ ุล ศภุ ณฐั บญุ นะบตุ ร 2 มิถุนบารยรนณ2าธ5ิิก6าร4 ผู้ผลิต ฝ่ายสรา้ งสรรค์สอื่ และผลติ ภัณฑ์ สำ�นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 111 อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนึง่ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ตดิ ต่อกองบรรณาธิการ โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 อเี มล [email protected]
CSotovreyr กองบรรณาธิการ โรงพยาบาลสนามสุุดล้ำำ�� ด้ว้ ยนวััตกรรมพร้้อมใช้้ สถานการณ์ก์ ารแพร่ร่ ะบาดของโรคโควิิด 19 ยัังคงส่่งผลกระทบต่่อคนไทย เป็็นอย่่างมาก ทั้้ง� ระบบด้้านสาธารณสุุข เศรษฐกิจิ และสัังคม โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่่�ง จำำ�นวนของผู้�้ ติดิ เชื้้อ� ไวรัสั ก่อ่ โรคโควิิด 19 ที่่ย� ัังสููงอยู่่�ในแต่ล่ ะวััน ทำ�ำ ให้ม้ ีคี วามต้้องการ ใช้้สถานที่่ก� ัักตัวั เพิ่่�มมากขึ้้�น 3 มถิ ุนายน 2564
CStoovreyr ส�ำ นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ไดส้ นบั สนนุ พน้ื ทจ่ี ดั ต้งั โรงพยาบาลสนามบา้ นวทิ ยาศาสตร์ สริ ินธรเพ่อื คนพกิ าร ซง่ึ เป็นการบูรณาการการทำ�งานของ 3 กระทรวงหลกั ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กระทรวง การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (อว.) และกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (พม.) พรอ้ มน�ำ นวตั กรรม 11 ชิ้นท่ีเป็นผลงานของนกั วจิ ยั สวทช. มาใช้ในการดูแลผปู้ ่วย ไดแ้ ก่ 1. ระบบติิดตามสุุขภาพผู้�้ ป่ว่ ยทางไกล สำำ�หรับั โรงพยาบาลสนาม (A-MED TeleHealth) เป็นแพลตฟอร์มที่ออกแบบมาเพ่ือ (SOAP) ได้ อกี ทงั้ มรี ะบบ dashboard ใชง้ านการบรหิ ารจดั การ ขอ้ มลู เตยี งผปู้ ว่ ย มรี ะบบ ใช้บริหารจัดการสถานท่ีกักตัวผู้ป่วยโรค ค้นหา กรองขอ้ มลู ทีส่ ำ�คัญ และก�ำ หนดเง่ือนไขการค้นหาตา่ งๆ ได้ โควิด 19 เช่น โรงพยาบาลสนามอย่าง เป็นระบบ รองรับการทำ�งานของแพทย์ รายละเอยี ดเพม่ิ เติมตดิ ต่อ และพยาบาลดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกัน ทีมวจิ ัยนวตั กรรมและข้อมลู เพ่ือสขุ ภาพ (HII) อย่างมีประสิทธิภาพ มีจุดเด่นในการ ศนู ย์วิจัยเทคโนโลยสี ง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกและเคร่อื งมอื แพทย์ (A-MED) สวทช. สื่อสารและการบันทึกข้อมูลผ่านระบบ 0 2564 6900 ตอ่ 72032, 72035 วิดีโอคอล (VDO call) พร้อมระบบ [email protected] รายงานข้อมูลสัญญาณชีพทางไกล www.facebook.com/A.MED.nstda (tele-vital sign monitor) เชน่ อุณหภูมิ รา่ งกาย อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ ความอม่ิ ตวั ของออกซิเจนในเลือด ความดันโลหิต อาการที่สำ�คัญระบบพร้อมให้แพทย์ สามารถส่ังการรักษาทางไกล ลดความ เสี่ยงการติดเชื้อ และยกระดับการรักษา ผปู้ ่วยได้ทกุ ที่ทุกเวลา ผู้ป่วยและผู้วัดอุณหภูมิร่างกาย สามารถบันทึกผลด้วยแอปฯ ผ่านมือ ถือได้ทุกวัน ณ สถานที่กักตัว/โรงแรม/ โรงพยาบาลสนาม (state quarantine) พยาบาลสามารถลงทะเบียนผู้ป่วยและ บนั ทกึ รายงานใหผ้ ปู้ ว่ ยได้ แพทยส์ ามารถ สั่งการรักษา ส่ังยา สั่งเอกซเรย์ พร้อม บันทึกปัญหาความเจ็บป่วยของผู้ป่วย 4 มิถนุ ายน 2564
CStoovreyr 2. หน้า้ กากอนามััยเซฟีพี ลััส (Safie Plus) เซฟพี ลสั (Safie Plus) เปน็ หนา้ กาก รายละเอียดเพมิ่ เตมิ ติดตอ่ อนามัยประสิทธิภาพสูง มีความหนา ดร.นฤภร มนต์มธรุ พจน์ 4 ชน้ั แผน่ ชน้ั กรองพฒั นาดว้ ยเทคโนโลยี ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสงิ่ อ�ำ นวยความสะดวกและเครอื่ งมือแพทย์ (A-MED) สวทช. การเคลือบสารไฮดรอกซีอาปาไทต์ 0 2564 6500 ตอ่ 4437 และไทเทเนียมบนเส้นใยธรรมชาติ มี [email protected] คุณสมบัติในการดักจับฝุ่นละอองท่ีมี อนุภาคขนาดเล็กและจุลินทรีย์ จึงช่วย ป้องกันฝุ่น PM2.5 และป้องกันสารพิษ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ รวมถึงกำ�จัด เช้ือจุลินทรีย์ได้ท้ังไวรัสและแบคทีเรีย เมื่อถูกแสงแดด ที่สำ�คัญเซฟีพลัสยัง ออกแบบให้มีความกระชับกับใบหน้า แต่ยังหายใจได้สะดวก ไม่อึดอัด ทำ�ให้ สวมใส่ได้เปน็ เวลานาน ปัจจุบันหน้ากากอนามัยเซฟีพลัส ผา่ นการทดสอบประสทิ ธภิ าพการกรองฝนุ่ PM2.5 ได้ 99 เปอร์เซ็นต์ตามมาตรฐาน ASTM F2299 จาก TÜV SÜD ประเทศ สงิ คโปร์ และผา่ นการทดสอบประสทิ ธภิ าพ การกรองไวรสั (viral filtration efficiency: VFE) ได้ 99 เปอร์เซ็นต์ จาก Nelson Laboratory สหรัฐอเมริกา อีกทั้งยัง ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อ ไวรัส H1N1 (influenza A virus) โดย มหาวิทยาลยั มหดิ ล 5 มถิ นุ ายน 2564
SCotovreyr 3. MagikTuch ระบบลิฟิ ต์์ไร้ส้ ััมผัสั ระบบลิฟต์ไร้สัมผัส “MagikTuch รายละเอียดเพมิ่ เตมิ ติดตอ่ แบบ 2 in 1” ใช้งานไดท้ ัง้ แบบ “สัมผัส” ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม และ “ไรส้ มั ผสั ” เพอื่ ชว่ ยลดลดการสมั ผสั ศูนย์เทคโนโลยเี พ่อื ความมนั่ คงของประเทศและการประยกุ ตเ์ ชิงพาณิชย์ ท่ีบริเวณจุดเสี่ยง จึงช่วยลดโอกาสท่ีจะ (NSD) สวทช. ไดร้ บั เชอื้ โรคและลดการแพรก่ ระจายของ 0 2564 6900 ตอ่ 2521 โรคติดตอ่ ได้ มีจดุ เดน่ คือ [email protected] - touchless เพียงใช้นิ้วมือวาง เหนือปุ่มลิฟต์ห่าง 2-3 เซนติเมตร เซนเซอร์จะตรวจจับน้ิวมือท่ีวาง เหนือปุ่มช้ันที่ต้องการและสั่งการ ลิฟต์ให้โดยอัตโนมัติ - safe from infection ด้วยระบบท่ี ออกแบบให้ไม่ต้องมีการสัมผัสปุ่ม กดลิฟต์ จึงช่วยเพิ่มความเช่ือม่ัน ดา้ นความปลอดภยั ในการใชง้ าน ลด การแพร่กระจายและสะสมเช้ือโรค ภายในลฟิ ต์ - easy installation ชุดอุปกรณ์ MagikTuch ติดตั้งง่ายใช้ได้กับปุ่ม ทุกรูปแบบ ออกแบบชั้นได้ตาม ต้องการ ไม่กระทบระบบลิฟต์เดิม จึงไม่ส่งผลกระทบต่อสถานะของ ระบบประกันจากบริษัทผู้ติดต้ังและ ผ้ดู แู ลลิฟต์ - affordable ราคาไมส่ งู เขา้ ถึงได้งา่ ย 6 มถิ ุนายน 2564
SCtoovreyr 4. หน้า้ กากอนามััย N95 nBreeze หนา้ กากอนามยั nBreeze (เอน็ บรซี ) น้ําหนักเบา ทนต่อแรงดึงได้ดี นอกจาก การแพทย์ อตุ สาหกรรมเครอ่ื งปรบั อากาศ ใช้เทคโนโลยีการข้ึนรูปเส้นใยนาโน ด้วย นี้ยังออกแบบเอ็นบรีซให้มีคุณสมบัติท่ี อุตสาหกรรมยานยนต์ และนําไปใช้ องคป์ ระกอบเฉพาะรว่ มกับเทคนิคอิเลก็ - หลากหลายเพม่ิ เตมิ เขา้ มาไดด้ ว้ ย เชน่ ทาํ ทดแทนแผ่นกรองอากาศท่ีมีราคาสูง โทรสปินนิงและเทคโนโลยีแผ่นเส้นใย ความสะอาดตวั เอง สะทอ้ นน�้ำ และทนตอ่ ในท้องตลาดได้ ไมโครไฟเบอร์ ทาํ ให้ไดแ้ ผน่ เสน้ ใยแบบไม่ แสงแดด จึงนําไปประยุกต์ใช้ได้ในหลาก ถักไม่ทอที่มีลักษณะเป็นรูพรุนขนาดเล็ก หลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรม จํานวนมาก ซึ่งสามารถคัดกรองอนุภาค ขนาดเลก็ แตย่ อมให้อากาศผ่านได้ จึงมี รายละเอยี ดเพิ่มเติมติดตอ่ คุณสมบัติพิเศษต่างจากแผ่นกรองทั่วไป ดร.วรล อนิ ทะสันตา ดักจับอนุภาคฝุ่นละอองในอากาศขนาด ศนู ย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช. 0.3-2.5 ไมครอน เหมาะสําหรับการกรอง 0 2564 7100 ตอ่ 6580 ฝ่นุ PM2.5 ป้องกนั ละอองของเหลวทีอ่ าจ [email protected] ปนเปือ้ นเชื้อโรค และตา้ นแบคทีเรยี โดย ตัวแผ่นกรองยังมีความแข็งแรง ยืดหยุ่น 7 มิถนุ ายน 2564
SCotovreyr 5. nSphere หมวกแรงดันั ลบ สำำ�หรับั ผู้�้ ติดิ เชื้้อ� หมวกแรงดันลบเป็นนวัตกรรมเพื่อ และใช้ UVC/Ozone ในการฆ่าเชื้อ โดย ความดันลำ�โพงและไฟบอกสถานะที่ผู้ใช้ ลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื จากกลมุ่ เฝา้ ระวงั แผน่ กรองนผ้ี า่ นการออกแบบให้ไมม่ สี ว่ น สามารถมองเห็นได้ง่าย มีแหล่งกักเก็บ ดว้ ยแนวคดิ ประกอบงา่ ย ผลติ เรว็ ราคาถกู สัมผัสกับผู้ใช้ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพใน พลงั งานในตวั สามารถชารจ์ ไดผ้ า่ นพอรต์ โดยประชาชนสามารถใช้พิมพ์เขียวใน การใช้งานสูงสุด และมีวงจรประมวลผล USB โดยใช้ไฟฟา้ กระแสตรงศกั ยต์ �่ำ จงึ มี การดูแบบ เพ่ือประกอบด้วยตัวเองได้ และบริหารจัดการ มีเซนเซอร์ตรวจวัด ความปลอดภัยในการใชง้ านสงู โดยง่าย จึงเป็นประโยชน์อย่างมาก ต่อการกระจายการใช้งานไปในวงกว้าง ลดการขาดแคลนอุปกรณ์ป้องกันการ แพร่กระจายเช้ือโรค ทำ�ไว้สำ�หรับการ เคล่อื นยา้ ยผู้ปว่ ยหรอื ผ้ทู ีอ่ าจตดิ เชื้อ ตัวหมวกใช้การพับกระดาษแข็ง หรือแผ่นพลาสติกให้ขึ้นรูปเป็นรูปทรง โดยไม่ต้องใช้กาว (ใช้หลักการพับแบบ Origami) ตวั หมวกทพี่ บั เสรจ็ จะมคี วามดนั อากาศต่ำ�กวา่ ภายนอกอยา่ งนอ้ ย 2.5 Pa ด้วยการควบคุมอัตราการไหลเวียนของ อากาศที่ผ่านเข้าช่องและรูต่างๆ ซ่ึง จำ�นวนครั้งการถ่ายเทอากาศต่อชั่วโมง ประมาณ 600 คร้ังต่อชั่วโมง (50 เท่า เมื่อเทียบกับมาตรฐานห้องแรงดันลบ) มรี ะบบก�ำ จดั เชอ้ื ณ ขาออก ใชก้ ารตดิ ตงั้ แผ่นกรอง HEPA เพื่อกำ�จัดละอองท่ีมี อนุภาคขนาดใหญ่กว่า 300 นาโนเมตร รายละเอยี ดเพ่ิมเติมตดิ ต่อ ดร.ไพศาล ขนั ชัยทิศ และทมี วจิ ัย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช. 0 2564 7100 [email protected] 8 มถิ นุ ายน 2564
SCotovreyr 6. nSphere หมวกแรงดัันบวก สำำ�หรัับบุุคลากรทางการแพทย์์ หมวกแรงดนั บวกเปน็ นวตั กรรมเพอ่ื ในการฆ่าเชื้อ โดยแผ่นกรองนี้ผ่านการ ไฟบอกสถานะที่ผู้ ใช้สามารถมองเห็น ลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื จากกลมุ่ เฝา้ ระวงั ออกแบบให้ไมม่ สี ว่ นสมั ผสั กบั ผู้ใช้ เพอ่ื ให้ ได้ง่าย มีแหล่งกักเก็บพลังงานในตัว ดว้ ยแนวคดิ ประกอบงา่ ย ผลติ เรว็ ราคาถกู มีประสิทธภิ าพในการใชง้ านสงู สุด และมี สามารถชาร์จได้ผ่านพอร์ต USB โดย โดยประชาชนสามารถใช้พิมพ์เขียวใน วงจรประมวลผลและบริหารจัดการ มี ใช้ไฟฟ้ากระแสตรงศักย์ต่ำ� จึงมีความ การดูแบบ เพ่ือประกอบด้วยตัวเองได้ เซนเซอร์ตรวจวัดความดันลำ�โพง และ ปลอดภัยในการใชง้ านสงู โดยง่าย จึงเป็นประโยชน์อย่างมาก ต่อการกระจายการใช้งานไปในวงกว้าง ลดการขาดแคลนอุปกรณ์ป้องกันการ แพรก่ ระจายเชอ้ื โรค ท�ำ ไวส้ �ำ หรบั บคุ ลากร ทางการแพทย์ ตัวหมวกใช้การพับกระดาษแข็งหรือ แผ่นพลาสติกให้ขึ้นรูปเป็นรูปทรงโดยไม่ ตอ้ งใชก้ าว (ใชห้ ลกั การพบั แบบ Origami) ตัวหมวกท่ีพับเสร็จจะมีความดันอากาศ ตำ่�กว่าภายนอกอย่างน้อย 2.5 Pa ด้วย การควบคมุ อตั ราการไหลเวยี นของอากาศ ท่ีผ่านเข้าช่องและรูต่างๆ ซ่ึงจำ�นวนครั้ง การถ่ายเทอากาศต่อชั่วโมง ประมาณ 330 ครั้งต่อชว่ั โมง มีระบบก�ำ จดั เชอ้ื ณ ขาออก ใช้การติดต้ังแผ่นกรอง HEPA เพ่ือกำ�จัดละอองที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ กวา่ 300 นาโนเมตร และใช้ UVC/Ozone รายละเอยี ดเพิม่ เติมตดิ ต่อ ดร.ไพศาล ขนั ชยั ทศิ และทมี วิจัย ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช. 0 2564 7100 [email protected] 9 มิถนุ ายน 2564
SCtoovreyr 7. เครื่่�องเอกซเรย์์ดิจิ ิทิ ััลแบบเคลื่่�อนที่่ไ� ด้้ (BodiiRay M) BodiiRay M เป็นเคร่ืองเอกซเรย์ รายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ติดตอ่ ดิจิทัลแบบเคลื่อนท่ี (portable x-ray) ทีมวิจัยระบบสรา้ งภาพทางการแพทย์ (MIS) ที่มีขนาดเล็กและนำ้�หนักเบา สามารถ ศนู ยว์ จิ ัยเทคโนโลยีส่ิงอ�ำ นวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ (A-MED) สวทช. เข็นไปใช้งานในที่ต่างๆ ได้สะดวก เช่น 0 2564 6900 ตอ่ 2252, 2282-2284 ตามวอร์ดผู้ป่วยใน ในห้องฉุกเฉิน และ [email protected] ในส่วนท่ีต้องการแยกผู้ป่วยติดเช้ือ www.facebook.com/A.MED.nstda ออกจากส่วนอื่นๆ ของโรงพยาบาล นอกจากนี้ยังถูกใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน การแพร่ระบาดของเช้ือก่อโรคโควิด 19 ที่โรงพยาบาลสนามต่างๆ เพื่อคัดกรอง ผู้ติดเช้ือท่ีมีความรุนแรงของโรคออกมา ทำ�การรักษาอย่างทันท่วงที ตัวเครื่อง ประกอบด้วยเคร่ืองกำ�เนิดเอกซเรย์ ขนาดเล็ก ฉากรับรังสีแบบดิจิทัลไร้สาย และคอมพิวเตอร์แบบพกพา ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วย ส่วนที่ใช้ในการต้ังค่าและ ควบคุมการฉายเอกซเรย์ ส่วนประมวล ผลและแสดงผลภาพเอกซเรย์แบบ ดิจิทัล (RadiiView software) และส่วน บริหารจัดการและจัดเก็บภาพเอกซเรย์ท่ี สามารถเชื่อมต่อกับระบบจัดเก็บสื่อสาร ข้อมูลภาพทางการแพทย์ (PACS) ของ โรงพยาบาลได้ 10 มิถุนายน 2564
SCtoovreyr 8. Girm Zaber UV-C Sterilizer : เครื่่อ� งกำำ�จัดั เชื้�อ้ โรคด้้วยวิิธีฉี ายแสงยููวีซี ีี เคร่อื งก�ำ จดั เชอ้ื โรคดว้ ยวิธีฉายแสง เคร่ืองกำ�จัดเช้ือโรคด้วยวิธีฉายแสง ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งน้ีผ่านการทดสอบ ยูวีซี Girm Zaber UV-C Sterilizer ยูวีซีสามารถฆ่าเช้ือได้ทั้งท่ีอยู่บนพื้นผิว ประสิทธิภาพโดยสถาบันวิจัยเทคโนโลยี สามารถฆา่ เชอ้ื ไดท้ ง้ั ไวรสั แบคทเี รยี และ และในละอองฝอยในอากาศ ใช้งานได้ ชี ว ภ า พ แ ล ะ วิ ศ ว ก ร ร ม พั น ธุ ศ า ส ต ร์ เชอ้ื รา ในพนื้ ทปี่ ดิ (ไมม่ สี งิ่ มชี วี ติ ) ดว้ ยเวลา กับเคร่ืองมือทางการแพทย์และอุปกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้งได้ เพยี งจดุ ละ 5-15 นาที ขนึ้ กับขนาดพน้ื ที่ อิเล็กทรอนิกส์ เหมาะกับการใช้งานใน มอก. 1955/EN55015 โดยศูนย์ทดสอบ โดยตัวเคร่ืองมี 2 รูปแบบ คือ “Girm สถานพยาบาลและสถานท่ีเส่ียงต่างๆ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ Zaber Station” แบบเคล่ือนที่ด้วยการ ช่วยลดการใช้น้ำ�ยาฆ่าเชื้อ ลดเวลา (PTEC) เข็นย้ายไปยังจุดต่างๆ และแบบ “Girm ทำ�ความสะอาด และลดความเสี่ยง Zaber Robot” แบบเคล่ือนท่ีด้วยระบบ มอเตอร์ไฟฟ้าผ่านสัญญาณ WiFi ด้วย แอนดรอยด์แอปพลิเคชนั รายละเอยี ดเพมิ่ เติมตดิ ตอ่ ดร.ศวิ รักษ์ ศิวโมกษธรรม ศนู ยเ์ ทคโนโลยเี พอ่ื ความมน่ั คงของประเทศและการประยกุ ตเ์ ชงิ พาณชิ ย์ (NSD) สวทช. 0 2564 6900 ต่อ 2521 [email protected] 11 มิถุนายน 2564
