Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

Published by Thalanglibrary, 2020-08-17 03:20:42

Description: คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

Search

Read the Text Version

2.2.16 พนื้ ท่ีจอดรถอาจกำ�หนดใหเ้ ป็นพื้นทสี่ �ำ หรับการอบอุ่นร่างกาย โดยนักกีฬาจะเดินทางมาจดุ เริ่มตน้ เมือ่ ถึงเวลาแขง่ ขนั แลว้ การแบ่งพน้ื ทจ่ี อดรถเป็นโซนตามเวลาปลอ่ ยตวั จะสะดวกในการบรหิ ารจัดการ 2.2.17 เนอ่ื งจากแบง่ การปลอ่ ยตวั เปน็ ชว่ งเวลา จะท�ำ ใหน้ กั วงิ่ ชดุ ทปี่ ลอ่ ยตวั รอบหลงั จะเดนิ ทางมาชา้ กวา่ ชุดแรก ดังนั้นควรระวงั เสน้ ทางสญั จรตดั เสน้ ทางว่งิ 2.2.18 กรณที ผี่ ู้เข้ารว่ มการแข่งขันทม่ี าจากตา่ งประเทศ ขอให้ยึดถือประกาศของทางราชการในช่วง เวลาน้ันๆ เปน็ ส�ำ คัญ 2.3 มาตรการในการทำ�ความสะอาด 2.3.1 ให้มีการทำ�ความสะอาดจดุ ทมี่ ีการสัมผสั บอ่ ย เช่น ลูกบิดประตูเข้า-ออก ประตหู ้องสขุ า 2.3.2 จดั ใหม้ ีถงั ขยะ กระจายอยหู่ ลายๆ แห่ง และจัดใหม้ ผี ้ดู ูแลเก็บขยะอยู่ตลอดเวลา 2.3.3 กรณีมรี ถรับ-สง่ ผ้เู ข้ารว่ มการแข่งขนั ควรท�ำ ความสะอาดเบาะรถทกุ ครัง้ ท่ีเปลย่ี นรอบผ้โู ดยสาร   45  

แนวทางการปฏิบัตสิ ำ�หรับผอู้ อกบูธรา้ นคา้ 1.1 ผอู้ อกบูธรา้ นคา้ ควรท�ำ การลงทะเบยี นการเปดิ ขายสินค้า 1.2 ทำ�ความสะอาดอปุ กรณ์ภายในบธู จดุ ที่มีการสมั ผสั บ่อยทกุ 30 นาที 1.3 จัดเตรียมอุปกรณล์ ้างมอื แอลกอฮอล์ เจล หรอื น้ำ�ยาฆา่ เชื้อโรคในบรเิ วณพืน้ ทบ่ี ริการ 1.4 ท�ำ สญั ลักษณเ์ วน้ ระยะหา่ งของจดุ บริการอยา่ งน้อย 1 เมตร ในบรเิ วณทีม่ ีทีน่ ั่งหรอื มกี ารตอ่ ควิ 1.5 แนะนำ�การจา่ ยค่าบริการผา่ นแอปพลิเคชัน 1.6 ต้องสวมหน้ากากอนามัยหรอื หน้ากากผ้าตลอดเวลาทำ�งาน 1.7 ตลอดการทำ�งานควรรกั ษาระยะห่าง 1-2 เมตร จากลกู ค้าโดยเฉพาะชว่ งสนทนา 1.8 ควบคุม และกำ�กบั และดูแลผูท้ ่ีทำ�การเข้าชมสนิ ค้าใหท้ ำ�ตามมาตรการหลัก 1.9 สร้างความตระหนักรู้ และเนน้ ย�ำ้ วิธีปฏิบัติ COVID-19 4 6   

