Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

Published by ปริญญา, 2021-11-14 10:51:58

Description: คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

Keywords: ลูกเสือ,วิชาพิเศษ,ระเบียบแถว

Search

Read the Text Version

๔๕ คาแนะนาสาหรับผ้ฝู กึ การใช้คาบอกของผู้ฝึก ให้ใช้คาบอก “แถว – หยุด” เม่ือเท้าข้างใดข้างหน่ึงของลูกเสือ ในแถวตกถึงพื้นก็ได้ โดยยึดถือหลักดังนี้ เมื่อใช้คาบอก “แถว” ในขณะท่ีเท้าข้างใดตกถึงพ้ืนก็ให้คาบอก “หยดุ ” ในขณะทีเ่ ทา้ ขา้ งนนั้ ตกถึงพน้ื ในครง้ั ถัดไป ในการฝึก หากผู้ประสงค์จะให้ลูกเสือปฏิบัติปิดจังหวะก็สามารถกระทาได้โดยให้ยึดถือ เปน็ แนวทางปฏบิ ัตดิ งั นี้ ๑. ให้ช้แี จงใหล้ ูกเสือทราบกอ่ นว่า “ต่อไปจะฝกึ ท่าหยดุ จากการวง่ิ แบบปิดจังหวะ” ๒. คงใช้คาบอก “แถว – หยุด” ตามหลักเกณฑ์ที่กล่าวไว้ข้างต้น เพ่ือจะให้ลูกเสือ ปฏิบตั ิในจังหวะหนึง่ และให้ใชค้ าบอก “ตอ่ ไป” เมอ่ื จะให้ลกู เสอื ปฏิบัตใิ นจังหวะต่อ ๆ ไป ๓. การปฏบิ ตั ิของลูกเสือในจังหวะหน่ึงเมอื่ ไดย้ ินคาบอก “แถว – หยุด” พอสนิ้ คาบอก “หยุด” ไมว่ ่าจะเป็นในขณะท่เี ทา้ ขา้ งใดตกถงึ พื้นกต็ าม ใหก้ ้าวเทา้ อกี ขา้ งหน่งึ ว่ิงไปขา้ งหน้าอกี หนงึ่ กา้ วแลว้ คา้ งไว้ ๔. การปฏิบัติของลกู เสอื ในจังหวะสอง เม่ือได้ยินคาบอก “ตอ่ ไป” ให้ลูกเสอื ก้าวเท้าวิ่ง ตอ่ ไปอกี หนึง่ กา้ วแลว้ ค้างไว้ ๕. การปฏิบัติของลูกเสือในจังหวะสาม เมื่อได้ยินคาบอก “ตอ่ ไป” ให้ลูกเสือก้าวเท้าว่ิง ต่อไปอกี ก้าวหน่งึ แลว้ ค้างไว้ ๖. การปฏิบตั ิของลกู เสือในจงั หวะส่ี เม่อื ไดย้ ินคาบอก “ต่อไป” ให้ก้าวเท้าทีไ่ ม่ไดใ้ ชย้ ืน อยู่กับพื้น เดินต่อไปข้างหน้าอีกคร่ึงก้าว ด้วยการตบฝ่าเท้าลงกับพ้ืนอย่างแข็งแรงน้าหนักตัววางอยู่บนเท้า ทง้ั สองขา้ งมือท้ังสองยงั คงกาหลวม ๆ อยู่เสมออกแล้วค้างไว้ ๗. การปฏิบัตขิ องลูกเสือในจังหวะหา้ เม่ือไดย้ ินคาบอก “ต่อไป” ให้เปล่ียนน้าหนักตัว ไปวางอยู่บนเท้าท่ีวางอยู่ข้างหน้า แล้วชักเท้าข้างที่วางอยู่ข้างหลังมาชิดเท้าท่ีวางอยู่ข้างหน้า พร้อมกับ สะบดั มือทงั้ สองขา้ งลงมาอย่ใู นทา่ ตรงอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรง ท่ำเปลยี่ นเท้ำในเวลำว่งิ ส้ินสดุ คาบอก “เทา้ ” ว่งิ ไปข้างหนา้ ก้าวที่ 1 ว่ิงไปข้างหน้าก้าวที่ 2