SCotovreyr 9. PETE เปลปกป้้อง เปลความดันั ลบเคลื่่อ� นย้้ายผู้�้ ป่ว่ ย เปลปกปอ้ ง PETE เปน็ เปลความดนั ลบส�ำ หรบั ควบคมุ ไมใ่ หอ้ ากาศ ทม่ี เี ชอ้ื ปนเปอ้ื นกระจายสภู่ ายนอกเพอื่ ใช้ในการเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ย โดย ตวั เปลจะมกี ารกรองเชอ้ื ในอากาศดว้ ยแผน่ กรองอากาศ (HEPA Filter) และฆ่าเชื้อโรคด้วยแสง UV-C จึงทำ�ให้ม่ันใจได้ว่าอากาศที่ผ่านออก จากเปลจะปลอดเช้ือ รายละเอียดเพ่มิ เตมิ ติดตอ่ ดร.ศราวธุ เลิศพลงั สนั ติ ศนู ย์เทคโนโลยโี ลหะและวัสดุแหง่ ชาติ (เอ็มเทค) สวทช. 0 2564 6500 ต่อ 4350 10. ระบบบริิการล่่ามทางไกลสำำ�หรัับผู้้�พิิการทางการได้ย้ ิิน (บริิการล่า่ มทางไกล) บริการถ่ายทอดการสื่อสารแบบสนทนาวิดีโอ (TTRS Video) สำ�หรับคนพิการทางการได้ยินที่โรงพยาบาลสนาม เป็นบริการล่าม ภาษามือทางไกลท่ีทำ�ให้เจ้าหน้าที่ประจำ�โรงพยาบาลสนาม (คนหูดี) สามารถสื่อสารกับคนพิการทางการได้ยิน (คนหูหนวก) ท่ีอยู่ โรงพยาบาลสนามผ่านอุปกรณ์สื่อสารท่ีจัดเตรียมไว้ท่ีโรงพยาบาล สนาม ประกอบด้วย video phone และแท็บเลต็ (iPad mini) ทีมวิจัย สวทช. นำ�เทคโนโลยีเข้ามาใช้ทำ�ให้คนพิการทาง การได้ยินมีตัวเลือกท่ีจะใช้ในการสื่อสารมากข้ึน ตามความถนัดของ ตนเอง และความเหมาะสมของเวลาสถานที่ โดยมีการนำ�ไปใช้งาน แล้วท่ีมูลนิธิสากลเพื่อคนพิการ และนำ�มาใช้งานที่โรงพยาบาลสนาม บา้ นวิทยาศาสตรส์ ริ ินธรเพอ่ื คนพกิ าร รายละเอียดเพ่ิมเตมิ ติดตอ่ ดร.ณัฐนนั ท์ ทัดพทิ กั ษ์กลุ ศนู ย์วิจยั เทคโนโลยสี ิ่งอ�ำ นวยความสะดวกและเครอ่ื งมอื แพทย์ (A-MED) สวทช. 0 2564 6900 ตอ่ 72032, 72035 [email protected] 12 มิถุนายน 2564
SCtoovreyr 11. รถส่่งของบังั คับั ทางไกล \"อารี\"ี เพื่่�อบุคุ ลากรทางการแพทย์์ และหุ่่�นยนต์์ส่่งของ (ปิ่� น่ โต2) \"อาร\"ี รถสง่ ของบงั คบั ทางไกล เปน็ รายละเอียดเพ่มิ เติม รถส่งของบงั คบั ทางไกล \"อาร\"ี ติดตอ่ นวตั กรรมท่ีเอ็มเทค สวทช. ร่วมกับบริษัท ดร.ก่อเกยี รติ เศษชยั ชาญ บุญวิศวกรรม จำ�กัด ออกแบบเพื่อใช้ ศูนยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวสั ดุแหง่ ชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ส�ำ หรบั ขนสง่ สมั ภาระ เชน่ อาหาร และยา 0 2564 6500 ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ยโควดิ 19 ทพี่ กั ภายในหอผปู้ ว่ ย รายละเอยี ดเพ่ิมเติม หุ่นยนต์สง่ ของ (ปนิ่ โต2) ตดิ ต่อ เฉพาะกิจ ช่วยเพ่ิมระยะห่างระหว่าง กรมวทิ ยาศาสตร์บริการ บคุ ลากรทางการแพทยก์ บั ผปู้ ว่ ย และชว่ ย 0 2201 7000 ลดคา่ ใชจ้ า่ ยสน้ิ เปลอื งจากการใชอ้ ปุ กรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (personal protection equipment: PPE) ทตี่ อ้ งก�ำ จดั ทง้ิ ทกุ ครงั้ ทบี่ คุ ลากรทางการแพทยเ์ ขา้ ไป ปฏบิ ัติงานในหอผปู้ ่วยเฉพาะกจิ “ปนิ่ โต 2” หุ่นยนต์ส่งของ พฒั นา โดยทมี นกั วทิ ยาศาสตรข์ องกรมวทิ ยาศาสตร์ บรกิ าร (วศ.) ซ่งึ มี ดร.ปาษาณ กลุ วานิช เป็นหัวหน้าโครงการ คุณสมบัติเด่นของ หุ่นยนตป์ น่ิ โต 2 คอื ใช้ขนส่งอาหาร นำ�้ ยา และเวชภัณฑ์แก่ผู้ติดเช้ือ โดยการ ควบคุมทางไกลเพื่อลดความเสี่ยงและ เพิ่มระยะห่างระหว่างบุคลากรทางการ แพทย์กับผู้ติดเช้ือ ใช้งานง่ายสามารถ ควบคมุ ผา่ นทางรีโมตคอนโทรลระยะไกล ได้ อีกทั้งมีระบบแสดงผลการเคลื่อนที่ ผ่านจอแสดงผล เพ่ือเพ่ิมความแม่นยำ� และลดความเสียหายของอุปกรณ์ขณะ ใชง้ าน มกี ารพฒั นาระบบจดั เกบ็ แบตเตอรี่ ที่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้ได้ติดต่อกัน นานถงึ 8-9 ช่วั โมง 13 มิถุนายน 2564
บทความ อรพินท์ วิภาสรุ มณฑล (เมนช) เรยี บเรยี ง พเิ ศษ มารีี กููรีี หนึ่่�งหญิงิ ผู้เ�้ ปลี่่�ยนโฉมหน้้าโลกวิิทยาศาสตร์์ บทที่่� 3 พ.ศ. 2454-2456 ปีแี ห่ง่ การต่อ่ สู้้�เพื่�่ อกู้้�เกียี รติิยศ ฟื้� น้ ฟููสุขุ ภาพ และรัับรางวััลโนเบลอีีกครั้้�ง ตอนที่่� 1 ฝรั่่�งเ ศ ส ใ น ช่่ ว ง ที่ � ม า รีี มีี ชีี วิิ ต อ ยู่ �นั้ � น มีี วิิ ธีี ในปี พ.ศ. 2453 ทางรัฐบาลฝรงั่ เศส ยกย่่องเกีียรติิคุุณผู้้�มีอี ัจั ฉริิยะสองวิิธีี คืือ เสนอรางวัล Legion of Honour แก่มารี มอบรางวััล Legion of Honour กัับได้้รัับเลืือกเป็็น แต่เธอปฏิเสธ เพราะถือว่ารางวัลเป็น สมาชิิกของสถาบัันวิิทยาศาสตร์์แห่่งชาติิ (Science ส่ิงฉาบฉวย (ต้ังแต่ได้รับรางวัลโนเบล Academy) หลายประเทศ เชน่ สวเี ดน เนเธอรแ์ ลนด์ เชก็ โกสลาเวยี และโปแลนด์ เลอื กเธอเปน็ สถาบัันแห่่งชาติิฝรั่่�งเศส (Institute de France) สมาชกิ สถาบนั วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาตนิ น้ั ๆ) ภาพจาก https://www.researchgate.net/ สถาบันวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ สถาบนั หนง่ึ ในห้าสถาบันที่ประกอบกันเป็นสถาบัน แห่งชาติฝร่ังเศส (Institute de France) งานของสถาบันวิทยาศาสตร์มีผลกระทบ ตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวฝรงั่ เศสมาก เปน็ องคก์ รทวี่ างขอบเขตคดั เลอื กรายงาน ให้รางวัลผลงานทางวิทยาศาสตร์ มี อิทธิพลต่อความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และ เทคโนโลยีของชาติ การได้รับคัดเลือก เป็นสมาชิกถือเป็นเกียรติประวัติสูงสุด ในวชิ าชพี 14 มิถุนายน 2564
บทความ พเิ ศษ เมื่อสมาชิกสาขาเคมีฟิสิกส์คนหนึ่ง ไมต่ ้องใชล้ วดตัวน�ำ (wireless) เครือ่ งรับ เสียงจากสมาชิกท่ีเก่ียวข้องกับโบสถ์ ถึ ง แ ก่ ก ร ร ม ใ น ป ล า ย เ ดื อ น ตุ ล า ค ม คล่ืนท่ีเขาประดิษฐ์ข้ึนถือว่าเป็นต้นแบบ คาทอลิก เธอเป็นชาวโปลโดยก�ำ เนิด ไม่ พ.ศ. 2453 ตำ�แหน่งสมาชิกสถาบัน น�ำ ไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ ของกลู เิ อลโม มาร์โคนี ได้เกิดในฝรั่งเศส และที่สันนิษฐานว่า วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาตฝิ รงั่ เศสวา่ งขน้ึ หนง่ึ (Guglielmo Marconi) ในการประดิษฐ์ เป็นเหตุผลสำ�คัญคือเป็นเพศหญิง ซ่ึง ตำ�แหน่ง ฝ่ายฟิสิกส์เสนอช่ือเธอเข้ารับ เครื่องรับ-ส่งท่ี ใช้ ในโทรคมนาคมข้าม ในประวัติ 215 ปีของสมาคมยังไม่มี เลอื กในเดอื นธนั วาคม เธอไมป่ ฏเิ สธ ทงั้ ๆ ประเทศ (ปรากฏว่ามาร์โคนีได้รับรางวัล ผู้หญงิ คนใดไดร้ ับเลือก สงั คมฝร่งั เศสใน ทรี่ จู้ ากประสบการณข์ องปแิ อรว์ า่ เสย่ี งตอ่ โนเบลคนเดยี ว) ทศวรรษนน้ั สว่ นใหญ่ ถอื วา่ เพศหญงิ เปน็ การผดิ หวงั และเสยี หนา้ หากไมไ่ ดร้ บั เลอื ก ผู้สนับสนุนของท้ังสองฝ่ายต่าง เพศเปราะบางตอ้ งการความคมุ้ ครองจาก (เธออาจเกรงวา่ ถา้ ไมย่ อมรบั การเสนอชอื่ พยายามรณรงค์หาเสียงอย่างเต็มที่ เพศชาย เหมาะสมกับหน้าที่ รับผิดชอบ จะถกู มองว่าเยอ่ หยิง่ ไมส่ �ำ นึกถึงบญุ คณุ โดยเขียนความเห็นด้านบวกด้านลบ ดแู ลบา้ นชอ่ ง คอยอยเู่ คยี งขา้ งสนบั สนนุ สามี ของชาติที่ให้การศึกษาแก่เธอ) ลงหนังสือพิมพ์ ซึ่งมีสองฝ่ายคือ ฝ่าย เพอื่ ใหส้ งั คมครอบครวั รวมตวั กลมเกลยี ว ตัวเก็งคู่แข่งของมารีคือ เอดัวร์ อนรุ กั ษน์ ยิ ม (ชาตนิ ยิ ม) สนบั สนนุ บรอนลี กนั อย่างท่เี ป็นมาต้งั แตโ่ บราณ บรอนลี (Edouard Branly) เป็นนัก กับฝ่ายหัวก้าวหน้า สนับสนุนมารี ใ น วั น เ ลื อ ก ต้ั ง ส ม า ชิ ก ส ถ า บั น วทิ ยาศาสตรอ์ าวโุ ส เคยเปน็ ศาสตราจารย์ โดยเปรียบเทียบผลงานของคู่แข่งขัน วิทยาศาสตร์ 24 มกราคม พ.ศ. 2454 มี สอนฟิสิกส์ที่ซอร์บอนน์ แต่ลาออกไป ทงั้ สองฝา่ ยเขยี นวจิ ารณ์โตต้ อบกนั ในหนา้ ประชาชนท่ัวไปสนใจเข้าประชุม แต่ไม่ สอนที่สถาบันคาทอลิก ผลงานที่สำ�คัญ หนังสือพิมพ์ ตั้งแต่วันประกาศช่ือจนถึง อนุญาตให้ผู้หญิงเข้าห้องประชุม (ยกเวน้ คอื คน้ พบวธิ กี ารรบั -สง่ สญั ญาณคมนาคม วันโหวต ตลอดจนหลังประกาศผลแล้ว นกั ขา่ วหญงิ คนเดยี ว) สมาชกิ สว่ นใหญม่ า คล่ืนวทิ ยุ (ทเ่ี พงิ่ ค้นพบโดย Hertz) แบบ มารมี ขี อ้ เสยี เปรยี บหลายขอ้ เธอไมไ่ ด้ รว่ มประชมุ ทมี่ ามีด้วยกนั 58 คน ผู้ได้รับ 30 เสยี งโหวตเป็นผู้ชนะ นัักวิิทยาศาสตร์์อาวุุโส เอดััวร์์ บรอนลีี (Edouard Branly) โหวตยกแรก บรอนลไี ดร้ ับ 29 เสียง ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/ มารี 28 เสยี ง อกี หนง่ึ เสยี งไดแ้ ก่ มารแ์ ซล บรยี ูอา (Marcel Brillounin) โหวตยกทส่ี อง บรอนลไี ดร้ บั 30 เสยี ง มารี 28 เสยี ง บรอนลีชนะ มารีีตกเป็น็ ข่่าวอื้�อ้ ฉาวว่า่ มีี ความสัมั พัั นธ์์ลัับๆ กัับพอล แลงจ์์แวง ครอบครัวกูรีสนิทสนมกับครอบครัว แลงจ์แวงมานาน ต้ังแต่คร้ังปิแอร์ยังมี ชีวิตอยู่ พอลเป็นศิษย์ของปิแอร์ เป็น นักวิทยาศาสตร์ที่มีช่ือเสียงคนหนึ่ง เป็น เพื่อนอาจารย์นักวิจัยอยู่ในวงการวิจัย 15 มิถนุ ายน 2564
บทความ พเิ ศษ พอล แลงจ์์แวง (Paul Langevin) จะหย่ากนั มารีเขา้ ใจและเห็นใจพอลมาก เปน็ เซเลบ ขา่ วเกยี่ วกบั เธอยอ่ ม ‘ขาย’ ได้ ภาพจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Paul_Langevin คอยใหก้ �ำ ลงั ใจ และบางครง้ั ยงั ใหพ้ อลยมื หนังสือพิมพ์หลายฉบับจึงลงข่าว มีการ เงินด้วย ท้งั คมู่ ีความสนทิ สนม พบปะกัน ติดตามเขียนถึงเบื้องหน้าเบ้ืองหลัง เดียวกัน ทำ�งานร่วมกับปิแอร์ และมารี สองต่อสองและเขียนจดหมาย โต้ตอบ เร่ืองภรรยาของพอลให้สัมภาษณ์ลง มาตลอด พอลแตง่ งานกบั ภรรยาทม่ี ฐี านะ กนั ในระยะนั้น หนังสือพิมพ์อ้างว่าค้นพบจดหมายจาก เท่าเทียมกัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2448 มีลูก เมื่อภรรยาของพอลทำ�ให้ข่าวความ มารีถึงพอล กล่าวหาว่ามารีสนับสนุน ด้วยกันสี่คน เป็นที่รู้กันดีในระหว่างกลุ่ม ส นิ ท ส น ม นี้ แ พ ร่ ไ ป ถึ ง ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ใ น ให้พอลเลิกกับเธอ นักข่าวหนังสือพิมพ์ เ พ่ื อ น ส นิ ท ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ทั้ ง ส อ ง ว่ า ปลายปี พ.ศ. 2453 น้นั ประจวบกบั การ วิจารณ์เธอว่าไม่มีศีลธรรมจรรยา เร่ืองนี้ พอลกับภรรยามีเร่ืองระหองระแหงไม่ ท่ีเธอมีชื่อเข้าร่วมแข่งขันชิงตำ�แหน่ง ลงเป็นข่าวต่อเน่ืองกันหลายเดือน พอล ลงรอยกันมานานแล้ว สาเหตุมาจาก สมาชกิ สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ หนงั สอื พมิ พ์ ได้ออกข่าวคัดค้านว่าเป็นเรื่องภายใน ภรรยาไมพ่ อใจกับการที่พอลเลอื กท�ำ งาน ฝา่ ยอนรุ ักษ์นิยมจงึ ประโคมข่าวนี้ เนน้ ใน ครอบครวั ของเขา มารีไมม่ สี ว่ นเก่ยี วข้อง สอนกับวิจัยแทนที่จะทำ�งานกับโรงงาน แง่ว่าเธอเป็นชาวต่างชาติที่เข้ามาทำ�ลาย แต่อย่างใด อตุ สาหกรรมท่ีไดเ้ งนิ เดอื นมากกวา่ พอล สถาบนั ครอบครวั ฝรง่ั เศส บางฉบบั ถงึ กบั ญาตพิ น่ี อ้ งเพอ่ื นฝงู ลกู ศษิ ย์ตลอดจน ไมค่ อ่ ยอยบู่ า้ นมกั ไปขลกุ อยทู่ ห่ี อ้ งทดลอง เขียนว่าเธอมีเชื้อสายเป็นยิวด้วย หาก ผู้ร่วมงานซ่ึงรู้จักมารี รู้อุปนิสัย กิจวัตร ทุ่มเทเวลากับงานวิจัย ไปประชุมหรือ พอล แลงจ์แวง มีเพศสัมพันธ์กับ และความประพฤติของมารีเข้าข้างเธอ รว่ มวจิ ัยวชิ าการที่ยุโรปบอ่ ยๆ ผู้หญิงอ่ืน หรือหากมารีเป็นศิลปิน ตลอด พวกเขาเขยี นจดหมายถงึ หนงั สอื พมิ พ์ พอลเล่าถึงความขัดแย้ง ความ นักแสดง สังคมฝรั่งเศสถือเป็นเรื่อง ตอบโต้ว่าละเมิดสิทธิส่วนตัวของมารี อารมณ์ร้ายของภรรยา (บางครั้งถึงข้ัน ธรรมดา แต่เมื่อเกี่ยวกับมารีซ่ึงได้กลาย เธอต้องจ้างทนายความและเขียนชี้แจง ลงมือขว้างปาข้าวของ) ให้มารีฟัง โดยตลอด ครั้งหน่ึงถึงข้ันเกือบแตกหัก เกีียรติิบััตรรางวััลโนเบลของมารีี พอลพาลูกชายสองคนไปอยู่ท่ีอ่ืน ถึงขั้น ภาพจาก https://www.nobelprize.org/prizes/chemistry/1911/marie-curie/diploma/ 16 มิถุนายน 2564