วิง่ อยา่ งปลอดภยั ไร้ COVID - 19   47  

แนวทางการปฏบิ ัตสิ ำ�หรับผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม นยิ าม : ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ได้แก่ นักกีฬา ผู้ติดตาม ผเู้ ขา้ ชมงาน EXPO 1. การเตรยี มตัวกอ่ นการแขง่ ขัน 1.1 ผูเ้ ขา้ รว่ มแข่งขันไมค่ วรมีอาการปว่ ย 1.2 ผ้เู ขา้ ร่วมงานไม่ควรมีอายเุ กิน 65 ปี 1.3 ควรทำ�การรับรองตนเอง โดยไม่ไปในพื้นท่ีเสี่ยงการระบาดก่อนการแข่งขัน 14 วัน หรืออาจใช้ แอปพลิเคชัน “หมอชนะ” แสดงประวัติเสน้ ทางการเดนิ ทาง 1.4 กรณีท่ีมีผู้สมัครท่ีมีความเส่ียงควรยกเลิกการแข่งขัน หรือควรจะดำ�เนินการตรวจร่างกายหาไวรัส COVID – 19 และสง่ ใบรับรองแพทย์เพอ่ื ยนื ยนั 1.5 ต้องสวมหนา้ กากอนามยั หรือหน้ากากผ้าเม่ือเข้าในบรเิ วณงาน 2. ระหว่าง และหลังการแขง่ ขัน 2.1 ผู้เขา้ แข่งขันต้องทำ�การ Check In – Out ในแอปพลเิ คชนั “ไทยชนะ” ก่อนเข้าสถานทแี่ ข่งขันและ หลังออกจากสถานที่แข่งขนั 2.2 ต้องสวมหนา้ กากอนามยั หรือหน้ากากผา้ เมื่อเขา้ ในบรเิ วณงาน 2.3 ส�ำ หรับผู้รว่ มแข่งขันใหห้ น้ากากอนามยั หรอื หนา้ กากผ้าเป็นอปุ กรณ์บังคบั โดยขณะท�ำ การว่ิงไม่ควร ใส่หน้ากากผ้า แต่เป็นข้อบังคับให้ใช้ในช่วงก่อน และหลังการแข่งขัน เช่น ในจุดบริการอาหาร และเครื่องดื่ม หรือตลอดระยะเวลาทีอ่ ย่ใู นสถานท่ที ี่ปดิ เชน่ ในเต็นท์พยาบาล รถขนสง่ 2.4 หากรู้สึกเหนื่อยหอบ ไม่ควรสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ให้ป้องกันโดยเน้นระยะห่าง 1-2 เมตร 2.5 ล้างมอื ดว้ ยด้วยสบู่ และน้ำ�สะอาด หรอื แอลกอฮอล์ ในโอกาสทเี่ ป็นไปได้ 2.6 ควรลดการพดู คยุ ระยะใกลช้ ิด 4 8   