๔๖ แล้วกระโดดไปข้างหน้า เทา้ ที่ไม่ได้อยบู่ นพนื้ ออกวิ่งต่อไป รูปท่ี ๔6 ทา่ เปลีย่ นเท้าในเวลาวง่ิ คาบอก “เปล่ียน, เท้า” (คาบอกเปน็ คา ๆ ) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “เปล่ยี น, เท้า” พอส้นิ เสียงคาบอก “เท้า” ไม่ว่าจะเปน็ ในขณะท่ี เท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตาม ให้ก้าววิ่งไปข้างหน้าอีก ๒ ก้าว แล้วย้ังตัวหยุดว่ิงไว้ ต่อจากน้ันให้ใช้เท้าข้างที่ยืน อยู่กับพื้นน้ันก้าวกระโดดไปข้างหน้าอีกครึ่งก้าว ในลาดับต่อไปให้ก้าวเท้าที่ไม่ได้ยืนอยู่กับพื้นออกว่ิงต่อไป ด้วยทา่ ว่งิ ตามปกติ คาแนะนาสาหรบั ผู้ฝึก  ในการฝกึ ผฝู้ กึ จะต้องใช้คาบอก “เปล่ยี น, เทา้ ” โดยใชค้ าบอก “เปลยี่ น” ในขณะท่เี ทา้ ของผรู้ ับการฝึกข้างใดข้างหน่ึงตกถึงพ้ืนก็ได้ และให้ใช้คาบอก “เท้า” ในขณะที่เท้าของผู้รับการฝึกอีกขา้ งหน่งึ ก้าววิง่ ตกถึงพื้นในลาดบั ตดิ ต่อกนั  สาหรับรายละเอียดในเรื่องการใช้คาบอก และการทาท่าเปล่ียนเท้าไปใช้คงมีรายละเอียด เชน่ เดยี วกบั ทีก่ ล่าวไว้ในคาแนะนาสาหรับผู้ฝกึ ของทา่ เปลยี่ นเท้าในเวลาเดิน  ในการฝึกหากผู้ฝึกประสงค์จะให้ลูกเสือปฏิบัติปิดตอนก็สามารถกระทาได้โดยให้ยึดถือ เป็นแนวทางปฏิบัติดังน้ี ชี้แจงลกู เสือทราบกอ่ นว่าจะทาการฝึกปดิ ตอน คงใช้คาบอก “เปลี่ยน, เท้า” ตามหลักเกณฑ์ท่ีกล่าวไว้ เพื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติในตอน ที่หนงึ่ และให้ใช้คาบอก “ตอ่ ไป” เมือ่ จะใหล้ ูกเสอื ปฏิบตั ใิ นตอนตอ่ ๆ ไป การปฏิบัติของลูกเสือในตอนท่ีหน่ึง เมื่อได้ยินคาบอก “เปลี่ยน, เท้า” พอส้ินคาบอก “เทา้ ” ไม่วา่ จะเปน็ ในขณะท่เี ท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตาม ให้กา้ วเท้าอีกข้างหน่ึงวิง่ ไปขา้ งหนา้ อีกก้าวแล้วคา้ งไว้ การปฏิบัติของลูกเสือในตอนที่สอง เม่ือได้ยินคาบอก “ต่อไป” ให้ก้าวเท้าวิ่งต่อไปอีก หนงึ่ กา้ วแล้วค้างไว้ การปฏบิ ตั ิของลูกเสอื ในตอนท่ีสาม เมอ่ื ไดย้ ินคาบอก “ต่อไป” ใหใ้ ช้เทา้ ขา้ งทย่ี ืนอยู่กับ พ้นื กา้ วกระโดดไปข้างหน้าอีกคร่ึงก้าวแล้วค้างไว้ การปฏิบตั ิของลูกเสอื ในตอนท่ีสี่ เมอื่ ไดย้ ินคาบอก “ตอ่ ไป” ใหก้ ้าวเท้าข้างท่ีไม่ได้ใชย้ ืน อยู่กับพน้ื กา้ ววง่ิ ต่อไป