บทความ พเิ ศษ แกข้ อ้ มลู ผดิ ๆ วา่ บางชว่ งทถ่ี กู กลา่ วหานน้ั ความสนใจจากหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส ทั้งหมดนี้มีผลกระทบต่อมารีทั้งกาย เธอมีหลักฐานว่าเธอไม่อยู่ในปารีส ไป น้อยมาก ตอนปลายเดือนพฤศจิกายน และใจ ในปลายเดอื นธนั วาคม เธอเจบ็ หนกั ประชมุ วชิ าการทต่ี า่ งประเทศ พรอ้ มใหช้ อื่ เมื่อหนังสือพิมพ์ลงพิมพ์จดหมายที่ เกอื บเอาชวี ติ ไมร่ อดดว้ ยโรคไต ถกู หามสง่ ผู้ร่วมประชุม หรืออีกช่วงหน่ึงท่ีถูกกล่าว ภรรยาของพอลอ้างว่าเป็นจดหมายจาก โรงพยาบาลอยา่ งฉกุ เฉนิ พบวา่ ไตเสยี หาย หาวา่ อยูก่ ับพอล เธอไปพกั รอ้ นกบั ลูกๆ ที่ มารถี งึ พอล กรรมการรางวลั โนเบลบางคน มาก หมอแนะนำ�ให้ผ่าตัดทันที แต่เธอ โปแลนด์ (เธอไมไ่ ด้ปฏิเสธขอ้ กลา่ วหาถึง ผเู้ คยสนบั สนนุ เธอเรม่ิ คลอนแคลน แนะน�ำ ขอเล่อื นไปเปน็ เดือน มีนาคม เพราะเธอ ความสมั พนั ธ)์ ลงทา้ ยวา่ เธอจะด�ำ เนนิ การ ใหเ้ ธอเลอื่ นการรบั รางวลั ไปจนกวา่ เรอ่ื งนี้ ต้องการไปรว่ มประชุมสมาคมนักฟสิ ิกสท์ ี่ ทางกฎหมายต่อหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ จะสิ้นสุด มารียืนกรานว่ารางวัลที่ได้เป็น เบลเยยี มตอนปลายเดือนกุมภาพันธ์ ข้อหาละเมิดสิทธิส่วนตัวทำ�ให้เธอเสีย ผลงานทางวิชาการ ไม่เก่ียวข้องกับชีวิต หลังผ่าตัดไต มารีอ่อนแอมากแทบ ชือ่ เสียง ส่วนตวั ของเธอแตอ่ ย่างใด ทรงตัวไม่ได้ ต้องพักผ่อนฟ้ืนตัวอยู่ เพ่ือป้องกันเกียรติยศของตนเอง เรื่องอ้ือฉาวนี้สงบลงได้ เมื่อพอล หลายเดอื น เธอไมอ่ ยากเปน็ ขา่ วในเรอื่ งน้ี และของมารี พอลได้ท้าดวลกับคอลัมนิ ตัดสินใจออมชอมตามข้อเรียกร้องที่ฝ่าย เธอกบั ลกู ๆ ออกไปเชา่ บา้ นอยนู่ อกเมอื ง สต์ท่ีเขียนโจมตีเขาว่าเป็นผู้ชายข้ีขลาด ภรรยาเสนอในที่สุด เพราะไม่อยากให้ ปารสี เกบ็ ตวั เงยี บๆ ภายใตช้ อื่ สมมตุ ิ เธอ ตาขาว ยอมให้ภรรยาตัวเอง แม่ของลูก เรอ่ื งยดื ยาวไปถงึ ศาล ย้ายที่พักฟื้นหลายแห่งภายในหกเดือน ถกู ขม่ ขู่จากฝ่ายสนบั สนุนมารี แต่เม่ือวนั ในเดือนธันวาคมมารีเดินทางไปรับ เธอเขยี นถงึ เพอื่ นอาจารยเ์ มอื่ กลางเดอื น ดวลปนื มาถงึ ทงั้ คเู่ รมิ่ ตงั้ หลกั เตรยี มพรอ้ ม รางวัลทสี่ ตอ็ กโฮล์ม ทั้งๆ ที่ไมค่ อ่ ยสบาย กรกฎาคมว่าสุขภาพเริ่มดีข้ึน แต่ยัง พอกรรมการนับถึงสามออกคำ�สั่งให้ยิง มีบรอเนียกับไอรีนเป็นเพ่ือนร่วมเดินทาง อ่อนเพลยี ยังไมถ่ งึ ข้นั ท�ำ งานตามปกติได้ พอลยกปืนข้ึนแต่อีกฝ่ายไม่ขยับ จึงเลิก ไปดว้ ย เธอเตรยี มเลกเชอรท์ จ่ี ะเสนอในที่ เธอได้พักผ่อนอย่างจริงจังต้ังแต่ปลาย ล้มไป สมัยน้ันการท้าดวลเป็นที่นิยม ประชมุ เปน็ ทางการและเตรยี มสนุ ทรพจน์ เดือนกรกฎาคม เม่ือไปพักร้อนอยู่กับ มากกว่าการข้ึนศาล มีนักหนังสือพิมพ์ ในงานเล้ียงรับรอง กล่าวถึงประวัติการ เพ่อื นนักวทิ ยาศาสตร์ เฮอรท์ า ไอร์ทอน บางคนทอ่ี ยขู่ า้ งมารี เขียนโตต้ อบกับฝา่ ย ค้นพบและการศึกษาสารกัมมันตรังสี (Hertha Ayrton) ที่อังกฤษ ท้ังคู่ต่าง กล่าวหาอย่างดุเดือด ถึงขั้นท้าดวลกัน และกัมมันตภาพรังสี เธอให้เครดิตแก่ นบั ถอื และเขา้ ใจกนั และกนั ดว้ ยมปี ระวตั ิ เพื่อใหส้ ิ้นสุดกนั ไป นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ทุ ก ค น ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ส่วนตัวคล้ายๆ กัน เฮอร์ทาแต่งงานกับ เรอ่ื งนที้ �ำ ใหม้ ารเี ครยี ด อปั ยศ เปน็ หว่ ง (Becquerel, Rutherford, Soddy, นักวิทยาศาสตร์ เธอถูกปฏิเสธเข้าเป็น ถึงผลกระทบต่อลูกๆ มาก สุขภาพ Ramsay, Debierne) แต่สำ�หรับงานสกดั สมาชิกในสถาบันวิทยาศาสตร์อังกฤษ ทรุดโทรม ป่วยหนัก เธอเอ่ยถึงอยาก สารประกอบเรเดียมบริสุทธิ์ งานศึกษา (Royal Society) เพราะไมใ่ ชค่ นโสด เธอ ฆ่าตวั ตายในจดหมายถึงเพอ่ื นดว้ ย แหลง่ ก�ำ เนดิ การแผร่ งั สี (วา่ มาจากภายใน มีลูกสาวสองคนเหมือนมารี เฮอร์ทา เดอื นพฤศจกิ ายน ทส่ี วเี ดน ทา่ มกลาง อะตอม) ซง่ึ น�ำ ไปสกู่ ารแปลงธาตุ (วธิ ผี ลติ เชา่ บา้ นเกา่ ๆใกลๆ้ ทะเล ใน Hampshire ข่าวอ้ือฉาวในฝรั่งเศส ทางกรรมการ ธาตใุ หม)่ นนั้ เปน็ ผลงานของเธอคนเดยี ว ติดกับ New Forest มีแค่สวนป่าค่ัน รางวัลโนเบลได้พิจารณาเห็นสมควรให้ เธอคงตอ้ งการย�ำ้ วา่ นกั วทิ ยาศาสตรห์ ญงิ ระหวา่ งบา้ นกบั ทะเล เดก็ ๆ ไดร้ บั การดแู ล มารีได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี จาก อยา่ งเธอมีความคิดรเิ รม่ิ มคี วามสามารถ โดยพ่ีเล้ียงชาวอังกฤษ ลูกๆ ของมารีได้ ผลงานค้นพบเรเดียมและโปโลเนียม* ทดั เทยี มนกั วทิ ยาศาสตรช์ าย ไมใ่ ชเ่ ปน็ ได้ ผลประโยชน์ท้ังทางสุขภาพและภาษา เรอ่ื งนเี้ ปน็ ขา่ วใหญท่ ว่ั โลก แตข่ า่ วน้ีไดร้ บั เพยี งผชู้ ว่ ยงานเท่านัน้ องั กฤษ แตต่ วั มารเี องยงั ลม้ หมอนนอนเสอ่ื 17 มถิ ุนายน 2564
บทความ พเิ ศษ หลงั จากกลบั ปารีสในฤดใู บไม้รว่ งปีน้ัน มารกี ับนักวิทยาศาสตร์รุ่นใกล้ๆ กนั มารี สายเคเบิลลฟิ ต์เกดิ ขาดขึน้ มา” ค�ำ ถามนี้ สรุปได้ว่า ตลอดปี พ.ศ. 2454-2455 กับไอน์สไตน์รู้จักสนิทสนมกันดี มีการ ตอ่ มาน�ำ ไปสกู่ ารเสนอทฤษฎสี มั พทั ธภาพ เธอใช้เวลาส่วนใหญ่ต่อสู้รักษาชื่อเสียง เขียนจดหมายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของไอน์สไตน์ และฟื้นฟูสุขภาพกายและใจมากกว่า ในด้านต่างๆ มารีเป็นผู้เขียนจดหมาย ท�ำ งานวิชาการหรือท�ำ งานในห้องแล็บ สนับสนุนให้ไอน์สไตน์ได้งานทำ�ในซูริก สถาบันั เรเดีียม มารเี ปน็ ผเู้ ตรยี มสารประกอบเรเดยี ม ไอน์สไตน์ช่ืนชมและถูกอัธยาศัยกับ คลอไรด์บริสุทธิ์ เพ่ือใช้เป็นหน่วยวัด มารีมาก ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2456 สมาคมวิทยาศาสตร์กรุงวอร์ซอ ปริมาณเรเดียมมาตรฐานนานาชาติ ใน ไ อ น์ ส ไ ต น์ กั บ ภ ร ร ย า ม า เ ย่ี ย ม ม า รี ที่ แต่งต้ังมารีให้เป็นสมาชิกกิตติมศักด์ิใน เดือนมีนาคม พ.ศ. 2456 เมื่อสุขภาพ อพาร์ตเมนต์ในปารีส ครอบครัวทั้งสอง ปี พ.ศ. 2454 สมาคมได้จัดสร้างสถาน กายของมารีเริ่มดีขึ้น เธอกับอ็องเดร ได้ไปพักร้อนด้วยกันเป็นกลุ่ม ร่วมทำ� ปฏบิ ตั กิ ารกมั มนั ตรงั สชี อ่ื สถาบนั เรเดยี ม เดอบแี ยน (Andre Debierne) นำ�หลอด กิจกรรม เดินป่า ปีนเขา แถบอัลไพน์ ข้ีนที่กรุงวอร์ซอ และเสนอให้เธอเป็น แก้วบรรจุเรเดียมคลอไรด์บริสุทธิ์ไปมอบ (Alpine) ในสวิตเซอร์แลนด์ด้วยกัน อีฟ ผอู้ �ำ นวยการ เปดิ โอกาสใหม้ ารยี า้ ยกลบั ไป ใหแ้ ก่ Bureau of Weights and Measures เล่าถึงความทรงจำ�น้ีว่า ไอน์สไตน์ค่อน อยโู่ ปแลนด์ แตเ่ ธอตดั สนิ ใจไมไ่ ป เพราะ ที่เซฟเรส เพื่อเก็บรักษาและใช้เป็น ข้างใจลอย หมกมุ่นถงึ ปัญหาฟสิ ิกสท์ เ่ี ขา ต้องดูแลการก่อสร้างสถาบันเรเดียมท่ี มาตรฐานการวดั เรเดียมนานาชาติ มาจน ก�ำ ลงั คดิ ค้างอยู่ คร้งั หนึง่ ระหวา่ งปืนปา่ ย ปารีส (และต้องการอยู่ปกป้องช่ือเสียง) กระทง่ั ปัจจุบนั นี้ เขาถามโพล่งข้ึนมาว่า “ผมสงสัยว่าจะ เธอรับเป็นผู้อำ�นวยการสถาบันเรเดียม สำ�หรับความก้าวหน้าทางทฤษฎี เกิดอะไรข้ึนกับคนท่ีอยู่ในลิฟต์ ถ้าอยู่ๆ แห่งกรุงวอร์ซอ แต่แต่งตั้งให้ผู้ช่วย โครงสร้างอะตอม ในปี พ.ศ. 2456 ชาวโปลสองคนเป็นผู้บริหารแทนเธอ นักวทิ ยาศาสตร์ชาวเดนมารก์ นลี ส์ โบร์ (Neils Bohr) ทำ�งานอยู่ท่ีอังกฤษ เขียน สถาบัันเรเดีียมที่ �กรุุงวอร์์ซอ ประเทศโปแลนด์์ บทความทางวชิ าการภายใตห้ วั ขอ้ On the ภาพจาก https://artsandculture.google.com/ Constitution of Atoms and Molecules สนับสนุนโมเดลโครงสร้างอะตอมของ รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์อธิบายว่าแรงดึงดูด ระหวา่ งโปรตอนกบั อเิ ลก็ ตรอนในอะตอม คอื แรงสศู่ นู ยก์ ลางนั่นเอง นีลส์ โบร์ ใช้ โมเดลน้ีประกอบกับทฤษฎี quantum radiation ของพลังค์ (Max Planck) อธิบายเส้นสเปกตรัมต่างๆ ของอะตอม ไฮโดรเจนได้คอ่ นขา้ งถกู ตอ้ ง การค้นพบน้ีเป็นพื้นฐานนำ�ไปสู่วิชา ฟสิ ิกสค์ วอนตมั (quantum physics) พูดถึงความความสัมพันธ์ระหว่าง 18 มถิ ุนายน 2564
บทความ พเิ ศษ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2456 มารี เพอื่ นสนทิ ครู อาจารยท์ ร่ี จู้ กั เธอมาตงั้ แต่ University of Birmingham เธอประทบั ใจ เดนิ ทางไปเปดิ สถาบนั เรเดยี มทก่ี รงุ วอรซ์ อ เด็ก เธอได้รำ�ลึกความหลังครั้งเยาว์วัย ในสสี นั และแบบของเสอ้ื ครยุ ปรญิ ญาเอก ไดก้ ลบั มาเยย่ี มสถานทต่ี า่ งๆ ในอดตี เชน่ รสู้ กึ ภมู ใิ จที่ไดน้ �ำ ความกา้ วหนา้ สโู่ ปแลนด์ ของมหาวิทยาลัยและพิธีการรับปริญญา Museum of Industry and Agriculture แต่หดหู่ใจท่ีโปแลนด์ยังไม่เป็นอิสระจาก ขององั กฤษมาก สถานที่เธอใช้ทำ�แล็บเคมีเป็นครั้งแรก การปกครองของรัสเซยี สถาบันทดลองกูรีต่อมาได้ชื่อว่า ไปเยีย่ มสสุ านของตระกูล ไดเ้ หน็ แม่น้ำ� มารีได้เดินทางไปอังกฤษเพ่ือรับ สถาบนั เรเดยี ม (Institute of Radium) เรม่ิ วสิ ทลู าอกี ครง้ั ไดอ้ ยทู่ า่ มกลางญาตพิ นี่ อ้ ง ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ จาก กอ่ สร้างตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2452 โดยเงินทนุ มารีีเข้้าร่่วมพิิธีีรัับปริิญญาดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์์�ที่ � University of Birmingham ภาพจาก https://metode.org/issues/seccions-revistes/ histories-de-cientifics-seccions-seccions/marie-curie-the-first-woman.html 19 มิถนุ ายน 2564
บทความ พเิ ศษ ของซอร์บอนน์ร่วมกับสถาบันปาสเตอร์ ไอรีีน มารีี และอีีฟ เขียนจดหมายถึงกันและกัน (และต่อมา (Pasteur Institute) ในบริเวณท่ีดินท่ีรัฐ ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/ ไดเ้ ปน็ เพอ่ื นรว่ มงานกนั ทสี่ ถาบนั เรเดยี ม) จดั ใหบ้ นถนนใหช้ อ่ื วา่ rue Pierre Curie นน้ั wiki/File:Eve,_Marie,_Irene_Curie_1908.jpg บางช่วงท่ีพักร้อนอยู่ต่างประเทศ ไอรีน ตามแผนจะแล้วเสร็จในฤดูใบไม้ร่วง วางแผนข่ีจักรยานทางไกลโดยใช้แผนท่ี พ.ศ. 2456 สถาบันน้ีแบ่งออกเป็นสอง เรมิ่ เปน็ ผู้ใหญ่ เรยี นรู้ จดั การ แก้ไขปญั หา ชว่ ยโดยไม่หลงทาง นอกจากน้นั บางครั้ง หน่วยงานอสิ ระ คอื หน่วยปฏิบัตกิ ารทาง ด้วยตัวเอง ตัวอย่างเช่นในฤดูใบไม้ผลิ เธอตอ้ งท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ เจา้ บา้ นตอ้ นรบั แขก กัมมันตภาพรังสี มีมารีเป็นผู้อำ�นวยการ พ.ศ. 2455 ช่วงที่มารีหลบหน้าหลบตา หรือเพื่อนบ้านท่ีมาเยี่ยมช่วงท่ีมารีไป อีกส่วนหน่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยทาง จากสงั คมปารสี นนั้ ไอรนี นงั่ รถไฟไปเยยี่ ม ประชุมตา่ งประเทศ ชีวภาพ และการบ�ำ บดั รกั ษาโดยการฉาย ลุงฌักและครอบครัวที่ Montpellier ด้วย ไอรีนสอบผ่านระดับเตรียมอุดมใน รังสี หน่วยน้ีทำ�วิจัยด้านมะเร็งและรักษา ตัวเอง เธอน่ังเลยไปหน่ึงสถานี แต่แก้ ฤดรู อ้ น ปี พ.ศ. 2457 ขณะอายุ 17 ปี มแี ผน คนไข้โรคมะเร็ง มีศาสตราจารย์โกลด ปัญหาได้โดยโทรเลขไปบอกฌักแล้วรอ จะเข้าเรียนที่ซอร์บอนน์ เธอช่วยดูแล รีกดู ์ (Claude Regaud) เป็นผบู้ รหิ าร น่งั รถไฟเท่ียวกลบั บา้ นชอ่ งและจดั การเรอ่ื งการเรยี นของอฟี มารีทุ่มเทเวลาให้กับสถาบันน้ีมา ตลอดสองอาทิตย์ที่อยู่ Montpellier มารียอมรับความเป็นผู้ ใหญ่เกินตัวของ ต้ังแตเ่ ริม่ แรก เธอมสี ่วนในการออกแบบ ไอรนี ไดค้ นุ้ เคยกบั สมาชกิ และบรรยากาศ ไอรีน ถือเสมือนว่าไอรีนเป็นเพื่อนและ ก่อสร้างอาคาร ตกแตง่ สวน และบริเวณ สิ่งแวดล้อมกับครอบครัวฝ่ายพ่อ ท่ี ผ้รู ว่ มงานคนหนึง่ รอบๆ เธอเลือกซ้ือต้นไม้และดูแลการ แตกต่างจากปารีส ได้ข่ีจักรยานเท่ียวกับ ท้งั คูไ่ ดร้ ว่ มงานกันเร็วกว่าท่ีคาด เมอื่ ปลูกด้วยตัวเอง โดยตั้งใจให้ต้นไม้เริ่ม โมริส กูรี (Maurice Curie) ลกู พล่ี กู น้อง สงครามโลกครั้งที่หน่ึงอุบัติข้ึนในปลาย ออกดอกเมอ่ื สถาบนั เปดิ ท�ำ งาน สถาบนั น้ี ซ่งึ อายแุ กก่ วา่ 8 ปี ได้ไปส�ำ รวจเมืองทีอ่ ยู่ ฤดรู ้อนปี พ.ศ. 2457 สรา้ งเสรจ็ เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2457 ไกลออกไปถึงสองวันติดต่อกัน ท้ังสอง * ชือ่ ธาตุ Polonium ในภาษาไทยอา้ งอิง ตามราชบัณฑิตยสภาคือ “พอโลเนียม” ไอรีนี กููรีี แต่ในบทความน้ี ผู้เขียนขอทับศัพท์ เป็นภาษาไทยว่า “โปโลเนียม” เพ่ือ ปีที่ปิแอร์ถึงแก่กรรม ไอรีนมีอายุ ให้สอดคล้องกับการเรียกชื่อประเทศ ประมาณ 9 ขวบ อีฟยังเปน็ เด็กนอ้ ยอายุ โปแลนด์ ซึ่งเปน็ ท่ีมาของการตัง้ ชือ่ ธาตนุ ้ี ประมาณ 2 ขวบ ทัง้ คเู่ ติบโตมาในความ ...อา่ นตอ่ ฉบับหนา้ ... ดูแลของมารี มารีใช้หลักการสังเกตและ บันทึกแบบวิทยาศาสตร์ในการเล้ียงลูก เธอจดบันทึกรายละเอียดการเติบโต น้ำ�หนัก ความสูง วัดเส้นรอบวงศีรษะ ความก้าวหน้าทางกายภาพ สมรรถภาพ ของลูกๆ ทุกระยะ เมื่อมารีตกเป็นข่าว ออ้ื ฉาวนน้ั ไอรนี อายุ 14-15 ปี เรม่ิ เกบ็ ตวั ท�ำ ตวั หา่ งจากแมแ่ ละนอ้ ง เรม่ิ สนใจเรยี นรู้ เรอ่ื งราว ประวตั ทิ างตระกลู ของพอ่ มากขน้ึ 20 มถิ ุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย ไทยผลิตยาเลิกบหุ ร่ี “ไซทิซีน” สำ�เรจ็ เตรียมดันเขา้ บัญชยี า มงุ่ คนไทยเลกิ บุหรไี่ ดอ้ ย่างถาวร ในวันงดสบู บหุ ร่ีโลกวันที่ 31 พฤษภาคม ควบคมุ ยาสูบ (ศจย.) สสส. และองคก์ าร สนับสนุนให้รัฐบาลทุกประเทศจัดหาไว้เพ่ือ ทผี่ า่ นมา รศ .นพ.สทุ ศั น์ รงุ่ เรอื งหริ ญั ญา เภสชั กรรม (อภ.) ด�ำ เนนิ การศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื ช่วยให้ประชาชนของตนเข้าถึงยาเลิกบุหร่ี อายุรแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านโรคระบบ พัฒนายาเลิกบุหรี่ชนิดใหม่ในประเทศไทย ท่ีราคาถูกได้ง่าย ซึ่งขณะนี้การวิจัยของไทย ก า ร ห า ย ใ จ ภ า ค วิ ช า อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ “ไซทิซีน (Cytisine)” ซึ่งยาตัวน้ีเป็น อยู่ในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่ม ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย สารสกดั ธรรมชาตจิ าก “เมลด็ จามจรุ สี ที อง” ตวั อยา่ ง ทเ่ี ขา้ รบั บรกิ ารเลกิ บหุ รดี่ ว้ ยยาชนดิ น้ี ศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) ในฐานะ มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการถอนนิโคติน 500 คน เทยี บกบั อีกกลุ่มท่ีใช้ยาชนดิ อนื่ อีก ร อ ง ป ร ะ ธ า น เ ค รื อ ข่ า ย วิ ช า ชี พ แ พ ท ย์ ทำ�ให้ผ่อนคลายไม่หงุดหงิดในขณะท่ี 500 คน โดยจะวิเคราะห์ข้อมูลแล้วเสร็จ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ สนับสนุน เขา้ สูก่ ระบวนการเลกิ บหุ ร่ี ภายในเดอื นมิถุนายนนี้ เมื่อไดผ้ ลการวิจัยท่ี โดยสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง “ไซทิซีน (Cytisine)” มีการใช้มานาน เสร็จสมบรู ณแ์ ลว้ อภ. จะท�ำ การขึ้นทะเบยี น เสริมสขุ ภาพ (สสส.) ไดเ้ ปิดเผยวา่ ขณะนี้ กวา่ 60 ปใี นยุโรปตะวนั ออก ถือเป็นยาเลิก ยากบั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา คณะแพทยศาสตร์ มศว. ได้ร่วมกับ บหุ รท่ี ีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภัย เปน็ ยาที่ (อย.) จากนน้ั จงึ จะผลกั ดนั ยานี้ให้เขา้ สูบ่ ญั ชี ศู น ย์ วิ จั ย แ ล ะ จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ เ พื่ อ ก า ร องค์การอนามัยโลกให้การรับรองและ ยาหลักแหง่ ชาตติ ่อไป 21 มถิ นุ ายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย เมล็ดจามจุรีสีทอง “Commit to Quit” คอื ค�ำ ขวญั ขององคก์ าร ท า ง ด้ า น ข้ อ ดี ข อ ง ไ ซ ทิ ซี น น อ ก จ า ก 30-40 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่รายท่ีไม่ใช้ยา อนามัยโลกทีก่ ำ�หนดขน้ึ ในปี เร่ืองประสิทธิภาพและความปลอดภัยแล้ว สามารถเลิกได้สำ�เร็จเพียง 10 เปอร์เซ็นต์ พ.