2.7 หลีกเล่ียงการใชม้ ือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไม่จ�ำ เป็น 2.8 ไมบ่ ้วนน�ำ้ ลาย นำ้�มกู หรอื เสมหะลงพน้ื 2.9 ทิ้งขยะให้ลงถัง และแยกประเภทขยะให้ถกู ต้อง 2.10 ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ควรเผอ่ื เวลาใหม้ าถงึ บรเิ วณงานไมน่ านมาก เชน่ ประมาณ 30 นาทกี อ่ นเวลาปลอ่ ยตวั ทไ่ี ด้เลอื กในการลงทะเบยี นไว้ 2.11 การอบอุน่ ร่างกายควรท�ำ ทีล่ านจอดรถ หรอื ตามจุดที่ก�ำ หนดไว้ เมอื่ ใกล้เวลาปลอ่ ยตัวจงึ เดนิ ทาง เข้าจุด check In 2.12 ควรรักษาระยะหา่ ง 1-2 เมตร จากผู้ร่วมแข่งขัน และเจา้ หนา้ ทีภ่ ายในงาน 2.13 ไมค่ วรวงิ่ ตามนกั กฬี าผู้อ่นื ในระยะประชิด ควรทิง้ ระยะห่างอย่างนอ้ ย 5 เมตรในขณะแขง่ ขัน 2.14 การวง่ิ ไปในระนาบเดยี วกนั จะปลอดภยั กวา่ การวง่ิ ตามดา้ นหลงั แตค่ วรมรี ะยะหา่ งไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร 2.15 พงึ ระลกึ วา่ การชว่ ยเหลอื ตนเอง เชน่ การน�ำ น�ำ้ และอาหารมาจากทพ่ี กั จะปลอดภยั กวา่ การรบั บรกิ าร บนเสน้ ทางแขง่ ขัน 2.16 จดุ บรกิ ารบนเสน้ ทางการแขง่ ขนั อาจไมส่ ะดวกเหมอื นทเี่ คยไดร้ บั เชน่ น�้ำ ดม่ื อาจจะไมม่ กี ารเปดิ ผนกึ หรือจ�ำ นวนจุดบริการอาจมนี อ้ ยลง 2.17 บริเวณเส้นทางการแข่งขันทีเ่ ปน็ ทางโค้ง มักจะมนี ักวิง่ ไปอยูร่ วมกนั ทโี่ ค้งดา้ นใน ในกรณีนข้ี อใหน้ กั ว่งิ ทุกคนระมดั ระวังเปน็ พเิ ศษ 2.18 กรณมี ขี อ้ ตกลงใหเ้ ลือกการรับบริการ ควรปฏบิ ัติใหต้ รงกบั ท่ีได้เลอื กลงทะเบยี นไว้ เชน่ เวลาการ ปลอ่ ยตวั การเลอื กรบั ฝากของ การรบั น�ำ้ ด่มื จากสถานบี ริการ 2.19 หากการแขง่ ขนั ก�ำ หนดใหม้ กี ารตอบแบบสอบถามหลงั เสรจ็ งาน ควรใหค้ วามรว่ มมอื ในการใหข้ อ้ มลู กลับมา เพื่อเป็นเครื่องมใี นการติดตามอาการปว่ ย (ทอี่ าจมี) 2.20 กรณพี บว่าเปน็ ผตู้ ดิ เชอื้ ต้องรบี แจง้ กลับมายงั ฝา่ ยจดั การแข่งขันในทันที   49  

แนวปฏบิ ัติใหม่ส�ำ หรบั นกั วง่ิ  ไปรษณยี /์ รับเอง  จุดรวมตวั  เวลามางาน expo  เวลาปลอ่ ยตวั สมัครแข่งขนั ออนไลน์  ฝาก/ไมฝ่ ากของ  การรบั นำ้�ด่ืม ขัน้ ตอนนี้นักวิ่งตอ้ งเลือก หรอื ทราบ “เวลา”  เช็คอนิ เพอ่ื ยนื ยนั มารว่ มงาน ทีต่ นเองจะมารว่ มในทุกกจิ กรรม  เชค็ อนิ – เอา้ ทแ์ อปพลเิ คชนั “ไทยชนะ”  มาตามเวลาทีไ่ ดเ้ ลือกไว้ Race kit & Expo มารว่ มงานตามเวลาทเ่ี ลอื ก  ไปจดุ เชค็ อนิ กอ่ นเวลาปลอ่ ยตวั 10 นาที และอยูร่ ่วมงานไม่เกิน 2 ชม.  เชค็ อนิ – เอา้ ท์ แอปพลเิ คชนั “ไทยชนะ”  ฝากของ (ถา้ เลอื ก) จดุ เช็คอิน เดินทางมาแข่งขนั โดยยงั ไม่ตอ้ งมาจดุ สตารท์  ไปจดุ ปลอ่ ยตัวกอ่ นเวลาปล่อยตัว ใหอ้ บอ่นุ ร่างกายในจุดท่เี ลือก และคอยเวลา 5 นาที  ถอดหนา้ กากกอ่ นว่ิง ปลอ่ ยตวั แข่งขัน จะปลอ่ ยตวั เป็นกลมุ่ ๆ ให้มาตามเวลาที่เลือก  วง่ิ หา่ งจากคนขา้ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย 5 เมตร  รบั บรกิ ารบนเสน้ ทางตามทเ่ี ลอื ก บนเส้นทาง  กรณหี ยดุ วง่ิ เพอ่ื รบั บรกิ าร เชน่ แพทย์ จดุ บริการอาจมนี ้อยกวา่ ปกติ ควรพกน้ำ�- ขน้ึ รถรบั -สง่ ตอ้ งสวมหนา้ กาก อาหารมาด้วย และรับบริการตามจุดที่เลอื ก  รกั ษาระยะหา่ งการรับของท่ีระลกึ หลงั เส้นขัย  อาหารกลอ่ ง หรือร้านค้าภายนอกท่ี เดินทางกลับโดยเร็วที่สดุ การรับของทร่ี ะลึก ร่วมรายการ และอาหารใหเ้ ปน็ ไปตามท่เี ลอื ก 5 0   