๔๗ ทำ่ เปลย่ี นจำกกำรวงิ่ เป็นกำรเดนิ คาบอก “เดนิ – ทา” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “เดิน – ทา” พอสิ้นเสียงคาบอก “ทา” ไม่ว่าจะเป็นในขณะที่ เท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตามให้ลูกเสือก้าวเท้าวิ่งต่อไปอีก ๓ ก้าว ด้วยอาการย้ังตัวลดความเร็วลงตามลาดับ เม่ือว่ิงต่อไปครบ ๓ ก้าว แล้วให้ยั้งตัวหยุดวิ่งไว้ ในขณะน้ีไม่ว่าจะเป็นเท้าข้างใดตกถึงพ้ืนอยู่ก็ตาม ให้ก้าวเท้า อีกข้างหนึ่งที่ไม่ได้ใช้ยืนอยู่กับพ้ืนเดินไปข้างหน้าอีกหน่ึงก้าวด้วยการตบฝ่าเท้าลงไปกับพื้ นอย่างแข็งแรง แลว้ ใช้เทา้ อีกข้างหนง่ึ ก้าวเดนิ ตอ่ ไปด้วยท่าเดินตามปกติหรือเดนิ สวนสนามก็ได้ คาแนะนาสาหรับผู้ฝกึ ในการฝกึ หากผู้ฝึกประสงคจ์ ะให้ลกู เสือปฏิบัติปดิ จงั หวะก็สามารถกระทาได้ โดยใหย้ ึดถือ เป็นแนวทางปฏิบตั ิดงั น้ี ชแี้ จงใหล้ กู เสอื ทราบกอ่ นว่าจะทาการฝึกปิดจงั หวะ คงใชค้ าบอก “เดนิ – ทา” ตามหลักเกณฑท์ ่ีกล่าวไว้ เม่ือจะให้ลกู เสือปฏิบัติในจังหวะหนงึ่ และใช้คาบอก “ตอ่ ไป” เม่ือจะใหล้ กู เสือปฏบิ ตั ิในจงั หวะต่อ ๆ ไป การปฏิบัติของลูกเสือในจังหวะหนึ่ง เมื่อได้ยินคาบอก “เดิน – ทา” พอ ส้ินคาบอก “ทา” ไม่ว่าจะเป็นในขณะท่ีเท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตาม ให้ก้าวเท้าอีกข้างหนึ่งว่ิงไปข้างหน้าอีกหน่ึงก้าวแล้ว ค้างไว้ การปฏิบัติของลูกเสือในจังหวะสอง เมื่อได้ยินคาบอก “ต่อไป” ให้ก้าวเท้าว่ิงต่อไป อกี หนึ่งกา้ วแล้วคา้ งไว้ การปฏิบัติของลูกเสือในจังหวะสาม เม่ือได้ยินคาบอก “ต่อไป” ให้ก้าวเท้าวิ่งต่อไป อกี หนึง่ ก้าวแล้วค้างไว้ การปฏิบัติของลูกเสือในจังหวะส่ี เม่ือได้ยินคาบอก “ต่อไป” ให้ก้าวเท้าข้างที่ไม่ได้ใช้ยืน อยกู่ ับพ้ืนเดินต่อไปขา้ งหนา้ หนงึ่ ก้าวดว้ ยการตบเท้าลงไปกับพืน้ อย่างแขง็ แรง แล้วใช้เทา้ อีกข้างหนึ่งก้าวเดิน ต่อไปดว้ ยทา่ เดนิ ตามปกติ หรือเดินสวนสนามก็ได้ สาหรับท่าเดนิ ของผรู้ ับการฝึกนั้น เฉพาะในการฝกึ ผู้ฝกึ ควรกาหนดให้ใช้ท่าเดินสวนสนาม และจะต้องแจง้ ใหผ้ ้รู บั การฝกึ ทราบลว่ งหนา้ กอ่ นด้วย ท่ำเปลี่ยนจำกกำรเดินเป็นกำรวิง่ คาบอก “วง่ิ , หนา้ – วง่ิ ” (คาบอกผสม) การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาบอก “วิ่ง, หน้า – ว่ิง” ลูกเสือจะได้ยินคาบอก “วิ่ง” ในคาหลัง ในขณะท่ีเท้าซ้ายตกถึงพ้ืนเมื่อได้ยินคาบอก “ว่ิง” ดังกล่าว ให้ลูกเสือก้าวเท้าขวาเดินต่อไปอีกหน่ึงก้าว ตอ่ จากน้ัน จงึ ให้กา้ วเทา้ ซา้ ยเริ่มออกวงิ่ ด้วยท่าวงิ่ คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการใช้คาบอกของผฝู้ ึกจะตอ้ งใชค้ าบอก “วงิ่ , หนา้ – วงิ่ ” โดยยึดถือ หลักดังน้ี ให้คาบอก “ว่ิง” คาแรกในขณะที่เท้าซ้ายของลูกเสือตกถึงพ้ืน คาบอก “หน้า” ในขณะท่ีเท้าขวา ของลูกเสือตกถึงพ้ืนในจังหวะก้าวออกเดินที่ติดต่อกัน และคาบอก “วิ่ง” ในคาหลังในขณะที่เท้าซ้าย ของลูกเสอื ตกถึงพ้ืนในครั้งถดั ไปเสมอ