ศ. 2564 ซงึ่ เป็นค�ำ ขวัญ ยาชนิดนี้ยังมีต้นทุนการผลิตท่ีไม่แพงเม่ือ และในกลุ่มท่ีเลิกด้วยตนเอง โดยไม่ได้ ทก่ี ระตุ้นเตือนใหร้ ัฐบาลของ เปรียบเทียบกับยาเลิกบุหร่ีชนิดอ่ืนๆ ท่ีมี เข้ารับบริการเลิกบุหรี่ไม่ว่ารูปแบบใดๆ จะมี ประเทศตา่ งๆ สง่ เสริมและ จำ�หน่ายในประเทศ จึงมั่นใจว่า อภ. จะ โอกาสเลิกสำ�เร็จเพยี ง 5 เปอร์เซ็นต์ เท่าน้ัน สรา้ งความเข้มแข็งใหแ้ ก่ สามารถก�ำ หนดราคาขายใหม้ รี าคาถกู เพอื่ ให้ ระบบบริการเลิกบหุ ร่ีภายใน คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงยาช่วยเลิกบุหรี่ ท้ังนี้ประเทศไทยต้ังเป้าหมายการลด ประเทศ พรอ้ มเปดิ โอกาส ที่ดีและราคาถูกได้อย่างท่ัวถึง ซึ่งจะนับเป็น อตั ราการสบู บหุ รใี่ นประเทศลงตามทอี่ งคก์ าร ใหป้ ระชาชนเข้าถงึ ยาชว่ ย กา้ วส�ำ คญั ทภี่ าครฐั จะสามารถชว่ ยใหค้ นไทย อนามัยโลกกำ�หนดไว้ คือ ลดอัตราการ เลิกบุหรีท่ รี่ าคาถกู ไดก้ วา้ ง มีสุขภาพที่ดีขึ้นและหลีกหนีจากผลิตภัณฑ์ สบู บหุ รใี่ หเ้ หลอื 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของประชากร ขวางยิ่งขึน้ ซ่ึง สสส. และ ยาสูบได้อย่างถาวร ทว่ั โลก หรอื มจี �ำ นวนผสู้ บู บหุ รี่ในประเทศไทย ภาคเี อง กไ็ ดด้ ำ�เนนิ การท่ี จ า ก สถิ ติ ข อง เ ครื อ ข่ าย ค ลิ นิ ก ใ ห้ ไม่เกนิ 9 ลา้ นคน ภายในปี พ.ศ. 2568 สอดคลอ้ งกับนโยบายน้ีมา คำ�ปรึกษาเลิกบุหร่ีเฉลี่ยใน 1 ปี มีผู้เข้า โดยตลอด อาทิ คลนิ กิ ฟา้ ใส รั บ บ ริ ก า ร ส า ม า ร ถ เ ลิ ก สู บ บุ ห รี่ ไ ด้ สำ � เ ร็ จ รา้ นยาอาสาพาเลิกบุหร่ี ระบบบรกิ ารพยาบาลเพื่อ เลิกบุหรแ่ี บบ One Stop Service สายเลิกบหุ รี่ 1600 การเสริมพลังชมุ ชน ในการช่วยเลิกบหุ รี่โดย อาสาสมคั ร การนวดกดจุด สะท้อนเทา้ ช่วยเลกิ บหุ รี่ รายละเอียดเพ่ิมเตมิ >> สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) (https://bit.ly/2S6vDNk) 22 มิถุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย เครื่องเร่งกระบวนการแช-่ เพาะงอกข้าวเปลอื ก “ท�ำ ขา้ วฮางงอกใน 24 ช่ัวโมง” “ข้าวฮางงอก” หรือ “ข้าวกล้องงอก” ข้าวฮางงอก หรือ “ข้าวกล้องงอก” มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพ่ือผลิต ข้าวฮางงอก 500 กิโลกรัม ใช้ไฟฟ้าเพียง เป็นภูมิปัญญาของชาวอีสานท่ีนำ� นวัตกรรมเครื่องเร่งกระบวนการแช่และ 40 บาท และนำ้�เพียง 1,000 ลิตร เท่านน้ั ข้าวเปลือกอายุก่อนการเก็บเกี่ยวมาแช่น้ำ� เพาะงอกขา้ วเปลอื ก สำ�หรับผลิตขา้ วกลอ้ ง (ประหยดั มากขนึ้ 5 เทา่ ) สามารถลดการใช้ ท�ำ การเพาะงอก นึ่ง และอบใหแ้ หง้ เพื่อ ฮางงอกคณุ ภาพดี ชว่ ยอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน เพมิ่ แรงงานลงได้ 2.5-3 เท่าอีกด้วย นำ�มาปริโภคเป็นยา ซ่ึงเดิมทีวิธีการผลิต คณุ ภาพและปริมาณการผลติ ของชาวบ้านต้องใช้ทรัพยากรจำ�นวนมาก การทำ�งานของเครื่องเร่งกระบวนการ และใชเ้ วลาในการผลติ ประมาณ 7 วัน รศ.ดร.สพุ รรณยง่ั ยนื จากสาขาวศิ วกรรม แช่และเพาะงอกข้าวเปลือก ใช้วิธีการแช่ เครอื่ งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั และเพาะงอกข้าวเปลือกในถังเดียวกันด้วย ส�ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ภายใต้ มหาสารคาม (มมส.) เผยวา่ คณะวจิ ยั ไดศ้ กึ ษา ระบบน�้ำ หมนุ เวยี น ฉีดสเปรย์น้ำ�ให้ไหลผา่ น กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และคดิ คน้ นวตั กรรมเพอื่ เรง่ กระบวนการแช่ ลงบนเมล็ดขา้ ว ประมาณ 20-30 นาที และ และนวัตกรรม (อว.) จึงได้สนับสนุนทุน และเพาะงอกข้าวเปลือกให้สำ�เร็จภายใน หยดุ พกั ประมาณ 60-90 นาที สว่ นกน้ ถงั มกี าร วิจัยแก่นักวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 24 ชว่ั โมง จากเดมิ ใช้เวลา 3 วนั ในการผลติ ออกแบบให้ปริมาณการไหลเวียนและระยะ 23 มถิ นุ ายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย เครื่องเร่งกระบวนการแช่และเพาะงอกข้าวเปลือก เครื่องเร่งกระบวนการแช่ และเพาะงอกข้าวเปลือก ตกลงถังพักที่เหมาะสมจึงทำ�ให้เกิดปริมาณ ‘ที่สำ�คัญข้างฮางงอกท่ีใช้วิธีการน้ีปรากฏ แปรรปู ผลติ ภณั ฑม์ ากยงิ่ ขนึ้ ปจั จบุ นั ไดม้ กี าร ก๊าซออกซิเจนเพิ่มขึ้น โดยการหยุดพัก สารกาบามากถงึ 2977 มิลลิกรมั ต่อ 100 ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ภาคอุตสาหกรรมและ และการฉีดสเปรย์นำ้�หมุนเวียนมีเพ่ือให้ กรัม เพ่ิมขึ้นจากวธิ กี ารด้ังเดิม 300 เท่า’ กลุ่มสนับสนุนของจังหวัดต่างๆ ในหลาย อุณหภมู ภิ ายในถังเหมาะสมต่อการงอก จังหวัดทางภาคเหนือและภาคตะวันออก รศ. ดร.สุพรรณเสริมว่าการพัฒนา เฉยี งเหนือ การงอกในระยะเวลาทรี่ วดเรว็ นอกจาก นวัตกรรมน้ี เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริม จะชว่ ยยน่ ระยะเวลาการผลติ แลว้ ยงั ชว่ ยให้ อ า ชี พ แ ล ะ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถ่ิ น ใ ห้ ค ง อ ยู่ ได้ผลผลิตท่ีมีคุณภาพดียิ่งข้ึน มีกลิ่นหอม ต่อไป โดยนำ�หลักการทางวิทยาศาสตร์ เนอื้ สมั ผสั ดี ตอบโจทยก์ ารผลติ ในจ�ำ นวนมาก และนวัตกรรมมาใช้สร้างแรงจูงใจให้แก่ ลดตน้ ทนุ ดา้ นการผลติ และอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม เกษตรกรยุคเก่าและยุคใหม่ในการตัดสินใจ รายละเอียดเพิม่ เติม >> กรงุ เทพธุรกจิ (https://bit.ly/3iaWGly) 24 มิถุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย จะเกดิ อะไรข้ึนหาก “ช้ินส่วนจรวดที่ประเทศอน่ื ปลอ่ ยตกลงสูป่ ระเทศไทย” จากกรณชี น้ิ สว่ นจรวด Long March 5B สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงในกรณีเกิด ของสาธารณรฐั ประชาชนจนี ตกสู่โลก ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ เหตุการณ์แบบน้ี คือ สนธิสัญญาระหว่าง โดยไม่มีการควบคุม เม่ือวันอาทิตย์ท่ี 9 GISTDA เผยว่า จากการได้ปรึกษากับ ประเทศด้านอวกาศ (Space Treaties) ของ พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ภายหลังปฏิบัติ ผศ. ดร.ชูเกียรติ น้อยฉิม หัวหน้าสาขา สหประชาชาติ จำ�นวน 3 ฉบับ โดยฉบบั ท่ี 1 ภารกิจส่งโมดูลอวกาศเทียนเหอไปยัง กฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัย คอื สนธสิ ญั ญาวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารด�ำ เนนิ สถานีอวกาศเทียนกง ทำ�ใหห้ ลายประเทศ แม่ฟ้าหลวง ผู้แทนไทยในคณะผู้เช่ียวชาญ กจิ การของรฐั ในการส�ำ รวจและการใชอ้ วกาศ หันมาให้ความสนใจในประเด็นนี้มากขึ้น ทางวิทยาศาสตร์และเทคนิค (Specialized ภายนอก รวมทงั้ ดวงจนั ทร์ และเคหะในทอ้ ง ว่าจะมีการรับผิดชอบต่อเรื่องน้ีอย่างไร Panel of Scientific and Technical Ex- ฟา้ อน่ื ๆ พ.ศ. 2510 (Outer Space Treaty) แม้เหตุการณ์นี้จะไม่ได้สร้างความเสียหาย perts) ภายใตก้ ฎวา่ ดว้ ยการอนญุ าโตตลุ าการ ฉบบั ที่ 2 ความตกลงว่าดว้ ยการช่วยชีวิตนกั ใหแ้ ก่ผู้ใดก็ตาม ข้อพิพาทเกี่ยวกับกิจกรรมทางอวกาศของ อวกาศ การสง่ คนื นกั อวกาศ และการคนื วตั ถุ ศาลประจำ�อนุญาโตตลุ าการ ทำ�ให้ทราบวา่ ท่ีส่งออกไปในอวกาศภายนอก พ.ศ. 2511 ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อำ�นวยการ 25 มิถนุ ายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย (Rescue Agreement) และฉบับท่ี 3 คือ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากปัจจุบัน ระหว่างประเทศ สำ�หรับความเสียหาย อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความรบั ผดิ ระหวา่ งประเทศ ประเทศไทยยังไม่ได้เป็นภาคีในอนุสัญญา ทีเ่ กดิ จากวัตถุอวกาศ พ.ศ. 2515 (Liability สำ�หรับความเสียหายท่ีเกิดจากวัตถุอวกาศ วา่ ดว้ ยจากวตั ถุอวกาศ พ.ศ. 2515 (Liability Convention) พ.ศ. 2515 (Liability Convention) Convention) จึงส่งผลให้ในแง่กฎหมาย ประเทศไทยไม่สามารถปรับใช้สนธิสัญญา เม่ือประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีแล้ว โดยหน่วยงานท่ีดูแลการดำ�เนินกิจการ น้ีกับประเทศผู้เป็นเจ้าของวัตถุอวกาศเพ่ือ ประเทศไทยจะได้รับการคุ้มครองเมื่อมี อวกาศของประชาคมโลก คือ สำ�นักงาน เรียกค่าเสียหายได้ หากช้นิ สว่ นวัตถอุ วกาศ ชิ้นส่วนวัตถุอวกาศของประเทศอื่นตกลง กิจการอวกาศส่วนนอกแห่งสหประชาชาติ เหลา่ นนั้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกช่ วี ติ และ สู่พื้นโลก ท่ีอาจก่อให้เกิดความเสียหาย (United Nations Office for Outer Space ทรัพยส์ ิน แก่ร่างกาย หรือทรัพย์สินของประชาชน Affairs: UNOOSA) ซึง่ ปัจจบุ ันประเทศไทย ท่ีอาศัยอยู่ในอาณาเขต และจะมีกลไกใน เป็นภาคีใน 2 ฉบับข้างต้น ดังนั้นเม่ือ ดังนั้นเพื่อเตรียมการรองรับในอนาคต การดำ�เนินการที่เป็นรูปธรรมมากย่ิงข้ึน มีช้ินส่วนจากอวกาศตกในประเทศไทย คณะกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ ในการเรียกค่าเสียหายจากประเทศผู้เป็น ประเทศไทยต้องส่งคืนชิ้นส่วนจากอวกาศ จึงได้มอบหมาย GISTDA จัดทำ� (ร่าง) เจ้าของวัตถุอวกาศ นอกจากนั้นยังเป็นการ น้ันให้แก่ประเทศผู้เป็นเจ้าของวัตถุอวกาศ พระราชบญั ญตั กิ จิ การอวกาศขนึ้ โดยขณะน้ี ยกระดับความน่าเชื่อถือของประเทศในด้าน โดยทันทีหากได้รับการร้องขอ สำ�หรับกรณี อยู่ระหว่างการพิจารณาให้ความเห็นจาก การด�ำ เนนิ กจิ กรรมอวกาศ โดยเฉพาะอย่าง บุคคลท่ัวไปพบวัตถุอวกาศตกในอาณาเขต หนว่ ยงานตา่ งๆ กอ่ นเสนอคณะรฐั มนตรี ซงึ่ ย่ิงในกรณีท่ีประเทศไทยมีเป้าหมายท่ีจะ ประเทศไทย จะต้องแจ้งต่อพนักงานหรือ พระราชบัญญัติดังกล่าวจะมีวัตถุประสงค์ “สง่ เสรมิ การสรา้ งทา่ อวกาศยาน” และเปน็ เจ้าหน้าท่ีของรัฐในท้องที่ให้ทราบโดยเร็ว เพ่ือใหป้ ระเทศไทยมกี ฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การ “รฐั ผูส้ ่ง หรอื Launching State” เพ่ือแจ้งไปยังหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ดำ�เนินกิจกรรมอวกาศ และมีหน่วยงาน รายละเอียดเพมิ่ เติม >> และกระทรวงการต่างประเทศเพ่ือประสาน กลางบูรณาการกิจการอวกาศของประเทศ 1) กรุงเทพธรุ กิจ (https://bit.ly/3ccamIX) ต่อไปยังประเทศผู้เป็นเจ้าของวัตถุอวกาศ เพื่อเตรียมความพร้อมประเทศไทยในการ 2) Thai PBS (https://bit.ly/3wUCrwh) และองค์การระหวา่ งประเทศ เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความรับผิด 26 มถิ ุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย “จังฮู้ ดอตคอม” แพลตฟอร์มออนไลน์ จำ�หน่ายสินคา้ ชมุ ชนภาคใต้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย (มทร.ศรีวิชัย) เปิดตัว 'จังฮู้ ดอตคอม หรือ JUNGHUU.COM' (https://junghuu.com/) แพลตฟอร์ม ออนไลน์ ขายสินค้าชุมชนภาคใต้ของไทย เนน้ สร้างเศรษฐกจิ ฐานราก สร้างโอกาสให้ ผู้ประกอบการท้องถิ่น เพื่อก้าวผ่านวิกฤต โควดิ 19 ทย่ี งั คงเปน็ ปญั หาใหญ่ในปจั จบุ นั ไปดว้ ยกนั โดยแพลตฟอร์มน้ีเป็นการดำ�เนินงาน จากแผนงานวิจัยเรื่อง “การยกระดับขีด ความสามารถในการแข่งขันและสร้าง เศรษฐกจิ ฐานรากของชมุ ชนดว้ ยเทคโนโลยี และนวัตกรรมในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ฝ่ังอ่าวไทย” ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนวิจัย 27 มิถุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย จากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการ ในระยะต่อไปทาง มทร.ศรีวิชัย จะขยาย ใน 23 จังหวัดทั่วประเทศ เพื่อเจาะตลาด พัฒนาระดับพ้ืนท่ี (บพท.) กระทรวงการ แพลตฟอร์มไปยังเครือข่ายมหาวิทยาลัย กลุ่มลูกค้าท่ีต้องการเลือกซ้ือสินค้าคุณภาพ อุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม เทคโนโลยีราชมงคล ท่ีมีวิทยาเขตกระจาย ผ่านแพลตฟอรม์ ทีน่ า่ เช่อื ถอื (อว.) รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ >> 1) กรงุ เทพธรุ กจิ (https://bit.ly/3fUgUhX) ศ. ดร.