แนวทางการกำ�กับ ติดตาม ประเมินผล   51  

แนวทางการกำ�กับ ติดตาม ประเมนิ ผล การก�ำ กบั ติดตามผลการด�ำ เนินงานตามมาตรการ สว่ นกลาง - กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา - กระทรวงสาธารณสขุ ท�ำ หนา้ ทอ่ี อกคมู่ อื และเกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิ ตามความเหมาะสมกบั พนื้ ทแี่ ละประเภทของกจิ การ พรอ้ มทง้ั ประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ ระดบั จังหวดั - ศปก.จงั หวดั /กทม. ศปก.อ�ำ เภอ/เขต ศปก.ต�ำ บล ศปก.เทศบาลนคร ศปก.เทศบาลเมอื ง และศปก. เมืองพทั ยา ทำ�หน้าที่ติดตาม กํากับ ดูแล ร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด ระดบั อำ�เภอและต�ำ บล - ศปม. จัดกำ�ลังสายตรวจร่วม ตำ�รวจ ทหาร และหน่วยงาน ทีเ่ ก่ียวข้อง ตรวจการประกอบการหรือการจดั กจิ กรรมใหเ้ ป็นไป ตามมาตรการท่ีกำ�หนด 5 2   

แนวทางการก�ำ กบั ติดตาม ประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานตามมาตรการ กรมพลศกึ ษา การกีฬาแห่งประเทศไทย จัดทำ�คู่มือและแนวปฏิบัติ ฯ สำ�หรับผูใ้ หบ้ รกิ าร/ สมาคมกฬี าแห่งประเทศไทย กรมอนามัย ผจู้ ดั การแขง่ ขัน/ผูใ้ ช้บริการ/ กรมควบคมุ โรค การกำ�กับตดิ ตามประเมนิ ผล (แต่ละชนดิ กฬี า) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา ประกาศคมู่ ือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการผ่อนปรนฯ ส�ำ หรับ ผใู้ หบ้ รกิ าร/ผจู้ ดั การแขง่ ขนั /ผู้ใช้บรกิ าร/ การก�ำ กับตดิ ตามประเมินผล (แต่ละชนดิ กฬี า) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จดั ทำ� Sports Platform การแข่งขันกฬี า และการประเมินความพรอ้ มตามเกณฑ์ ผจู้ ดั การแข่งขัน ลงทะเบียนผ่าน Sports Platform การแข่งขันกีฬา และยืนยันการปฏบิ ัตติ ามคมู่ ือ/มาตาการ ศูนย์ปฏิบตั ิการควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.) ติดตาม ก�ำ กับ ดแู ล รว่ มกับ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง จงั หวดั ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ ำ�หนด ดำ�เนนิ การจดั การแขง่ ขันกีฬาตามคู่มอื /แนวปฏบิ ัติ ในรูปแบบ New Normal เพอื่ ลดความแออัดและปอ้ งกันการแพร่ระบาด   53  