สุวัจน์ ธัญรส อธิการบดี มทร. 2) UNGHUU (https://junghuu.com/) ศรวี ิชัย อธิบายวา่ 'จงั ฮู'้ เป็นภาษาทอ้ งถ่ิน ท่ีหมายถึงจำ�นวนมาก เย่ียมท่ีสุด หรือ ดมี าก แพลตฟอรม์ จงั ฮู้ในทนี่ จ้ี งึ หมายถงึ การ รวมสินค้าท่ีหลากหลาย คุณภาพดี รสชาติ เย่ียม จากพื้นที่ภาคใต้ของไทยโดยเฉพาะ ฝั่งอ่าวไทย เพราะผลิตภัณฑ์และสินค้า ชุมชนของภาคใต้มีจุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ แต่ยังขาดโอกาสในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าท่ีมี ความต้องการและมกี ำ�ลงั ซื้อ ภายในแพลตฟอร์มลูกค้าจะได้พบ กับสินค้าที่หลากหลาย ท้ังของกิน ของใช้ เวชภณั ฑ์ และผลไมต้ ามฤดกู าล ทผ่ี า่ นการคดั สรรมาจากชมุ ชน เชน่ สองเกลอ ทเุ รยี นกวน และมังคุดกวน จากแหล่งโอโซนช้ันดี หมู่บ้านคีรีวง ไข่ครอบของดีหายากของ จังหวัดสงขลา ทุกการจับจ่ายของลูกค้า ห ม า ย ถึ ง ก า ร ส นั บ ส นุ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ เ จ้ า ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น ชุ ม ช น เป็นการกระจายรายได้ ให้กับเศรษฐกิจ ฐานรากอยา่ งแทจ้ ริง แม้แพลตฟอร์ม 'จังฮู้ ดอตคอม (JUNGHUU.COM)' จะเพง่ิ เปดิ ตวั แตต่ อนนี้ กม็ สี นิ คา้ จากชมุ ชนมากกวา่ 300 รายการ จาก 30 อ�ำ เภอ 5 จงั หวดั (สงขลา ตรงั นครศรฯี พัทลุง และสตูล) ให้ลูกค้าได้เลือกซ้ือแล้ว ซึ่งคาดว่าแพลตฟอร์มน้ีจะสามารถสร้าง ยอดขายให้กลุ่มวิสาหกิจ ผู้ประกอบการ SME และผู้ประกอบการทั่วไป เพ่ิมข้ึนกว่า 10 เปอรเ์ ซ็นต์ นอกจากการสรา้ งรายได้เพิ่มแลว้ 'จังฮู้ ดอตคอม (JUNGHUU.COM)' ยังเป็น พ้ืนที่ให้ผู้ประกอบการหน้าใหม่ได้เรียนรู้การ ทำ�ธุรกิจออนไลน์ (e-commerce) อีกด้วย 28 มิถนุ ายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย ไทยคน้ พบพืชวงศข์ งิ 8 ชนิดใหม่ และรายงานในไทยครงั้ แรกอีก 1 ชนิด บ่งช้คี วามหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศ ศ. ดร.สุรพล แสนสุข นักวิจัยสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ข่า ว ดี ต้ อ น รั บ วั น ส า ก ล แ ห่ ง ค ว า ม จัดเก็บข้อมูลพืชวงศ์ขิงในประเทศไทย (Curcuma) 6 ชนิด และสกุลเปราะ หลากหลายทางชีวภาพ วันท่ี 22 เพ่ือนำ�ตัวอย่างพืชมาศึกษาโครโมโซม (Kaempferia) 2 ชนดิ โดยผ้วู ิจัยได้ตัง้ ช่อื พฤษภาคม ท่ีผ่านมา รศ. ดร.สุรพล และตรวจสอบลักษณะพืชเพื่อจำ�แนก วิทยาศาสตร์พืชตามกฎเกณฑ์การต้ังช่ือ แสนสุข นักวิจัยสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช เมื่อปี พ.ศ. 2563 โดยได้รับทุนวิจัยจาก และได้ตีพิมพ์ในวารสาร Biodiversitas และ ผศ. ดร.ปิยะพร แสนสุข นักวิจัย สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เรยี บร้อยแล้ว ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เผยข่าวดี การอดุ มศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม รศ. ดร.สุรพลอธิบายว่า การค้นพบ จากการดำ�เนินโครงการ ‘องค์ความรู้ (อว.) ว่าได้ค้นพบพืชวงศ์ขิง 8 ชนิดใหม่ พืชตระกูลขิงชนิดใหม่ของโลกทั้ง 8 ชนิด พื้ น ฐ า น โ ค ร โ ม โ ซ ม ข อ ง พื ช ว ง ศ์ ขิ ง ใ น และพืชที่มีการรายงานในไทยครั้งแรกอีก ประกอบด้วย ประเทศไทย’ ที่ ได้ทำ�การสำ�รวจและ 1 ชนดิ แบง่ เปน็ สกลุ ขมน้ิ หรอื สกลุ กระเจยี ว 29 มถิ นุ ายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย โปรแกรมการบริหารจัดการความหลาก พบที่จังหวัดลพบุรี ช่ือวิทยาศาสตร์ของพืช หลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์ ชนดิ น้ีไดต้ งั้ เปน็ เกยี รตแิ ก่ ดร.จรญั มากนอ้ ย สวทช. บุคคลผู้อยู่เบ้ืองหลังสนับสนุนงาน ผู้เช่ียวชาญพืชวงศ์ขิงโดยเฉพาะสกุล วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพของ Curcuma ในประเทศไทย ประเทศไทยมาอยา่ งยาวนาน ขมิ้นน้อย หรือ Khamin-Noi ขมิ้นพวงเพ็ญ หรือ Khamin-Puangpen พญาว่าน หรือ Phraya Wan ชนิดท่ี 1 “ขม้ินน้อย หรือ Khamin- ชนิดที่ 3 “ขม้ินพวงเพ็ญ หรือ ชนิดที่ 5 “พญาว่าน หรือ Phraya Noi” มีช่ือวิทยาศาสตร์ คือ Curcuma Khamin-Puangpen” มีชื่อวิทยาศาสตร์ Wan” มีช่ือวิทยาศาสตร์ คือ Curcuma chantaranothaii Boonma & Saensouk คือ Curcuma puangpeniae Boonma & phrayawan Boonma & Saensouk พบ เป็นพืชป่าจากจังหวัดนครนายก นิยม Saensouk พืชชนิดน้ีอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ที่จังหวัดนครนายก มีการปลูกเพ่ือเป็น น�ำ มาปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั ชอ่ื วทิ ยาศาสตรข์ อง กับพวกขม้ินหรือกระเจียว พบท่ีจังหวัด พืชสมุนไพรท่ัวไทย ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ พชื ชนดิ น้ีไดต้ ง้ั เปน็ เกยี รตแิ ก่ ศ. ดร.ประนอม ราชบุรี ช่ือวิทยาศาสตร์ของพืชชนิดนี้ พืชชนิดน้ีตามช่ือพ้ืนเมืองท่ีใช้กันอย่าง จันทรโณทัย นักพฤกษศาสตร์ไทยที่มีช่ือ ได้ตั้งเป็นเกียรติแก่ ศ.พวงเพ็ญ ศิริรักษ์ แพรห่ ลายว่า ‘พญาว่าน’ เสียงในแวดวงพฤกษศาสตร์ของประเทศ ซึ่งเป็นคนไทยคนแรกท่ีศึกษาพืชวงศ์ขิง และของโลก ในประเทศไทย กระเจียวรังสิมา หรือ Krachiao กระเจียวจรัญ หรือ Krachiao Charan กระเจียวม่วง หรือ อเมทิสต์ Rangsima ชนิดที่ 4 “กระเจียวจรัญ หรือ ชนดิ ท่ี 6 “กระเจยี วมว่ ง หรอื อเมทสิ ต”์ ชนิดท่ี 2 “กระเจียวรังสิมา หรือ Krachiao Charan” มชี ื่อวทิ ยาศาสตร์ คอื มีชือ่ วิทยาศาสตร์ คือ Curcuma purpurata Krachiao Rangsima” หรืออีกชื่อคือ Curcuma charanii Boonma & Saensouk Boonma & Saensouk พบท่ีจังหวัด “บุษราคัม หรือ Bussarakham” มีช่ือ เปน็ พชื ในกลมุ่ เดยี วกนั กบั ขมนิ้ หรอื กระเจยี ว ศรีสะเกษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ วิทยาศาสตร์ คือ Curcuma rangsimae Boonma & Saensouk พบในจังหวัด นครนายก สระบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และนครราชสีมา ช่ือวิทยาศาสตร์ของ พืชชนิดน้ีได้ตั้งเป็นเกียรติแก่ คุณรังสิมา ตัณฑเลขา ผู้อำ�นวยการโปรแกรมอาวุโส 30 มถิ ุนายน 2564
ระเบยี ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย ประเทศไทย ได้ตั้งชอื่ วทิ ยาศาสตรพ์ ชื ชนิดน้ี ของประเทศไทย ศึกษาโดย รศ. ดร.สุรพล ถือเป็นสัญญาณที่ดีของไทยแสดงให้เห็น ตามสีมว่ งของดอกพืช แสนสุข และ ผศ. ดร.ปยิ ะพร แสนสขุ มชี อ่ื ว่า “ประเทศไทยมีความหลากหลายทาง พ้ืนเมอื งคือ ‘ว่านกระชายดำ�เทียม’ ชีวภาพ” พืชวงศ์ขิงเป็นพืชผักพื้นบ้าน ท่ี นิลกาฬ หรือ Nillakan มีสรรพคุณทางสมุนไพรไทย และยังเป็น สำ�หรับพืชวงศ์ขิงที่พบเพิ่มเติมแต่อยู่ สุดท้ายเป็นพืชวงศ์ขิงที่มีการรายงาน ไม้ดอกไม้ประดับท่ีมีความสวยงาม เป็นพืช ใหมใ่ นประเทศไทย 1 ชนดิ คอื “วา่ นหวั นอ้ ย” ท่ีควรค่าแก่การอนุรักษ์ โดยคณะวิจัยกำ�ลัง ในสกุลเปราะ (Kaempferia) 2 ชนิด คือ มชี อ่ื วทิ ยาศาสตร์ คอื Curcuma peramoena มีแนวทางในการขยายพันธุ์จากเหง้าและ ชนดิ ที่ 7 “นิลกาฬ หรอื Nillakan” มชี อ่ื Souvann. & Maknoi พบครง้ั แรกที่ สปป. ขยายพนั ธ์ุโดยเทคนคิ การเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอ่ื วิทยาศาสตร์ คือ Kaempferia nigrifolia ลาว และมีการพบในประเทศไทยท่ีจังหวัด รวมถึงถ่ายทอดความรู้ท่ีเกิดจากงานวิจัยสู่ Boonma & Saensouk โดยชื่อได้ตั้งข้ึน อตุ รดิตถ์ ลักษณะเดน่ ชอ่ ดอกอัดแน่น ดอก ชมุ ชนนกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา รวมถงึ ผสู้ นใจ ตามลักษณะเด่นของพืชคือมีใบมีสีดำ� พบ สขี าวปนสชี มพอู อ่ น กลบี ปากมแี ถบสเี หลอื ง ท่ัวไป เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์สายพันธ์ุต่างๆ ไดท้ างภาคกลางของประเทศไทย ศกึ ษาโดย ในระยะยาวตอ่ ไป รศ. ดร.สรุ พล แสนสุข, นายธวัชพงศ์ บุญ รศ. ดร.สุรพลทิ้งท้ายว่า การค้นพบ มา และ ผศ. ดร.ปยิ ะพร แสนสุข มชี อื่ พืน้ พืชวงศ์ขิงชนิดใหม่ของโลกท้ัง 8 ชนิดน้ี เมอื งคือ ‘นิลกาฬ’ ว่านกระชายดำ�เทียม ว่านหัวน้อย ชนิดที่ 8 “วา่ นกระชายดำ�เทยี ม” มชี อ่ื รายละเอียดเพมิ่ เตมิ >> วทิ ยาศาสตร์ คอื Kaempferia pseudoparvi- 1) สำ�นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ (https://bit.ly/3fOLadR) flora Saensouk and P. Saensouk ลกั ษณะ 2) National Geographic ภาษาไทย (https://bit.ly/2T5YmCl) เดน่ ของพชื คอื ใบมใี บเดยี ว กา้ นชอ่ ดอกสนั้ และช่อดอกอัดแน่น พบทางภาคเหนือ 31 มถิ นุ ายน 2564
หนา้ ตา่ ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก WHO ตัง้ ชอื่ เรยี กใหม่ให้ “เชือ้ ก่อโรคโควิด 19 กลายพนั ธ์ุ” แทนชอ่ื ประเทศทม่ี กี ารพบเชอ้ื เมอื่ วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน ทผ่ี า่ นมา องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไดป้ ระกาศระบบเรยี กชื่อใหม่ ของเชื้อก่อโรคโควดิ 19 สายพนั ธุต์ า่ งๆ เป็นอกั ษรกรีก แทนความนยิ มของคนทวั่ ไป และสื่อมวลชน ซงึ่ ทผี่ า่ นมามกี ารเรยี กชื่อสายพนั ธดุ์ ว้ ยชื่อประเทศหรือสถานทีท่ พี่ บเชื้อ เป็นคร้ังแรกเพื่อให้ง่ายต่อการอ้างอิงถึง ท้ังนี้เพ่ือลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ ตอ่ พลเมอื งทมี่ าจากประเทศนนั้ ๆ โดย WHO ไดแ้ บง่ การตงั้ ชอื่ เชอื้ กอ่ โรคโควดิ 19 สายพนั ธุ์ • ซีตา (Zeta) ใช้เรียกสายพันธ์ุ P.2 ท่ีตรวจพบครั้งแรก ต่างๆ ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เชื้อกลายพันธุ์ที่น่ากังวล ในบราซลิ (variants of concern หรือ VOC) และเช้ือกลายพันธุ์ท่ี น่าสนใจ (variants of interest หรอื VOI) • อีตา (Eta) ใช้เรียกสายพันธุ์ B.1.525 ที่ตรวจพบครั้งแรก ในหลายประเทศ “เช้ือกลายพันธุ์ท่ีน่ากังวล (VOC)” คือ เช้ือท่ีมีการ กลายพันธุ์ในระดับมีนัยสำ�คัญต่อสาธารณสุขโลก เช่น • ทีตา (Theta) ใช้เรียกสายพันธุ์ P.3 ที่ตรวจพบครั้งแรก แพร่ระบาดได้ง่ายข้ึน หรือทำ�ให้วัคซีนมีประสิทธิภาพลดลง ในฟลิ ปิ ปินส์ มีชอื่ ตามอกั ษรกรีกดังนี้ • แอลฟา (Alpha) ใช้เรียกสายพันธ์ุ B.1.1.7 ท่ีตรวจพบ • ไอโอตา (Iota) ใชเ้ รยี กสายพนั ธ์ุ B.1.526 ทตี่ รวจพบครงั้ แรก ในสหรฐั อเมรกิ า ครัง้ แรกในสหราชอาณาจักร • บีตา (Beta) ใช้เรียกสายพนั ธ์ุ B.1.351 ท่ตี รวจพบคร้งั แรก • แคปปา (Kappa) ใชเ้ รยี กสายพนั ธุ์ B.1.617.1 ที่ตรวจพบ ครั้งแรกในอินเดีย ในแอฟริกาใต้ อย่างไรก็ตามการต้ังชื่อตามตัวอักษรกรีกน้ี ไม่ได้มีขึ้น • แกมมา (Gamma) ใชเ้ รยี กสายพนั ธุ์ P.1 ทต่ี รวจพบครง้ั แรก เพ่ือแทนท่ีชื่อทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีอยู่ก่อนหน้าน้ี ซ่ึงจะยังคง ในบราซลิ ใช้ในการอ้างอิงในงานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ต่อไป เช่น • เดลตา(Delta)ใชเ้ รยี กสายพนั ธ์ุB.1.617.2ทตี่ รวจพบครงั้ แรก เช้ือสายพันธ์ุ B.1.1.7 นอกจากนี้การใช้ชื่อเรียกตามสถานที่ ทตี่ รวจพบ ก็ไมไ่ ดเ้ ปน็ ชอ่ื ที่ใช้โดย WHO อยแู่ ลว้ แตเ่ ปน็ ชอ่ื ที่ใช้ ในอินเดยี ในการรายงานข่าวเพื่อให้ง่ายต่อการส่ือสารกับคนทั่วไปเทา่ นน้ั “เชื้อกลายพนั ธท์ุ ่ีน่าสนใจ (VOI)” ประกอบด้วย ซง่ึ อาจเปน็ การตตี ราแกป่ ระเทศตา่ งๆ ทม่ี กี ารพบเชอ้ื ได้ • เอปไซลอน (Epsilon) ใช้เรยี กสายพันธ์ุ B.1.427/B.1.429 ทม่ี าและรายละเอยี ดเพิ่มเติม >> ท่ีตรวจพบคร้งั แรกในสหรฐั อเมริกา BBC News ไทย (https://bbc.in/3wPDcXI) 32 มิถุนายน 2564
หนา้ ตา่ ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก ‘โรโบบอล’ หุ่นจิว๋ ปฏิบัติภารกจิ นำ�ร่องสำ�รวจ ดวงจนั ทรใ์ ห้ JAXA เพ่ือรวบรวมข้อมูลสำ�คัญในการพัฒนายานอวกาศสำ�หรับปฏิบัติภารกิจสำ�รวจดวงจันทร์ ในปี พ.ศ. 2572 องคก์ ารส�ำ รวจอวกาศญ่ี ปนุ่ (JAXA) ไดป้ ระกาศความรว่ มมอื กบั ยกั ษใ์ หญ่ ผ้เู ช่ยี วชาญด้านเทคโนโลยีแขนงต่างๆ เพ่ือออกแบบและพัฒนาห่นุ ยนต์จ๋วิ สำ�หรับปฏิบัติ ภารกจิ น�ำ รอ่ งส�ำ รวจและจดั เกบ็ ขอ้ มลู มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2559 หรือเมอ่ื 5 ปที แ่ี ลว้ จนเมือ่ เดอื นมีนาคมทีผ่ ่านมา JAXA ได้เผยถงึ ผลงาน โดยร่วมมือกับ Sony ในการพัฒนาเทคโนโลยีควบคุมระบบ ‘โรโบบอล (robo ball)’ ซงึ่ ผา่ นการออกแบบใหม้ ขี นาด และรว่ มมอื กบั Tomy (บรษิ ทั ผผู้ ลติ ของเลน่ ) และมหาวทิ ยาลยั กระทัดรัดและนำ้�หนักเบาเป็นพิเศษ เพ่ือให้เหมาะสมแก่ โดชชิ ะ ประเทศญปี่ นุ่ ในการพฒั นาเทคโนโลยกี ารลดยอ่ ขนาด การทำ�หน้าที่สำ�รวจสภาพพ้ืนผิวดวงจันทร์ท่ีมีแรงโน้มถ่วง ของอปุ กรณ์ น้อยกวา่ โลกถึง 6 เท่า และมีสภาพแวดล้อมปกคลุมไปดว้ ย ตะกอนฝนุ่ หนิ พวกเขาคาดหวังว่าการพัฒนาโรโบบอลได้จนสำ�เร็จ ครั้งนี้ จะไม่เพียงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการปฏิบัติ หุ่นยนต์จ๋ิวตัวนี้มีลักษณะเป็นทรงกลมขนาดเส้นผ่าน ภารกิจสำ�รวจอวกาศ แต่ยังสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษา ศูนยก์ ลาง 3.1 นิ้ว (ใกลเ้ คยี งกับลกู เบสบอล) และมนี �ำ้ หนัก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะทางด้านอวกาศ เพยี ง 250 กรมั เมอื่ ถกู สง่ ไปยงั ดวงจนั ทร์ โรโบบอล จะท�ำ หนา้ ท่ี ให้แก่เดก็ และเยาวชนอกี ด้วย ถ่ายภาพพื้นผิวที่ปกคลุมด้วยตะกอนฝุ่นหินให้ครอบคลุม มากทีส่ ดุ แลว้ สง่ ขอ้ มลู ทั้งหมดกลบั มายังศนู ยค์ วบคมุ ภารกจิ ทีม่ าและรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ >> โดย JAXA คาดวา่ โรโบบอล จะสามารถออกปฏิบัติภารกจิ บน 1) The Standard (https://bit.ly/3i9Zu29) ดวงจนั ทร์ได้ในปี พ.ศ. 2565 2) Japan Aerospace Exploration Agency (https://bit.ly/3c7Xio0) 3) Gizmodo (https://bit.ly/3wSY0h4) ทง้ั น้ีในชว่ ง 5 ปขี องการพฒั นา JAXA ไดท้ �ำ หนา้ ทพ่ี ฒั นา เทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การรบั มอื สภาพแวดลอ้ มของอวกาศ 33 มิถุนายน 2564