ภาคผนวก   55  



เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง ราชกหจิ นจ้าานเุ๒บ๘กษา ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๓ คำส่ังศนู ย์บริหำรสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนำ 2019 (โควิด - 19) ท่ี 5/๒๕๖๓ เรือ่ ง แนวปฏิบตั ติ ำมข้อกำหนดออกตำมควำมในมำตรำ ๙ แห่งพระรำชกำหนดกำรบรหิ ำรรำชกำรในสถำนกำรณฉ์ กุ เฉนิ พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๔) ตำมท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติในกำรประชุมเม่ือวันที่ ๒๖ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ให้ขยำย ระยะเวลำกำรบังคับใช้ประกำศสถำนกำรณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ท่ัวรำชอำณำจักรออกไปตั้งแต่วันท่ี ๑ มิถุนำยน พ.ศ. ๒๕๖๓ จนถึงวันท่ี ๓๐ มิถุนำยน พ.ศ. ๒๕๖๓ นน้ั เพื่อให้กำรปฏิบัติงำนตำมข้อกำหนดออกตำมควำมในมำตรำ ๙ แห่งพระรำชกำหนด กำรบริหำรรำชกำรในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตำมประกำศสถำนกำรณ์ฉกุ เฉนิ และกำรขยำย ระยะเวลำกำรประกำศสถำนกำรณ์ฉุกเฉินดังกล่ำว และตำมคำส่ังนำยกรัฐมนตรีที่ ๕/๒๕๖๓ เรื่อง กำรจัดตั้งหนว่ ยงำนพิเศษเพ่ือปฏิบัติหน้ำทตี่ ำมพระรำชกำหนดกำรบรหิ ำรรำชกำรในสถำนกำรณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวันที่ ๒๕ มีนำคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ อำศัยอำนำจตำมควำมในข้อ ๔ (๒) ของคำส่ังนำยกรัฐมนตรีที่ ๔/๒๕๖๓ เรื่อง แต่งต้ังผู้กำกับ กำรปฏิบัติงำน หัวหน้ำผู้รับผิดชอบและพนักงำนเจ้ำหน้ำท่ีในกำรแก้ไขสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน ลงวันที่ ๒๕ มีนำคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม นำยกรัฐมนตรีในฐำนะผู้อำนวยกำรศูนย์บริหำร สถำนกำรณ์โควิด - 19 จึงมีคำส่ังให้หัวหน้ำผู้รับผิดชอบในกำรแก้ไขสถำนกำรณ์ฉุกเฉินและพนักงำน เจำ้ หน้ำที่ดำเนนิ กำรใหเ้ ปน็ ไปตำมมำตรกำรปอ้ งกนั โรคแนบท้ำยคำสง่ั นี้โดยเคร่งครัด ทัง้ น้ี ตง้ั แต่วันท่ี ๑๕ มิถุนำยน พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป จนกว่ำจะมีคำสั่งเปลย่ี นแปลงเปน็ อยำ่ งอ่ืน สัง่ ณ วันที่ 12 มิถนุ ำยน พ.ศ. ๒๕63 พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชำ นำยกรฐั มนตรี ผอู้ ำนวยกำรศูนยบ์ ริหำรสถำนกำรณโ์ ควดิ - 19   57  

5 8    - ๑๓ - กิจการ/กิจกรรม มาตรการควบคุมหลัก มาตรการเสรมิ หน่วยงานรับผดิ ชอบ ง. สนามกีฬาหรือสถานท่ีเพ่ือการ 1) ทาความสะอาดพ้ืนผิวที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ อุปกรณ์ 1) มีมาตรการคดั กรองไข้ และอาการไอ หอบเหน่อื ย 1) กก. และ สธ. ออกคู่มือ ออกกาลังกาย การเล่นกีฬา หรือเพ่ือการเรียน กีฬา ห้องสุขา และห้องอาบน้า ทั้งก่อนและ จาม หรือเป็นหวัด สาหรับผู้ประกอบการ และเกณฑ์การปฏิบัติ การสอนในทุกประเภทกีฬา ให้เปิด หลงั ให้บริการ และใหก้ าจัดขยะมูลฝอยทกุ วัน พนักงานบริการ ผู้ฝึกสอนหรือคู่ซ้อม และ ตามความเหมาะสมกับ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ ย ก เ ว้ น ส น า มช นโ ค 2) ให้ผู้ประกอบการ พนักงานบริการ ผู้ฝึกสอนหรือ ผู้ใช้บริการหรือนักกีฬา ก่อนเข้าสถานท่ี พ้ื น ท่ี แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท สนามชนไก่ สนามกัดปลา หรือสนาม คู่ซ้อม สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า พร้อมติดสัญลักษณ์แสดงการคัดกรองผ่าน ทั้งน้ี ของกิจการ พร้อมท้ัง การแข่งขันอ่ืนในลักษณะทานองเดียวกัน ตลอดเวลา สาหรับผู้ใช้บริการหรือนัก กีฬา ให้รายงานหน่วยงานรับผิดชอบ กรณีพบผู้ท่ี ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พ ร้ อ ม ยังไม่อนญุ าตให้เปดิ ดาเนนิ การ ต้องสวมหนา้ กากอนามัยหรอื หนา้ กากผา้ ท้ังก่อนและ เขา้ เกณฑ์สอบสวนโรคตามแนวทางท่ีกาหนด ตามเกณฑ์ สถานท่ีที่ได้รับการผ่อนคลายสามารถ หลังใช้บรกิ ารหรือการฝึกซ้อม 2) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี 2) ศ ป ก . จั ง ห วั ด / ก ท ม . จัดให้มีการแข่งขันและถ่ายทอดโทรทัศน์ 3) ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล รวมทั้งบริเวณห้องสุขา ห้องอาบน้า และ ศปก.อาเภอ/เขต ศปก.ตาบล การแข่งขันกีฬาหรือการถ่ายทอดผ่าน หรอื น้ายาฆา่ เชื้อโรค ห้องเปล่ียนเส้ือผ้า ท้ังน้ีให้ทาความสะอาด ศปก.เทศบาลนคร ส่ื อ อื่ น ๆ ได้ แต่ ต้ องไม่ มี ผู้ ชมอยู่ ใน 4) ให้เว้นระยะนั่งหรือยืนอย่างน้อย ๑ เมตร และลด 3) เครื่องปรับอากาศอย่างสม่าเสมอ ศ ป ก . เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง สนามแข่งขัน และผู้จัดการแข่งขันต้อง 5) การใกล้ชิดกันระหว่างการฝึกซ้อม การเรียนการสอน 4) จัดใหม้ รี ะบบควิ และมพี น้ื ท่ีรอควิ ที่มีที่น่ังหรือยืน แ ล ะ ศ ป ก . เ มื อ ง พั ท ย า ดาเนินการตามขั้นตอนและวิธีการท่ี หรอื การแข่งขัน ห่างกันอยา่ งน้อย 1 เมตร ติดตาม กากับ ดูแล ทางราชการกาหนดด้วย ใ ห้ ค ว บ คุ ม จ า น ว น ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า ร มิ ใ ห้ แ อ อั ด ให้ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพน้าในสระว่ายน้า ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ย ง า น หรือจดั รอบการเข้าใช้บริการให้เปน็ ไปตามมาตรการ ให้มีความเป็นกรด - ด่าง ระดับคลอรีนตกค้าง ที่เกี่ยวข้องให้เป็นไป ป้องกันควบคุมโรค อาจพิจารณาจากัดระยะเวลา หรือการตรวจสอบด้วยวิธีอ่ืนให้ได้ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด การใช้บริการ การเรียนการสอน หรือการแข่งขัน มาตรฐานการฆ่าเชื้อโรคของสระว่ายน้า 3) ศปม.จดั กาลงั สายตรวจรว่ ม ไมเ่ กนิ 2 ชั่วโมง ในทุกระบบ และแสดงให้ผู้ใช้บริการทราบ ตารวจทหารและหนว่ ยงาน 6) ให้ควบคุมจานวนผู้ใช้บริการในสระว่ายน้า เป็นประจาทุกวัน ที่เก่ียวข้อง เพ่ือตรวจ โดยคิดเกณฑ์จานวนผู้ใช้บริการ ตามขนาดพื้นที่ 5) อาจให้ผู้ใช้บริการ ผู้ฝึกสอนหรือคู่ซ้อม พนักงาน การประกอบการ ห รื อ ไม่นอ้ ยกวา่ 8 ตารางเมตรตอ่ คน บรกิ ารสวม Face Shield ขณะใช้บรกิ าร การจัดกิจกรรมให้เป็นไป 7) จัดให้มีการให้คาแนะนาผู้ใช้บริการ ตรวจตรา 6) จัดให้มีระบบเก็บข้อมูลและติดตามผู้ฝึกซ้อมหรือ ตามมาตรการทกี่ าหนด ควบคุม กากับการให้บริการและใช้บริการ คู่ซ้อม ผู้ใช้บริการ หรือนักกีฬาได้ทุกคน หากพบ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการควบคุมหลกั อยา่ งเคร่งครัด