หนา้ ตา่ ง ขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก “หญ้าทะเล” อาจเปน็ กุญแจส�ำ คัญต่อสภู้ าวะโลกร้อน จากการศกึ ษาที่ผ่านมา นักวทิ ยาศาสตร์พบวา่ ประโยชน์ของ “หญ้าทะเล” คอื “สามารถ กักเก็บคาร์บอนได้มากกว่าป่าไม้ถึงสองเท่า” หากหญ้าทะเลมีสุขภาพและการเจริญ เติบโตที่ดีจะสามารถกำ�จัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซเรือนกระจกชนิดหน่ึงท่ีเป็นต้น เหตุสำ�คัญท่ีทำ�ให้โลกร้อนในปัจจุบันออกจากสิ่งแวดล้อมได้ โดยผู้เช่ียวชาญคาดว่า รากของหญ้าทะเลท่ัวโลกสามารถดักจับคาร์บอนท่ีฝังอยู่ในตะกอนมหาสมุทรได้ปีละ มากกวา่ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ นักวจิ ยั โครงการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ สหประชาชาติ (UNEP) UNEP รายงานว่าในปีน้ีสาธารณรัฐเซเชลส์เร่ิมมองหา ประเมนิ วา่ หญา้ ทะเลทวั่ โลกมปี รมิ าณครอบคลมุ พนื้ ท่ี แหล่งคาร์บอนจากหญ้าทะเลตามชายฝ่ังเป็นคร้ังแรก และมี มากกว่า 300,000 ตารางกิโลเมตร กระจายอยู่ท่ัวทุกทวีป อย่างน้อย 10 ประเทศที่กล่าวว่าหญ้าทะเลจะเป็นส่วนหน่ึง ยกเว้นแอนตารก์ ตกิ า อย่างไรก็ตามทุก 30 นาที หญ้าทะเล ในแผนปฏบิ ตั ิการด้านสภาพภูมิอากาศของตน ที่ครอบคลุมพื้นท่ีเท่าขนาดสนามฟุตบอลจะถูกทำ�ลายโดย ทม่ี าและรายละเอียดเพม่ิ เติม >> กิจกรรมของมนุษย์ โดยมีการตีพิมพ์ในวารสาร Frontiers VOA ไทย (https://bit.ly/3caYW8e) in Plant Science ฉบับเดือนมีนาคมว่า มลพิษจากการ ขุดเจาะและความเสียหายจากการประมงอาจเป็นสิ่งท่ี ทำ�ลายหญ้าทะเลในประเทศอังกฤษถึง 92 เปอร์เซ็นต์ ในชว่ งหนึง่ ศตวรรษ 34 มิถุนายน 2564
Sci Info graphic 35 มถิ ุนายน 2564
Sci Info graphic 36 มถิ ุนายน 2564
Sci Info graphic 37 มถิ ุนายน 2564
Aสาpรpะ โดย Tinybop Inc. The Human Body Lite The Human Body เวอร์์ชััน Lite สามารถทดลองใช้ง้ านได้้ฟรีี โดยเป็น็ แอปพลิเิ คชัันที่่�จะพา เราไปรู้้�จักั กับั ร่่างกายของเราและกลไกของร่่างกายมนุษุ ย์์ เรียี นรู้ว้� ่า่ ร่า่ งกายของเราทำำ�จากอะไรและเราทำำ�งานอย่า่ งไร แต่ล่ ะส่ว่ นนั้้น� เคลื่อ�่ นไหวได้แ้ ละเป็น็ แบบ อิินเตอร์์แอ็็กทิฟิ เช่น่ หัวั ใจเต้้นและปอดหายใจ ออกแบบมาสำำ�หรับั เด็็กที่่�ชอบเรีียนรู้�้ ทุกุ วันั เพื่�่อให้้ สนุุกกับั การเล่น่ และเรีียนรู้�้ สำำ�หรัับรายละเอีียดการใช้้งานแอปพลิิเคชัันอย่่างละเอีียด สามารถดาวน์์โหลดคู่่�มืือแนะนำำ� ผู้�้ ปกครองได้้ที่่� http://tinybop.com/handbooks ดาวน์์โหลดได้ท้ ี่�่ iOS App Store 38 มถิ นุ ายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั รวศิ ทศั คร รวิศ ทัศคร เคยเปน็ กรรมการบรหิ ารและสมาชกิ ทมี บรรณาธกิ ารวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยทำ�งานเปน็ นักเขยี น ประจ�ำ นติ ยสาร UpDATE นิตยสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษทั ซีเอด็ ยูเคชนั่ (มหาชน) จำ�กัด ปัจจบุ ันรบั ราชการ เป็นอาจารย์ประจ�ำ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ล้วไง ขอ้ งใจเหรอคะ (ตอนที่ 1) คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นสารประกอบทีค่ นท่วั ไปร้จู ักกนั ดี คารบ์ อนไดออกไซดม์ ี สถานะเปน็ กา๊ ซทีอ่ ุณหภมู ิหอ้ ง ผูท้ ่ศี ึกษาสมบตั ิต่างๆ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ เปน็ คนแรกคอื Joseph Black ในชว่ งปี พ.ศ. 2293 39 มถิ ุนายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั มนุษย์เผาเช้ือเพลิงฟอสซิลเพ่ือผลิต เรารอ้ นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ซงึ่ เปน็ ให้แก่โลก โดยคาร์บอนไดออกไซด์ท่ี กระแสไฟฟ้า ทำ�ความร้อนหรือ จุดวิกฤตเมื่อไหร่ หายนะท่ีตามมาจะมี มนุษย์ปล่อยออกมากว่า 25 เปอร์เซ็นต์ ทำ�ความเย็นให้แก่อาคาร หรือเพ่ือให้กำ�ลัง มากมาย ต้ังแต่ระดับนำ้�ทะเลท่ีอาจเพิ่ม จะละลายเข้าไปในน้ำ�ทะเล และถูก แกเ่ ครอื่ งจกั ร รวมถงึ ใชง้ านในอตุ สาหกรรม ขึ้นถึง 10 เซนติเมตร และอาจมีเพยี ง 1 แพลงก์ตอนพืชขนาดจิ๋วขนิดท่ีมีเปลือก ต่างๆ มากมาย จนตัวเลขปริมาณ เปอรเ์ ซน็ ตข์ องแนวปะการงั ทยี่ งั คงมชี วี ติ เปน็ หินปนู (calcareous phytoplankton/ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์เราปล่อยออก อยไู่ ด้ การประมงกจ็ ะถกู ผลกระทบ โดยมี calcifying plankton) นำ�ไปสร้างเปลือก สู่ชั้นบรรยากาศโลกอย่างมหาศาลเมื่อ การคาดวา่ ปรมิ าณปลาทจี่ บั ไดจ้ ะลดลงถงึ ของพวกมัน และเม่ือพวกมันตาย ซาก ไม่นานมาน้ีน้ัน สูงถึง 1.09 ล้านกิโลกรัม 1.5 ล้านตนั จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงของ ของพวกมันก็จะตกตะกอนลงไปก้น ตอ่ วนิ าที ซง่ึ จากการเจาะน�้ำ แขง็ จากบรเิ วณ สภาพอากาศ บางทแี่ หง้ แลง้ บางทนี่ �้ำ ทว่ ม มหาสมุทร ทับถมกลายเป็นหินและบาง ขว้ั โลกมาศกึ ษาท�ำ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรท์ ราบวา่ และเกดิ หมิ ะตกในทท่ี ี่ไมเ่ คยตก แหลง่ น�ำ้ ส่วนก็ถูกพากลับเข้าไปใต้เปลือกโลก ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในช้ันบรรยากาศ สะอาดและปรมิ าณอาหารของชาวโลกจะ เมื่อกาลเวลาผ่านไปแสนนานจนเกิดการ อยใู่ นชว่ ง 170–300 สว่ นในลา้ นสว่ น (ppm) ขาดแคลน เคลื่อนท่ีของเปลือกโลกใต้มหาสมุทร มาตลอดแปดแสนปี และการเปลย่ี นแปลง เ ป็ น ท่ี ท ร า บ กั น ดี ว่ า ที่ ค า ร์ บ อ น - ท่ีบางแผ่นของเปลือกโลกมีการมุดเข้าไป ใดๆ จะใช้เวลาเป็นพันๆ ปีจึงจะเปลี่ยน ไดออกไซด์ในช้ันบรรยากาศโลกพุ่งสูง ใต้เปลือกโลกอีกแผ่นหน่ึง ซ่ึงก็นับว่า แต่จาก พ.ศ. 2293 ท่ีเป็นจุดเริ่มต้น ขึ้นไวมากจากการกระทำ�ของมนุษย์ เมื่อ เจ้าแพลงก์ตอนพวกน้ีมีความสำ�คัญ ของยุคอุตสาหกรรมเป็นต้นมา ระดับ เทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม แต่ก็ยัง อย่างมากต่อวัฏจักรคาร์บอนของโลกเรา คาร์บอนไดออกไซด์ได้เพ่มิ จาก 280 ppm ไม่ไวพรวดพราด ส่วนหน่ึงเป็นเพราะ แถมยังมีความสำ�คัญต่อสายใยอาหารใน ไปจนมากถงึ 400 ppm ในปัจจบุ ัน[1] มหาสมุทรมีส่วนช่วยอยู่ไม่น้อย ในการ ทอ้ งทะเล (pelagic food web) อกี ดว้ ย นอกจากกา๊ ซมเี ทนแลว้ คารบ์ อนได- ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนเกินจาก นน่ั คอื พวกมนั เปน็ อาหารของสตั ว์ในทะเล ออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของ ชั้นบรรยากาศ และพยายามปรับสมดุล น่ันเอง[4] มนษุ ย์เป็นหน่งึ ในบรรดากา๊ ซเรือนกระจก ตวั ส�ำ คญั ทเ่ี ปน็ ตวั การส�ำ คญั ในการกกั เกบ็ รูปที่ 1 ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นและอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2423-2556 พลงั งานความรอ้ นเอาไว้ในชน้ั บรรยากาศ ซึ่งเพิ่มจาก 56 oF (13.33 oC) ขึ้นมาเป็น 58.5 oF (14.72 oC) (ที่มา : [1]) ซึ่งเป็นสาเหตุของการเปล่ียนแปลงของ สภาพอากาศโลก ท�ำ ให้โลกของเรามอี ณุ หภมู ิ เฉลย่ี เพม่ิ ขน้ึ แลว้ ถงึ 1.15 องศาเซลเซยี ส จากขอ้ มลู ของ NOAA เมอื่ ปี พ.ศ. 2562[2] องคก์ ารอตุ นุ ยิ มวทิ ยาโลก (WMO) ได้ เผยแพรบ่ ทความ[3] วา่ ในอกี 5 ปี โลกเรามี โอกาสประมาณ 40 เปอรเ์ ซน็ ตท์ อ่ี ณุ หภมู ิ เฉลี่ยจะมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิก่อนมีการ ปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมถงึ 1.5 องศาเซลเซยี ส ถา้ ใครตดิ ตามขา่ วคราวดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม คงทราบว่า หากอุณหภูมิเฉล่ียของโลก 40 มิถุนายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั นอกจากก๊าซมีเทนแล้ว คาร์บอน- มหาสมุทรมีส่วนช่วยอยู่ไม่น้อย ในการ ซ่ึงจากการศึกษาของทีมวิจัยร่วมจาก ไดออกไซด์ท่ีเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของ ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนเกินจาก สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนษุ ย์เปน็ หนึ่งในบรรดาก๊าซเรือนกระจก ชั้นบรรยากาศ และพยายามปรับสมดุล สง่ิ แวดลอ้ มของมหาวทิ ยาลยั Universitat ตวั ส�ำ คญั ทเี่ ปน็ ตวั การส�ำ คญั ในการกกั เกบ็ ให้แก่โลก โดยคาร์บอนไดออกไซด์ท่ี Autònoma de Barcelona (ICTA-UAB) พลงั งานความรอ้ นเอาไว้ในชนั้ บรรยากาศ มนุษย์ปล่อยออกมากว่า 25 เปอร์เซ็นต์ ประเทศสเปน มหาวทิ ยาลยั เคมบรดิ จข์ อง ซึ่งเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของ จะละลายเข้าไปในนำ้�ทะเล และถูก อังกฤษ และสมาคมชีววิทยาทางทะเล สภาพอากาศโลก ทำ�ให้โลกของเรามี แพลงก์ตอนพืชขนาดจิ๋วขนิดที่มีเปลือก แห่งสหราชอาณาจักร พบว่าสาหร่าย อณุ หภมู เิ ฉลย่ี เพม่ิ ขน้ึ แลว้ ถงึ 1.15 องศา- เป็นหนิ ปนู (calcareous phytoplankton/ ในกลุ่ม Coccolithophores ซ่ึงเป็น เซลเซียส จากข้อมูลของ NOAA เมื่อปี calcifying plankton) นำ�ไปสร้างเปลือก แพลงก์ตอนกลุ่มใหญ่ในแพลงก์ตอนท่ีมี พ.ศ. 2562[2] ของพวกมัน และเม่ือพวกมันตาย ซาก เปลือกหินปูนน้ัน เม่อื ศึกษาด้วยการส่อง องคก์ ารอตุ นุ ยิ มวทิ ยาโลก (WMO) ได้ ของพวกมันก็จะตกตะกอนลงไปก้น ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ เผยแพรบ่ ทความ[3] วา่ ในอกี 5 ปี โลกเรามี มหาสมุทร ทับถมกลายเป็นหินและบาง ส่องกราด (SEM) ภาพถ่ายแพลงก์ตอน โอกาสประมาณ 40 เปอรเ์ ซน็ ตท์ อ่ี ณุ หภมู ิ ส่วนก็ถูกพากลับเข้าไปใต้เปลือกโลก แสดงให้เห็นลักษณะของค็อกโคลิทที่ไม่ เฉล่ียจะมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิก่อนมีการ เม่ือกาลเวลาผ่านไปแสนนานจนเกิดการ สมบูรณ์และผิดรูปร่างไปมากข้ึนเรื่อยๆ ปฏบิ ตั อิ ตุ สาหกรรมถงึ 1.5 องศาเซลเซยี ส เคล่ือนท่ีของเปลือกโลกใต้มหาสมุทร ท่ี ตามอุณหภูมิท่ีสูงข้ึน และความเป็นกรด ถ้ า ใ ค ร ติ ด ต า ม ข่ า ว ค ร า ว ด้ า น สิ่ ง บางแผ่นของเปลือกโลกมีการมุดเข้าไป ทมี่ ากขน้ึ ของมหาสมทุ ร สงิ่ นท้ี �ำ ใหน้ กั วจิ ยั แวดล้อมคงทราบว่า หากอุณหภูมิเฉล่ีย ใต้เปลือกโลกอีกแผ่นหนง่ึ ซง่ึ ก็นบั ว่าเจ้า กงั วลถงึ ปญั หาทจ่ี ะเกดิ แม้ในปจั จบุ นั การ ของโลกเราร้อนเกิน 1.5 องศาเซลเซียส แพลงก์ตอนพวกน้ีมีความสำ�คัญอย่าง วิจัยยังไม่ได้ศึกษาปัจจัยเร่ืองอัตราการ ซ่ึงเป็นจุดวิกฤตเมื่อไหร่ หายนะที่ตาม มากต่อวัฏจักรคาร์บอนของโลกเรา แถม ตกตะกอนของพวกมันที่จะจมลงไปท่ีก้น มาจะมีมากมาย ต้ังแต่ระดับน้ำ�ทะเลที่ ยังมีความสำ�คัญต่อสายใยอาหารในท้อง ทะเลในภาคสนาม แต่จากการคำ�นวณ อาจเพ่ิมขึ้นถึง 10 เซนติเมตร และอาจ ทะเล (pelagic food web) อกี ดว้ ย นนั่ คอื ในคอมพิวเตอร์ โดยนำ�เอารูปร่างของ มีเพียง 1 เปอร์เซ็นต์ของแนวปะการังท่ี พ ว ก มั น เ ป็ น อ า ห า ร ข อ ง สั ต ว์ ใ น ท ะ เ ล แพลงก์ตอนท่ีเปลี่ยนไปมาคิด ก็พบว่า ยังคงมชี ีวิตอยไู่ ด้ การประมงกจ็ ะถกู ผลก นน่ั เอง[4] อตั ราการตกตะกอนจะเรว็ ขนึ้ เมอ่ื น�้ำ ทะเล ระทบ โดยมีการคาดว่าปริมาณปลาที่จับ แต่จากการที่มี CO2 มากเกินไปใน อุ่นขึ้นอีกด้วย ซึ่งเรื่องน้ีเป็นเรื่องสำ�คัญ ได้จะลดลงถึง 1.5 ล้านตัน จะเกิดการ บรรยากาศ ส่วนที่ละลายลงมหาสมุทร มากต่อประชากรแพลงก์ตอน เน่ืองจาก เปลยี่ นแปลงของสภาพอากาศ บางทแ่ี หง้ กลับทำ�ให้มหาสมุทรเป็นกรด ส่ิงนี้ อัตราการอยู่รอดของพวกมันจะขึ้นกับ แล้ง บางที่นำ้�ท่วม และเกิดหิมะตกในท่ี จะทำ�ให้ความสามารถในการดูดซับ อัตราการจมลงไปในน้ำ�ของพวกมัน ซ่ึง ท่ีไมเ่ คยตก แหล่งน้ำ�สะอาดและปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศของ มนั จ�ำ เปน็ ตอ้ งอยใู่ นโซนของระดบั น�้ำ ที่ไม่ อาหารของชาวโลกจะขาดแคลน แพลงก์ตอนเหล่านี้ลดลง เพราะส่วน ลกึ มากและยงั มแี สงสอ่ งทะลลุ งไปถงึ ใน เ ป็ น ท่ี ท ร า บ กั น ดี ว่ า ที่ ค า ร์ บ อ น - ค็อกโคลิท (coccolith) ซ่ึงเป็นแผ่น บรเิ วณความลกึ ทม่ี นั ยงั สงั เคราะหแ์ สงได้ ไดออกไซด์ในช้ันบรรยากาศโลกพุ่งสูง แคลเซียมคาร์บอเนตท่ีเป็นเปลือกของ นน่ั เอง ซึ่งหากมันจมลงไปลกึ กว่านั้น มนั ข้ึนไวมากจากการกระทำ�ของมนุษย์ เมื่อ แพลงก์ตอนพวกนี้เปลี่ยนแปลงรูปร่าง จะสงั เคราะห์แสงไมไ่ ดแ้ ละตาย เทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม แต่ก็ยัง ไป (อา่ นเกยี่ วกบั คอ็ กโคลทิ ได้ใน https:// ไม่ไวพรวดพราด ส่วนหน่ึงเป็นเพราะ www.thwiki.press/wiki/Coccoliths) แค่ในบรรยากาศมีก๊าซ CO2 อยู่ เพียงประมาณ 0.05 เปอร์เซ็นต์ก็ยังส่ง 41 มิถนุ ายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของค็อกโคลิท เมื่อความเป็นกรดและอุณหภูมิของน้ำ�ทะเลเพิ่มสูงขึ้น (ที่มา: [5]) ผลกระทบต่อสภาพอากาศของโลกเรา ความพยายามในการหาวธิ ี เร่ืองความพยายามในการนำ�มันกลับ ถึงขนาดน้ี แต่สมมติว่าชั้นบรรยากาศมี มาจากช้ันบรรยากาศ หรือดักมันไว้ใน CO2 อยู่เกือบทั้งหมด โลกเราก็คงจะมี จดั การกบั คารบ์ อนไดออกไซด์ อตุ สาหกรรมกอ่ นปลอ่ ยออกสบู่ รรยากาศ สภาพไม่แตกต่างจากดาวศุกร์ที่ร้อนระอุ ผลกระทบจากก๊าซคาร์บอนได- เพื่อแปลงรูปมันกลับเป็นเชื้อเพลิงหรือ ทมี่ บี รรยากาศเปน็ คารบ์ อนไดออกไซดถ์ งึ อ อ ก ไ ซ ด์ ร่ ว ม กั บ ก๊ า ซ มี เ ท น ท่ี ม นุ ษ ย์ สารประกอบอนื่ ซงึ่ บางชนดิ เปน็ สารตงั้ ตน้ 97 เปอรเ์ ซน็ ต์ และมอี ณุ หภมู พิ น้ื ผวิ สงู ถงึ ปล่อยออกสชู่ ัน้ บรรยากาศ ส่งผลกระทบ 467 องศาเซลเซียส ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มมหาศาล จนหลายปมี านมี้ ี รูปที่ 3 การเผา CO2 ที่อุณหภูมิและความดันต่างๆ แม้ว่าคาร์บอนไดออกไซด์จะเป็น หลายตอ่ หลายกลมุ่ พยายามหาวธิ ใี นการ โดยในโซน A จะยังไม่เกิดการสลายตัวของ ส่วนใน ก๊าซเรือนกระจก แต่การกักเก็บความ จัดการกับก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ โดย โซน B CO2 จะเกิดการสลายตัวบางส่วน กลาย ร้อนและอุณหภูมิของดาวจะขึ้นกับความ หากเปน็ CO2 เป็นทที่ ราบกนั ว่า หากเผา เป็นคาร์บอนมอนอกไซด์และออกซิเจน ส่วนใน หนาแน่นของก๊าซและระยะห่างจาก ดว้ ยอณุ หภมู ทิ ส่ี งู พอ คารบ์ อนไดออกไซด์ โซน C ผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ คาร์บอนและออกซิเจน ดวงอาทิตย์ด้วยเช่นกัน หากมีก๊าซอยู่ จะเริ่มสลายตัวกลับเป็นออกซิเจนและ (ที่มา : [6]) เบาบางและอยหู่ า่ งจากดวงอาทติ ย์ อยา่ ง คารบ์ อนมอนอกไซด์ หรอื หากทอ่ี ุณหภูมิ ดาวองั คารทมี่ คี วามดนั บรรยากาศเบาบาง และความดันสูงๆ CO2 ก็อาจกลับกลาย ที่มีค่าน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของความ เป็นออกซิเจนและคาร์บอนใหม่ก็เป็นไป ดันบรรยากาศโลก และยังมีความเข้ม ได้ ดังท่ีเคยมีผู้ศึกษามาก่อนแล้วในยุค ของการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์น้อยกว่า 1980s (ราว พ.ศ. 2523)[6] ดงั รปู ท่ี 3 เพยี ง ดาวศุกร์มาก แม้ว่าบรรยากาศของดาว แต่การเผาโดยตรงอาจเสียค่าใช้จ่ายใน องั คารถึง 96 เปอรเ์ ซน็ ต์จะประกอบด้วย การด�ำ เนินการสงู คาร์บอนไดออกไซด์ แต่ก็ยังมีอุณหภูมิท่ี ตลอดหลายสิบปีท่ีผ่านมา เราจะ หนาวเย็นกว่าโลก เห็นพัฒนาการนวัตกรรมทางเทคโนโลยี หลายอย่างในการจัดการ CO2 ต้ังแต่ 42 มิถนุ ายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั ของการทำ�เป็นพลาสติก เป็นต้น มี รูปที่ 4 ภาพแสดงการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยอนุภาคนาโนทองแดงและผงคอปเปอร์ไอโอไดด์ งานวิจัยหลายงานท่ีเป็นไปในทิศทางน้ี (CuI) ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการเกิดปฏิกิริยา CO2RR ทำ�ให้มีอัตราการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น ในช่วงทศวรรษ 1990 (ราว พ.ศ. เป็นสารผลิตภัณฑ์ที่มีคาร์บอนสองตัวขึ้นไปมากยิ่งขึ้น (ที่มา : [10]) 2533) มีนักศึกษามหาวิทยาลัยพรินซ์ ตันคนหน่ึง ช่ือ หลินเจ้า (Lin Chao) ได้ เอทานอล ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็น ยังมีอีกงานวิจัยในทำ�นองเดียวกัน ทดลองพ่นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป ทองแดง ซง่ึ ทงั้ สองอยา่ งนใี้ นอตุ สาหกรรม อีกงานหนึ่งท่ีน่ากล่าวถึง โดยงานน้ีมา ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีโดยใช้ข้ัวคาโทดทำ� ยังสามารถนำ�ไปใช้งานอย่างอ่ืนได้อีก จากศูนย์วิทยาการทรัพยากรหมุนเวียน จากธาตุแพลเลเดียม (palladium) และ ในปัจจุบันก็มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ Center for Sustainable Resource ใช้ไพริดิเนียม (pyridinium) เป็นตัวเร่ง ของสารท่ีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาให้ดีขึ้น Science (CSRS) ของสถาบันไรเคน ปฏิกิริยา ซ่ึงเขาค้นพบว่าเม่ือจ่ายไฟฟ้า โดยอาศัยการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เกิดจาก (RIKEN) ซง่ึ ยอ่ จาก Rikagaku Kenkyusho เข้าไปจะสามารถสังเคราะห์เมทานอลได้ ธาตุแพลเลเดียม (Pd) ร่วมกับทองแดง (理化学研究所) (ช่ือเท่นะครับ-ผูเ้ ขียน) จากคารบ์ อนไดออกไซด์ ซง่ึ ในสมยั นนั้ ไมม่ ี (Cu) ซงึ่ ทมี วจิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั Central หรือก็คือสถาบันวิจัยฟิสิกส์และเคมี คนตระหนกั หรอื ใหค้ วามสนใจมากนกั แต่ South University ประเทศจนี ไดค้ น้ พบวา่ ของประเทศญ่ีปุ่น ซ่ึงใช้สารเร่งปฏิกิริยา หลงั จากนน้ั ในปี พ.ศ. 2546 กม็ ผี มู้ าสบื ตอ่ ตรงรอยต่อของโลหะทั้งสองชนิดจะเป็น ที่เป็นเหล็กซัลไฟด์ท่ีมีนิกเกิล เพื่อรีดิวซ์ ไอเดยี ดงั กล่าวในการแปลง CO2 ใหเ้ ป็น จุดที่ลดพลังงานท่ีต้องอาศัยในการเกิด ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ใ ห้ เ ป็ น ค า ร์ บ อ น - เชอื้ เพลงิ แตค่ ราวนใี้ ชว้ ธิ อี นื่ โดยแอนดรวู ์ ปฏิกิริยาลงได้[9] นอกจากน้ียังมีทีมวิจัย มอนอกไซด์ และสารผลติ ภณั ฑช์ นดิ อืน่ ๆ โบคาสลีย์ (Andrew Bocasly) นักเคมี จากสถาบัน Chinese Academy of ที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ โดยมี ที่ทำ�งานที่ห้องปฏิบัติการมหาวิทยาลัย Sciences (CAS) ที่พัฒนาปรับปรุง แนวคิดจากเอนไซม์คาร์บอนมอนอกไซด์ พรนิ ซต์ นั และนกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก เอมลิ ี ประสทิ ธภิ าพของการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ใน ดไี ฮโดรจเี นส (CODH) ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในเสน้ บาร์ตนั (Emily Barton) ได้ทดลองใช้วสั ดุ การเปลยี่ นแปลง CO2 และน�ำ้ ใหเ้ ปน็ สาร ทางการเกิดปฏิกิริยาที่ช่วยลดพลังงาน กึ่งตัวนำ�แบบท่ีใช้ในเซลล์แสงอาทิตย์มา เคมจี �ำ พวกสารประกอบอนิ ทรยี ช์ นดิ ตา่ งๆ ในข้ันตอนท่ีเกี่ยวข้องกับข้ันตอนแรก ทำ�เป็นข้ัวอิเล็กโทรดในเซลล์ไฟฟ้าเคมี และเช้ือเพลิง ท่ีเป็นสารผลิตภัณฑ์จาก ของปฏิกิริยาดังกล่าวได้ โดยเอนไซม์นี้ ซึ่งพบว่าสามารถเปล่ียน CO2 ให้เป็น ปฏกิ ริ ยิ า electrocatalytic CO2 reduction แ บ ค ที เรี ย น ที่ ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร อ อ ก ซิ เ จ น ใ ช้ เชื้อเพลงิ ไดเ้ ชน่ กนั [7] reaction (CO2RR) ได้เพ่ิมขึ้นมาก[10] เอนไซม์น้ีในการดำ�เนินชีวิต ซ่ึงนักวิจัย สำ�หรบั ตวั อย่างงานเมื่อเร็วๆ น้ี เชน่ ดงั แสดงไว้ในรปู ท่ี 4 จาก CSRS ท่ีนำ�โดยริวเฮย์ นาคามูนะ การศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน หรือการเติมไฮโดรเจนเข้าไปให้แก่ CO2 เพือ่ ผลติ เป็นเมทานอล ซ่งึ แตเ่ ดมิ ตอ้ งใช้ อณุ หภมู สิ ูงมากกวา่ 300 องศาเซลเซยี ส แต่ก็มีการพัฒนาให้เติมโลหะทรานสิชัน เข้าไป เพ่ือให้อุณหภูมิที่ต้องใช้ในการ ทำ�ปฏิกิริยาลดลง[8] หรือแนวทางในการ เปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นสาร ผลิตภัณฑ์พวก C2 เช่น เอทิลีนและ 43 มิถนุ ายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั ได้เสนอว่าอะตอมนิกเกิลนั้นเป็นกุญแจ CO2 ท่ีอุณหภูมิตำ่� การท่ีมีอิเล็กตรอน ผ่านกระบวนการท่ีเรียกว่า direct air สำ�คัญของกลไกการเกิดปฏิกิริยาท่ีเกิด ที่มีพลังงานสูงจำ�นวนมากในวัฏภาค capture (DAC) ซึ่งเป็นกระบวนการ ขึ้นท่ีตำ�แหน่งกัมมันต์ หรือบริเวณเร่ง พลาสมาจะสามารถกระตุ้นทั้งโมเลกุล ที่ใช้อยู่ในอุตสาหกรรมในการดึงเอา (active site) ของเอนไซม์ พร้อมทั้งได้ คาร์บอนไดออกไซด์และไฮโดรเจน ผ่าน คาร์บอนไดออกไซด์ความเข้มข้นสูงจาก พยายามคดิ คน้ สารอนนิ ทรยี ท์ ที่ �ำ หนา้ ที่ได้ กระบวนการการกระตุ้น (excitation) จุดปล่อย เช่น โรงปูนซีเมนต์ หรือโรง เหมอื นเอนไซม์ตัวน้ี (inorganic analog) และการแตกตวั (dissociation) โดยไมม่ ี ไฟฟ้าชีวมวล โดยการนำ�ไปผ่านลงใน และจ่ายไฟฟ้าเข้าไป และติดตามผล ความจำ�เป็นต้องใช้การดูดซับท่ีพ้ืนผิว สารละลายด่าง เช่น โพแทสเซียม- ด้วยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี เพ่ือเกิด activation แบบที่ต้องการใน ไฮดรอกไซด์ หรือตัวดูดซับอื่นๆ ที่ใช้ได้ โดยปฏิกิริยาข้ันต่อมาจะเกิดรีดักชัน การเร่งปฏิกิริยาโดยอาศัยอุณหภูมิสูง เพือ่ ดดู CO2 ออก จากนัน้ กใ็ ห้ความรอ้ น ของคาร์บอนมอนอกไซด์ และกลาย ในแบบท่ีเคยมีการทำ�กันมา ซึ่งแนวทาง เม่ือต้องการปล่อย CO2 ที่ดักได้ออกมา เป็นมีเทนและอีเทน ตามลำ�ดับ[11],[12] น้ีเคยมีคณะอื่นๆ ทำ�การศึกษามาก่อน นักวิจัยต้องการใช้กระบวนการน้ี ดูดเอา ซงึ่ ความรตู้ รงนอี้ าจพฒั นาไปใช้ในการจบั เพียงแต่งานในช่วงก่อนนี้ทำ�ได้เพียง CO2 ไปอดั เกบ็ ไว้ในบอ่ ใตด้ นิ แต่เปลี่ยน คาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศหรือ คาร์บอนมอนอกไซด์และมีเทน มีเพียง จากการดดู ซบั ในสารละลาย เปน็ การกรอง แหล่งปล่อย CO2 อื่นๆ เพ่ือแปลงเป็น งานเดยี วทรี่ ายงานถงึ การเลอื กใหเ้ กดิ สาร โดยใช้เยือ่ เมมเบรนแบบท่ีเลือกชนดิ ของ สารที่ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อไป ไฮโดรคารบ์ อนมวลโมเลกลุ สงู ไดป้ ระมาณ ก๊าซที่ซึมผ่านได้ (permselective mem- ยงั มคี วามเคลอื่ นไหวจากกลมุ่ นกั วจิ ยั 14 เปอรเ์ ซน็ ต์ แต่ในครง้ั ลา่ สดุ น้ีสามารถ branes) โดยเสนอให้ต้ังโรงงานแยกกา๊ ซ ท่ีประกอบด้วยสมาชิกจากมหาวิทยาลัย ให้ผลผลิตไปเป็นไฮโดรคาร์บอนมวล นี้ในทหี่ า่ งไกลจากชมุ ชน เพยี งแตห่ ากดดู Penn State มหาวิทยาลัยฮ่องกง และ โมเลกุลสงู ไดก้ วา่ 46 เปอรเ์ ซน็ ต์ ทอ่ี ตั รา เอาอากาศท่ัวไปโดยตรงอย่างท่ีนักวิจัย มหาวทิ ยาลยั เสฉวน ในการพฒั นาปฏกิ ริ ยิ า การเปลยี่ น CO2 ที่ 74 เปอร์เซน็ ตเ์ ลยที เสนอ แทนทจ่ี ะเปน็ กา๊ ซจากปลอ่ งไอเสีย ไฮโดรจเี นชนั หรอื กระบวนการเตมิ ไฮโดรเจน เดียว[13] หรือเตาเผาของโรงงานอุตสาหกรรม ใหแ้ ก่ CO2 ใหก้ ลายเปน็ สารไฮโดรคารบ์ อน กา๊ ซที่ไดม้ าอาจจะไมบ่ รสิ ทุ ธนิ์ กั เนอื่ งจาก ม ว ล โ ม เ ล กุ ล สู ง โ ด ย ใ ช้ พ ล า ส ม า ที่ ก�ำ จดั CO2 อยา่ งไว ด้วยการ มี CO2 น้อย และจะมีออกซิเจนและ 23.8 องศาเซลเซียส ซ่ึงมีค่าประมาณ แยกจากบรรยากาศโดยตรง ไนโตรเจนจากอากาศปกติติดมาด้วย ใกล้เคียงอุณหภูมิห้อง โดยอาศัยเครื่อง หรือดดู ไปเกบ็ ไว้ใตด้ นิ ? เพราะเยื่อเมมเบรนน่าจะมีประสิทธิภาพ กำ � เ นิ ด พ ล า ส ม า แ บ บ ไ ด อิ เ ล็ ก ท ริ ก - ตามท่ีกล่าวมา จะเห็นว่ามีหลาย ไม่ถึง 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ กลมุ่ วจิ ยั จึงเสนอ แบริเออร์ดิสชาร์จ (DBD) ซ่ึงกำ�เนิด แนวคิด หลายวิธีทีเดียว ที่มีการคิดค้น ให้อัดก๊าซที่ดูดได้ด้วย DAC เข้าไปเก็บ พลาสมาด้วยการใช้สนามไฟฟ้ากระแส เพื่อแปลงสภาพคาร์บอนไดออกไซด์ ในแหลง่ กกั เกบ็ ใต้ดนิ ซึ่งเปน็ โพรงขนาด สลับแบบต่อเนื่อง เคร่ืองแบบนี้สามารถ ให้เป็นเชื้อเพลิงหรือสารอ่ืนๆ เพื่อใช้ ใหญ่ท่ีอาจเป็นแท่นขุดเจาะต่างๆ ที่เคย ให้ non-equilibrium plasma ที่ความดัน ในอุตสาหกรรม แต่นอกเหนือจากนี้ก็มี ดูดเอาปิโตรเลียมข้ึนมาใช้ ซ่ึงปัจจุบันน้ี บ ร ร ย า ก า ศ ซ่ึ ง มี อุ ณ ห ภู มิ ตำ่ � อ ย่ า ง มี แนวคิดจากกลุ่มนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย กม็ กี ารใชก้ ารอัดกา๊ ซ CO2 เข้าไปในชอ่ ง ประสิทธิภาพ ใช้ต้นทุนตำ่� โดยอาศัย คิวชู และสถาบัน National Institute ว่างของชั้นหินเพื่อทดแทนปิโตรเลียมท่ี เคร่ืองปฏิกรณ์แบบ DBD packed bed of Advanced Industrial Science and ขุดข้ึนมาอยู่แล้ว โดยเสนอว่าอาจหาวิธี plasma reactor ซึ่งให้ตัวกลางท่ีมีความ Technology ประเทศญปี่ ุ่น[14] ซ่งึ ได้ลอง ใดวิธีหนึ่งในการแยกเอาออกซิเจนและ พิเศษในการใช้กระทำ�การแปลงสภาพ คำ�นวณจำ�ลองผลการดูดอากาศปกติ ไนโตรเจนขึ้นมาตามท่อเพ่ือปล่อยกลับ 44 มถิ ุนายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั รูปที่ 5 แนวคิดในการดูดก๊าซ ออกมาจากชั้นบรรยากาศโดยตรงโดยอาศัย DAC เพื่อไปเก็บในบ่อน้ำ� นำ้�แข็งแห้งท่ีมีผู้ทดลองเก็บไว้ ในตู้แช่ท่ี มันและก๊าซธรรมชาติหรือแหล่งโพรงเก็บใต้ดิน และปล่อยเฉพาะออกซิเจน และไนโตรเจน คืนสู่ชั้น มีอุณหภูมิเย็นจัดในระดับเดียวกันกับขั้ว บรรยากาศ (ที่มา : [14]) โลกกลับระเหิดหายไปเม่ือเก็บไว้นานๆ เพราะความแตกต่างของความดันของ ออกสู่บรรยากาศ และแยกเอา CO2 เคยมีการมองว่าจะมีโอกาสไหม ก๊าซท่ีพื้นผิวน้ำ�แข็งแห้งกับความดันย่อย ออกไปอีกทางหน่ึง ดังรูปที่ 5 ทั้งนี้ใน ท่ีคาร์บอนไดออกไซด์จะตกลงมาเป็น ในอากาศมีค่าแตกต่างกัน จึงเกิดการ รายงานวิจัย ทีมวิจัยยังได้หยิบยกกรณี ละอองหิมะที่ขั้วโลกใต้ เพราะอุณหภูมิ ถ่ายเทมวลและเกิดการระเหิดออกไป ตัวอย่างดว้ ยว่าเกอื บ 95 เปอร์เซ็นต์ของ ท่ีหนาวเย็นที่สุดในโลกท่ีเคยวัดได้ ใน น่ันเอง คาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกอัดฉีดเข้าไป ทวีปแอนตาร์กติกาในปี พ.ศ. 2526 คือ อย่างไรก็ตาม ด้วยความหนาวเย็น ในช้ันหินบะซอลต์ท่ีเกาะไอซ์แลนด์โดย -89.2 องศาเซลเซียส ซึ่งท่ีอุณหภูมิ ของข้ัวโลกใต้เป็นตัวช่วย การแยก บริษทั สตารต์ อัปชอื่ CarbFix ทีบ่ ลิ เกตส์ นี้คาร์บอนไดออกไซด์จะตกลงมาเป็น คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากบรรยากาศก็ สนับสนุน ซ่ึงสำ�นักงานต้ังอยู่ท่ีนคร ละอองของแข็งบนพื้นร่วมกับหมอก ยังกระท�ำ ได้งา่ ยกว่าทอ่ี น่ื ๆ บนโลก จึงมีผู้ เรคยาวกิ (Reykjavik) ได้กลายเปน็ หินแร่ ละอองน้ำ�ที่กลายเป็นละอองผลึกของ เสนอแนวคดิ ในการตงั้ โรงงานในการแยก คารบ์ อเนตภายในเวลา 2 ปเี ทา่ นน้ั (https:// แข็งเล็กๆ ท่ีปลิวไปมาพร้อมกับสายลม คาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจากอากาศที่ www.carbfix.com/) และยังอ้างอิงถึง ท่ีเย็นยะเยือก เช่นเดียวกับพื้นท่ีบริเวณ บริเวณขั้วโลก[16] โดยเสนอให้ติดต้ังโรง การคาดคะเนเอาไว้ว่า หากเก็บกักใน ข้ัวดาวหรือขั้วโลกของดาวอังคาร แต่ก็มี แยก CO2 ถงึ 440 แหง่ ที่จ่ายกำ�ลงั ระบบ หมู่เกาะญ่ีปุ่น CO2 แค่เพียงในญ่ีปุ่นก็มี ผู้ถกเถียง[15] วา่ การจะเกดิ ปรากฏการณ์ ทำ�ความเย็นโดยโรงไฟฟ้าพลังลมขนาด ความจใุ นการกกั เกบ็ CO2 ถงึ 100 กกิ ะตนั เช่นนั้นขึ้น ขึ้นกับความดันย่อยของ 1200 เมกะวตั ต์ 16 แห่ง (Gt) แล้ว ซึ่งเทียบเท่ากับปริมาณการ คาร์บอนไดออกไซด์ด้วย บนโลกท่ีมี เพ่ือทำ�ความเย็นเพ่ิมให้กับอากาศที่ ปลดปล่อย CO2 ท่ีญ่ีปุ่นปล่อยออกมาสู่ ความดันย่อยของคาร์บอนไดออกไซด์ ดูดเข้าไปในโรงแยกโดยอาศัยไนโตรเจน บรรยากาศเป็นเวลาถึง 100 ปที ีเดยี ว น้อย คาร์บอนไดออกไซด์แข็งหรือ เหลวเปน็ สารทำ�ความเย็น กอ่ ใหเ้ กดิ หมิ ะ น�้ำ แขง็ แหง้ ซง่ึ เปน็ ปยุ คารบ์ อนไดออกไซด์ แข็งในสภาพเย็นจัด แล้วนำ�ไปถมที่ใน หลุมซึ่งขุดไว้ขนาด 380x380x10 เมตร หลายๆ หลุม ซึ่งเม่ือนำ�ปริมาตรของ ทุกหลุมมาคิดรวมกันก็จะมีขนาดโดย รวมแล้วเทียบเท่ากับกว้างยาวด้านละ 2 กิโลเมตร ลึก 160 เมตร ซง่ึ เขาคำ�นวณ ว่าภายใน 1 ปีจะสามารถเก็บ CO2 ได้ เ ที ย บ เ ท่ า กั บ ป ริ ม า ณ ค า ร์ บ อ น ถึ ง 2.24x10-3 กิกะตนั เลยทีเดียว แตแ่ น่นอน วา่ แผนนเ้ี ปน็ เพยี งการเสนอขนึ้ มาเทา่ นนั้ การดำ�เนินงานคงจะต้องเป็นโครงการ ใหญ่ระดบั โลก ซ่ึงเกดิ ข้นึ ไมง่ ่ายนกั 45 มิถุนายน 2564