- ๑๔ - กิจการ/กจิ กรรม มาตรการควบคมุ หลกั มาตรการเสรมิ หน่วยงานรับผดิ ชอบ 8) ให้กิจการลงทะเบียนและยืนยันการปฏิบัติตาม ผู้ป่วย หรือผู้ท่ีมีอาการเข้าไดก้ ับเกณฑ์สอบสวนโรค มาตรการปอ้ งกันโรคตามทที่ างราชการกาหนด ภายหลังจากการใช้บรกิ ารได้ 9) ให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าและออกจากสถานที่ 7) ให้พิจารณาพัฒนานวัตกรรมการลงทะเบียน และเพ่ิมมาตรการใช้แอปพลิเคชันที่ทางราชการ ก่อนเข้าและออกจากสถานท่ี และระบบจองคิว กาหนด หรือใช้มาตรการควบคุมด้วยการบันทึก แบบออนไลน์ เพื่อใหบ้ รกิ ารรูปแบบใหมใ่ นระยะยาว ขอ้ มูลและรายงานทดแทนได้ จ. ตู้เกม เครื่องเล่นหยอดเหรียญท่ีได้รับ 1) ทาความสะอาดพนื้ ผวิ ทีม่ กี ารสมั ผสั บ่อย ๆ อุปกรณ์ 1) มมี าตรการคัดกรองไข้ และอาการไอ หอบเหนื่อย 1) สธ. ออกคู่มือและเกณฑ์ อนุญาตตามกฎหมายและต้ังอยู่ใน ตู้เกมส์ เครื่องเล่นหยอดเหรียญ และบริเวณ จาม หรือเป็นหวัด สาหรับผู้ประกอบการ การปฏิบัติตามความเหมาะสม ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า คอมมูนิต้ีมอลล์ โดยรอบ ทั้งก่อน และหลังให้บริการ และ พนักงานบริการ และผู้ใช้บริการก่อนเข้าสถานที่ กับพ้ืนที่และประเภท ให้เปิดดาเนินการได้ ใหก้ าจดั ขยะมูลฝอยทกุ วัน พร้อมติดสัญลักษณ์แสดงการคัดกรองผ่าน ท้ังนี้ ของกิจการ พร้อมท้ัง 2) ให้ผู้ประกอบการ พนักงานบริการ และผู้ใช้บริการ ให้รายงานหน่วยงานรับผิดชอบ กรณีพบผู้ที่ ประเมินความพร้อม สวมหน้ากากอนามยั หรอื หนา้ กากผ้าตลอดเวลา เขา้ เกณฑส์ อบสวนโรคตามแนวทางที่กาหนด ตามเกณฑ์ 3) ให้มีจุดบริการล้างมือด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล 2) จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารที่ดี ท้ังน้ี 2) ศ ป ก . จั ง ห วั ด / ก ท ม . หรอื น้ายาฆา่ เชื้อโรค ให้ทาความสะอาดเคร่ืองปรับอากาศอย่าง ศปก.อาเภอ/เขต ศปก.ตาบล 4) ให้เว้นระยะน่ังหรือยืน รว มท้ังเคร่ืองเล่น สม่าเสมอ ศปก.เทศบาลนคร อย่างน้อย ๑ เมตร และลดการใกล้ชิดกันระหว่าง 3) จัดให้มีระบบคิว และมพี ื้นท่ีรอควิ ท่ีมีที่นั่งหรือยืน ศ ป ก . เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง ทากจิ กรรม หา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร แ ล ะ ศ ป ก . เ มื อ ง พั ท ย า 5) ให้ควบคุมจานวนผู้ใช้บริการ มิให้แออัด และจากัด 4) จัดให้มีระบบเก็บข้อมูลและติดตามผู้ใช้บริการ ติ ด ต า ม ก า กั บ ดู แ ล ระยะเวลาการใช้บริการไมเ่ กนิ 2 ชว่ั โมงต่อวัน ต้เู กมส์ เคร่อื งเล่นหยอดเหรียญได้ทุกคน หากพบ ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ย ง า น 6) จัดให้มีการให้คาแนะนาผู้ใช้บริการตรวจตรา ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีอาการเข้าได้กับเกณฑ์สอบสวนโรค ท่ีเกี่ยวข้องให้เป็นไป ควบคุม กากับการให้บริการและใช้บริการ ภายหลังจากการใชบ้ ริการได้ ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการควบคุมหลักอย่างเครง่ ครดั 5) ให้พิจารณาพัฒนานวัตกรรมการลงทะเบียน 3) ศปม. จัดกาลังสายตรวจรว่ ม ก่อนเข้าและออกจากสถานท่ี และระบบจองคิว ตารวจ ทหาร และหน่วยงาน แบบออนไลน์ เพ่ือใหบ้ รกิ ารรูปแบบใหมใ่ นระยะยาว ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือตรวจ   59  