รวอ้ ทิ ยยพานั ในบทความตอนนี้ทั้งหมด เราพูด ถึงภาพรวมของวิธีการต่างๆ นานา ที่มี ผู้ประดิษฐ์ คิดค้น วิจัย เสนอกันขึ้นมา เพ่ือจัดการกับปัญหาของส่ิงแวดล้อม ที่เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ แต่อัน ที่จรงิ แลว้ คาร์บอนไดออกไซด์ทด่ี เู หมอื น จะเป็นตัวร้ายก็มีประโยชน์ต่อการนำ� ไปใช้งานของมนุษย์อย่างมหาศาลเช่น เดยี วกนั มาดูกันต่อในตอนหน้านะครับ วา่ มนั เอาไปใชท้ �ำ อะไรไดบ้ า้ ง แหลง่ ขอ้ มลู อ้างอิง 1. https://phys.org/news/2017-03-science-carbon-dioxide-climate.html 2. https://www.ncdc.noaa.gov/sotc/global/201913 3. https://public.wmo.int/en/media/press-release/new-climate-predictions-increase-likelihood-of-temporarily-reaching-15-%C2%B0c-next-5 4. http://shorturl.at/koNV5 5. https://phys.org/news/2016-07-ocean-acidification-impact-calcareous-phytoplankton.html 6. Lietzke, M. H., & Mullins, C. (1981). The thermal decomposition of carbon dioxide. Journal of Inorganic and Nuclear Chemistry, 43(8), 1769–1771. doi:10.1016/0022-1902(81)80381-8 7. https://www.scientificamerican.com/article/turning-carbon-dioxide-back-into-fuel/ 8. https://phys.org/news/2021-03-catalytic-hydrogenation-carbon-dioxide-methanol.html 9. https://phys.org/news/2021-05-tuning-reaction-barriers-carbon-dioxide.html 10. https://phys.org/news/2021-05-catalyst-boosts-carbon-dioxide-electroreduction.html 11. https://phys.org/news/2021-05-nickel-atom-aids-carbon-dioxide.html 12. https://pubs.rsc.org/en/content/articlelanding/2021/CC/D0CC07318K#!divAbstract 13. https://pubs.rsc.org/en/content/articlelanding/2021/GC/D0GC03779F#!divAbstract 14. https://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/ghg.2099 15. https://wattsupwiththat.com/2009/06/13/results-lab-experiment-regarding-co2-snow-in-antarctica-at-113f-80-5c-not-possible/ 16. Agee, E., Orton, A., & Rogers, J. (2013). CO2 Snow Deposition in Antarctica to Curtail Anthropogenic Global Warming. Journal of Applied Meteorology and Climatology, 52(2), 281–288. doi:10.1175/jamc-d-12-0110.1 46 มถิ นุ ายน 2564
สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อ่นุ ใจ ภาควชิ าชีววทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ผศ. ดร.ปว๋ ยอุ่นใจ | http://www.ounjailab.com นกั วิจัยชวี ฟสิ กิ สแ์ ละอาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล นกั สอ่ื สารวิทยาศาสตร์ นักเขยี น ศลิ ปินภาพสามมติ ิ และผู้ประดิษฐ์ฟ อนต์ไทย มคี วามสนใจทง้ั ในดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี งานศิลปะและบทกวี แอดมินและผรู้ ว่ มก่อตง้ั เพจ FB: ToxicAnt เพราะทุกสิ่งลว้ นเปน็ พิษ “สายพัั นธุ์์�โควิิด” ชื่�่อนั้้�นสำ�ำ คััญไฉน ? สำำ�คัญั มากครัับเพราะถ้้าชื่่�อเมือื งได้ถ้ ูกู ขนานนามเป็็นชื่่�อสายพัันธุ์์�โควิิด ไม่ว่ ่า่ จะคิิดเดินิ ทางไปที่่�ไหน ก็็เป็น็ เรื่่�องน่า่ หวาดหวั่่�นใจ ของเจ้้าบ้า้ นที่่�หมายจะไปเยือื น 47 มิถนุ ายน 2564
สภากาแฟ ยิง่ ถ้าเป็นสายพันธุ์ดังๆ ด้วย อังกฤษ สายพันธุ์แอฟริกาใต้ สายพันธุ์ หน่ึงในผู้ร่วมตั้งช่ือไวรัสสายพันธุ์กลาย แล้ว เชิงรุกที่ด่านกักกัน บราซลิ และอนื่ ๆ อีกมากมาย ในต�ำ นานวา่ 501Y.V2 ตามต�ำ แหน่งการ ตอ้ งมา จัดไปเข้มๆ เเบบเตม็ สตรมี แบบหลังสดุ นี้ สือ่ ชอบ เอาแบบคุน้ ๆ กลายพันธ์ุบนโปรตีนหนามที่กรดอะมิโน นักวิชาการเขาอุตส่าห์หาช่ือจำ�ยากๆ จ�ำ งา่ ย ใกลต้ วั จนหลายคนถงึ กบั คอ่ นขอด ตำ�แหน่ง 501 และลำ�ดับในการเจอสาย บางทีก็มาจากการวิเคราะห์วงศ์วานว่าน ว่าสอ่ื นน่ั แหละทใ่ี ชเ้ อาไปเรยี กกนั เองเพราะ พนั ธุก์ ลายสดุ แสบตวั นว้ี า่ เปน็ เวอรช์ นั 2 เครอื บางทกี ็มาจากการจดั จ�ำ แนกต้นตอ ช่ือแบบนี้มันงา่ ยและมคี วามหมายในตัว 501Y.V1 คือสายพันธุ์ไวรัสจาก ความใกล้ชิดและความสัมพันธ์กันทาง สายพนั ธช์ุ อ่ื เมอื งจงึ ถกู กระจายใชไ้ ปทว่ั อังกฤษที่ระบาดได้ไวกว่าสายพันธ์ุดั้งเดิม วิวัฒนาการ และในทันทีที่ช่ือประเทศหรือชื่อเมืองถูก ทเ่ี คยระบาดอยใู่ นชว่ งแรกอยเู่ ยอะ จนยดึ ทเ่ี อามาใชบ้ อ่ ยเรยี กวา่ ระบบแพนโกลนิ เอามาใช้ ดรามา่ จะบังเกดิ ขน้ึ ในบดั ดล พน้ื ทก่ี ารระบาดไปในหลายประเทศในยโุ รป (PANGO Lineage) ซงึ่ จะใชต้ วั อกั ษร A B C ดราม่าแรกมาต้ังแต่ไวรัสน้ียังไม่ได้ เรียกว่าเบียดเอาสายพันธุ์ด้ังเดิมชิดซ้าย ตามดว้ ย . (จดุ ) และตวั เลขตามความหา่ งชน้ั ช่ืออย่างเป็นทางการ เพราะแม้หลายคน หายไปเลย จนถกู จบั ขนึ้ ท�ำ เนยี บ “สายพนั ธ์ุ หรือใกล้เคยี งกันของเทือกเถาเหลา่ กอ จะเรียกชื่อไวรัสน้ีว่า nCoV-2019 หรือ ทค่ี วรกงั วล” หรอื “variants of concern” เช่น B.1.1.7, B.1.351, B.1.617.2 novel coronavirus-2019 แต่กระเเส ตระกลู 501Y แสบทุกตวั เวอรช์ นั 2 และ C.36.3 ในสอ่ื ฝง่ั ยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ ากลบั เรยี ก จากแอฟรกิ าใต้ และเวอรช์ นั 3 จากบราซลิ ซงึ่ เอาตรงๆ เปน็ ระบบทอ่ี าจจะจ�ำ ยาก “ไวรัสจนี (China virus)” บ้าง ไวรัสอฮู่ ่ัน ก็รา้ ยไม่แพ้เบอร์ 1 แมจ้ ะระบาดไม่ดเุ ทา่ ไปไมน่ ดิ เลยละ่ เเตเ่ จอบอ่ ยในสอ่ื คนกเ็ ลย (Wuhan virus) บา้ ง แต่ดันมีการกลายพันธุ์ท่ีวัคซีนเอาไม่อยู่ เรมิ่ ชนิ ชา เรยี กไปเรยี กมากพ็ อตดิ ปากกนั จนต่อมา ภายหลังจากการประชุม ก็เลยถูกจับข้ึนทำ�เนียบ “สายพันธ์ุที่ควร พอสมควร ทเ่ี ผด็ รอ้ นอยหู่ ลายครง้ั องคก์ ารอนามยั โลก กงั วล” ไปอยกู่ ะรุ่นพ่เี บอร์ 1 แม้ชื่อแบบระบบแพนโกลินน้ีจะ ก็ได้เสนอชื่ออย่างเป็นทางการให้ไวรัส “แต่ชื่อ 501Y.V2 มันเรียกยาก ส า ม า ร ถ บ่ ง ช้ี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น ข อ ง นี้ว่า SARS-CoV-2 หรือ Severe Acute แถมยงั เปน็ ชอ่ื ทเ่ี หย่ มาก ใครจะอยากเรยี ก เชื้อแต่ละสายพันธ์ุได้ดีระดับหน่ึง แต่ Respiratory Syndrome Coronavirus 2 501Y.V2 บอ่ ยๆ” ซาลมิ กล่าว และแมจ้ ะ หลายคนกลับมองว่ามันจำ�ยาก และ และหลังจากการรณรงค์อยู่พักใหญ่ มชี อ่ื เรยี กตามระบบแพนโกลนิ วา่ B.1.351 มันแทบจะไม่ได้สื่ออะไรเลยในสายตา ค�ำ วา่ ไวรสั อฮู่ น่ั หรอื ไวรสั จนี จงึ คอ่ ยๆ ซาหาย แต่ก็ยังฟังดูยากอยู่ ท้ายสุด คนก็หัน ของคนท่ัวไป เพราะจะว่าไปคนส่วนใหญ่ ไปจากสื่อ แต่แม้คำ�ว่าอู่ฮ่ันและจีนจะถูก กลับไปเรียกสายพนั ธุแ์ อฟรกิ าใตอ้ ยู่ดี ก็ไม่ได้จะสนใจตัวเลขโค้ดลับของแต่ละ ลบหายไปจากชือ่ แตพ่ อมีสายพนั ธกุ์ ลาย และเม่ือเดือนพฤษภาคมท่ีผ่านมา สายพันธุ์น้ันเท่าไรหรอก มิหนำ�ซำ้�กลับ โผลม่ า กย็ งั เรยี กชอ่ื แบบปา้ ยประเทศอย่ดู ี นี้เอง ทางสาธารณสุขของอังกฤษนั้น ตอ้ งจ�ำ ตวั เลขเยอะเเยะเตม็ ไปหมด อา่ นไป อังกฤษ แอฟริกาใต้ บราซิล ได้ขนานนามไวรัสสายพันธ์ุใหม่ C.36.3 อ่านมางง สับสนชีวติ ไดอ้ กี แคลฟิ อรเ์ นยี นวิ ยอรก์ โดนกนั มาหมดแลว้ ท่ีมีการเจอในนักท่องเท่ียวต่างชาติจาก ง่ายที่สุด ไม่คิดมาก ตั้งมันตามท่ี ทุกตัวได้พื้นที่ส่ือหมดและได้กลายเป็น ประเทศอียิปต์ แต่เคยถูกรีพอร์ตใน ที่เจอดีกว่า จะได้รู้ว่าต้นตอมาจากไหน ท่ีกล่าวขวัญถึงอย่างกว้างขวาง ถ้วนท่ัว ฐานขอ้ มลู GISAID ไว้โดยนกั วทิ ยาศาสตร์ เจอที่ไหน ใหข้ นานนามตามชื่อเมอื งหรอื และเทา่ เทยี ม ไทย ว่าเป็นไวรัสสายพันธุ์ไทย/อียิปต์ ประเทศน้ันไปเลย จัดไปให้เป็นเกียรติ ซาลิม อับดลุ คาริม (Salim Abdool ซ่ึงน่ันทำ�ให้หลายภาคส่วนออกมาดิ้นว่า เป็นศรีแก่สถานที่ท่ีพบเป็นคร้ังแรกแบบ Karim) อดีตประธานคณะท่ีปรึกษาคณะ หา้ มเรยี กแบบน้ี เพราะจะท�ำ ใหค้ วามมนั่ ใจ เน้นๆ เช่น สายพันธุ์เคนต์หรือสายพันธ์ุ ท�ำ งานโควิด 19 ของประเทศแอฟรกิ าใต้ ของประชาชนลดลง 48 มถิ นุ ายน 2564
สภากาแฟ 49 มิถุนายน 2564
สภากาแฟ ท่ีจริงแล้ว ใครไม่โดนกับตัว อาจจะ Microbiology อีกที การเรียกตามสถานที่อยู่ดี เพราะมีความ ไมเ่ ขา้ ใจ เพราะการเรยี กชอ่ื สายพนั ธ์ุไวรสั ถา้ วา่ ตามองคก์ ารอนามยั โลก ตอนน้ี รู้สึกว่าจำ�ง่ายและสามารถเช่ือมโยงได้ใน ตามถนิ่ ทพ่ี บนน้ั สรา้ งปญั หาอยา่ งมหาศาล สายพนั ธก์ุ ลายทส่ี �ำ คญั ๆ โดยเฉพาะอยา่ ง ชีวติ จรงิ มากกวา่ แคต่ วั อกั ษรกรกี ตวั นงึ ในทอ้ งถน่ิ เพราะในความรสู้ กึ ของประชาชน ยงิ่ พวกสายพนั ธก์ุ ลายควรกงั วล (variants และยงั มอี ยรู่ าวๆ สบิ เปอรเ์ ซน็ ตท์ อี่ าจ มันไม่ได้เป็นเกียรติเป็นศรีอะไรเลยที่ of concern) และสายพันธ์ุกลายควรจับ จะละวางการเรียกสายพันธุ์ตามประเทศ ท้องถิ่นน้ันได้ค้นพบสายพันธ์ุ ไวรัส ตามอง (variants under investigation) จะได้ แต่จะอาจจะยังเรียกตามเคลดหรือตาม กลายพันธุ์ตัวใหม่ๆ ท่ีอาจจะมีพิษสง ชื่อกรีก ในขณะท่ีตัวไม่ค่อยสำ�คัญหรือ ระบบแพนโกลินแทนกเ็ ปน็ ได้ รุนแรงกว่าเดิม แต่กลับเหมือนเป็นการ ดแู ลว้ ไมน่ า่ จะมแี ววรา้ ยกจ็ ะละเอาไวก้ อ่ น และสายพันธ์ุไทย/อียิปต์ ...ดีแล้ว ป้ายโทษ ปักหมุดว่าท้องถ่ินน่ีแหละคือ คนจะได้ไม่สับสน ทย่ี งั ไมด่ งั และยงั เเพรไ่ มห่ นกั เพราะถา้ ดงั ต้นตอ คือ hotspot คือจุดเริ่มระบาด สายพันธ์ุ B.1.1.7 หรือสายพนั ธุ์อังกฤษ และแพร่กระจายเมื่อไร มันก็อาจจะได้ ทง้ั ทจี่ รงิ แลว้ การเจออาจจะเจอแคใ่ น state ตอนนี้ไดช้ ่ือเปน็ แอลฟา ชื่อภาษากรีกมา และท้ายที่สุดก็อาจจะ quarantine แตย่ ังไมไ่ ดม้ ีการระบาดก็ได้ สายพนั ธ์ุ B.1.351 หรอื สายพนั ธเ์ุ เอฟรกิ าใต้ มีคนย้อนรอยไปจนเจอได้อยู่ดีว่าไวรัสนี้ น่ีเป็นประเด็นอ่อนไหว และอาจจะ ตอนนี้ได้ช่อื เปน็ บตี า คน้ พบในประเทศไหน แตต่ อนนี้ เทา่ ทผ่ี ม ทำ�ให้นักการเมืองและกลุ่มผู้บริหารเร่ิม สายพันธุ์ P.1 หรือสายพันธุ์บราซิล เริ่มเห็น ...ถือเป็นนิมิตหมายท่ีดีครับ ไม่สบายใจ ซึ่งอาจจะทำ�ให้เกิดความไม่ ตอนนี้ไดช้ ่ือเปน็ แกมมา เพราะสื่อส่วนใหญ่เร่ิมยอมรับเเละทำ�ให้ โปร่งใสในการรายงานสถานการณ์ของ สายพันธุ์ B.1.617.2 หรือสายพันธ์ุ ตอนนี้ปัญหาในเรื่องการเพ่งโทษประเทศ การตดิ เชอ้ื และถา้ หากขอ้ มลู ถกู บดิ เบอื น อินเดยี ตอนน้ีไดช้ อ่ื เป็น เดลตา ที่พบนัน้ ลดลงไปได้ไมม่ ากกน็ อ้ ย... ไปมากจนประชาชนหมดความเชอ่ื ถอื และ สว่ นสายพนั ธ์ุอืน่ ๆ ท่ีเบากวา่ ก็จะได้ ทวา่ นกั วทิ ยห์ ลายคนยงั แอบหงดุ หงดิ เพิกเฉยต่อการออกมาตรการควบคุมโรค ชอ่ื เปน็ อกั ษรกรกี เชน่ กนั อยา่ งเอปไซลอน และกังวล เพราะรู้สึกว่าตัวอักษรกรีก จากภาครัฐ ก็จะเกิดเป็นปัญหาท่ียิ่งใหญ่ ซตี า และอืน่ ๆ ไปกอ่ น มันไม่ได้มีมากขนาดนั้น และถ้าไวรัส ระดบั ประเทศขึ้นมาได้ ค�ำ ถามคอื มชี อ่ื ใหมแ่ ลว้ คนจะใชห้ รอื ไม่ ? สายพนั ธก์ุ ลายมนั อบุ ตั ขิ น้ึ มาเยอะจนเกนิ นกั วทิ ยม์ ากมายจงึ เรม่ิ ออกมาทกั ทว้ ง จากการสัมภาษณ์ผู้อ่านของวารสาร จำ�นวนจะท�ำ ยงั ไง ! และขอรณรงค์ใหป้ ระชาคมโลกเลกิ เรยี ก เนเจอร์ หรอื เนเจอร์โพล จ�ำ นวน 1362 คน สำ�หรับผม ได้แต่หวังว่าอย่าให้มี และเลิกขนานนามไวรัสตามช่ือประเทศ ซ่ึงประมาณการได้ว่าส่วนใหญ่น่าจะเป็น อุบัติใหม่เกิดขึ้นมามากขนาดน้ันเลย แต่ให้หาวิธีมาตรฐานในการเรียกช่ือไวรัส พวกนกั วชิ าการ อาจารย์ และนกั วจิ ยั พบวา่ ปล่อยบางตัวฟรีไว้บ้างก็ได้ ให้มีตัวอักษร จดหมายมากมายร่อนไปตามส่อื ตา่ งๆ ทง้ั โดยสว่ นมากราวๆ สสี่ ิบเปอร์เซ็นต์ก็ยนิ ดี เหลือเยอะๆ จะดีมาก วารสารวทิ ยาศาสตรช์ อื่ ดงั อยา่ ง Science, และพรอ้ มทจ่ี ะยอมรบั ขอ้ เสนอแนะเกณฑ์ เ พ ร า ะ ไ ม่ อ ย า ก เ จ อ ตั ว ใ ห ม่ จ ริ ง ๆ The Lancet และ Nature รวมท้งั กระทุ้ง การตงั้ ชือ่ ใหม่ของ WHO บ่องตง แรงๆ ใหอ้ งคก์ ารอนามยั โลกรบี ออกมาหา ในขณะทร่ี าวๆ สามสบิ เปอรเ์ ซน็ ตบ์ อกวา่ อา่ นเพม่ิ เตมิ เกณฑ์ในการเรยี กชอ่ื ไวรสั เสยี ใหมใ่ หเ้ หมาะสม ยนิ ดใี ช้ แตอ่ าจจะใชร้ ว่ มๆ รวมๆ กบั ของเกา่ ในทส่ี ดุ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ท่ี ไปกอ่ นตามสถานการณ์ กนั คนไมเ่ ข้าใจ https://www.nature.com/articles/d41586-021-00105-z เจนวี าก็ไดอ้ อกมาประกาศเกณฑ์ใหม่ เมอ่ื แต่แม้ WHO จะพยายามออกมามี https://www.nature.com/articles/d41586-021-00097-w วันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ซ่งึ ราย บทบาทในการต้ังชื่อไวรัสให้ใหม่ แต่ก็ https://www.nature.com/articles/d41586-020-00458-x ละเอยี ดจะลงเผยแพรใ่ นวารสาร Nature ยังคงมีคนยืนกรานว่าจะยังคงยึดมั่นกับ https://www.nature.com/articles/d41586-021-01483-0 50 มถิ นุ ายน 2564
Search