ขอขอบคุณ 1. กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา โดยกองงานคณะกรรมการนโยบายการกฬี าแห่งชาติ 2. การกีฬาแหง่ ประเทศไทย โดยฝา่ ยกีฬาอาชีพและกีฬามวย 3. สมาคมกฬี ากรฑี าแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 4. สมาคมนกั ว่งิ เทรลแหง่ ประเทศไทย 5. สำ�นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) โดยสำ�นักสร้างเสรมิ วถิ ชี วี ิตสขุ ภาวะ 6. สมาพนั ธ์ชมรมเดิน-วิ่งเพื่อสขุ ภาพไทย 7. คณะทำ�งานพัฒนาแนวทางและมาตรการจดั การแขง่ ขันวง่ิ 8. คณะท่ปี รึกษา คณะทป่ี รกึ ษา 1. นายโชติ ตราชู ปลัดกระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา 2. นายก้องศักด ยอดมณี ผู้วา่ การการกีฬาแห่งประเทศไทย 3. นายณฐั วฒุ ิ เรืองเวส รองผวู้ า่ การการกีฬาแหง่ ประเทศไทย ฝ่ายกีฬาอาชีพและสิทธิประโยชน์ 4. นายทนุเกยี รติ จันทรช์ มุ ผ้อู ำ�นวยการฝ่ายกีฬาอาชีพและกฬี ามวย 5. นางบงกชรัตน์ โมลี ผู้อำ�นวยการกองงานคณะกรรมการนโยบายการกฬี าแหง่ ชาติ 6. พล.ต.ต.สุรพงษ์ อารยิ ะมงคล เลขาธกิ ารสมาคมกีฬากรีฑาแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 7. ดร.ชุมพล ครฑุ แก้ว ผ้กู ่อตงั้ สมาคมนกั วงิ่ เทรลแห่งประเทศไทย 8. ดร.นพ.ไพโรจน์ เสานว่ ม ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั สง่ เสรมิ วิถชี วี ติ ภาวะ สำ�นกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) 9. ดร.ณรงค์ เทียมเมฆ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิแผนสง่ เสริมกจิ กรรมทางกาย ส�ำ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) 10. ผศ.ดร.ชัยฤทธิ์ ศลิ าเดช อธิการบดมี หาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง 11. นายประสาร จิรชัยสกุล ประธานสมาพันธช์ มรมเดิน-วิ่งเพ่ือสขุ ภาพไทย 12. นางบัญจรัตน์ สุหฤทด�ำ รง กรรมการสมาพันธช์ มรมเดิน-ว่งิ เพือ่ สุขภาพไทย   61  

6 2