๔๘ ทำ่ หนั ในเวลำวิ่ง ทา่ หันในเวลาว่ิงแบ่งออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าขวาหนั ในเวลาวิ่ง ท่าซ้ายหนั ในเวลาวง่ิ และท่ากลบั หลังหัน ในเวลาว่ิง ๑. ทา่ ขวาหนั ในเวลาวิง่ จังหวะ ๑ จงั หวะ 2 จงั หวะ ๓ จังหวะ ๔ รูปที่ ๔7 ท่าหนั ในเวลาวิง่ คาบอก “ขวา – หนั ” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบตั ิ ท่านี้แบ่งการปฏิบัตอิ อกเปน็ สจ่ี งั หวะดังตอ่ ไปนี้ จังหวะหนึ่ง เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “ขวา – หัน” จะได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะท่ี เท้าข้างขวาตกถึงพื้นเมื่อเท้าข้างขวาตกถึงพ้ืนแล้วให้ก้าวเท้าซ้ายออกว่ิงไปข้างหน้าอีกหนึ่งก้าว พร้อมกับ ยง้ั ตัวหยุดว่ิงไวแ้ ล้วยนื อยูบ่ นเท้าซา้ ย จังหวะสอง กระโดดอยู่กับท่ีด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างซ้ายที่ยืนอยู่พร้อมกับหันลาตัว ไปทางขวา โดยให้ทามุมกับทิศทางเดิมของเท้าข้างซ้าย ๔๕ องศา และขณะเดียวกันน้ันให้เปล่ียนเป็น นาเท้าขา้ งขวาลงยืนบนพ้นื สว่ นเท้าขา้ งซ้ายยกไว้และงอเขา่ เล็กน้อย จังหวะสาม กระโดดอยู่กับท่ีด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างขวาที่ยืนอยู่พร้อมกับหันลาตัว ไปทางขวาโดยให้ทามุมกับทิศทางเท้าขวาอีก ๔๕ องศา และขณะเดียวกันนั้นให้เปลี่ยนเป็นนาเท้าข้างซ้าย ลงยืนบนพ้นื สว่ นเทา้ ขวายกไวแ้ ละงอเขา่ เลก็ นอ้ ย จงั หวะส่ี ใหก้ า้ วเทา้ ขวาเริ่มออกว่งิ ต่อไป คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการใช้คาบอกของผู้ฝึกจะต้องให้คาบอก “ขวา” และ “หัน” ในขณะทเี่ ท้าข้างขวาของลกู เสอื ตกถึงพื้นในลาดับติดต่อกนั เสมอ ๒. ท่าซา้ ยหันในเวลาว่งิ คาบอก “ซา้ ย – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ ทา่ นแี้ บง่ การปฏบิ ตั อิ อกเปน็ สจ่ี งั หวะดงั ตอ่ ไปน้ี จังหวะหนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “ซ้าย – หัน” ลูกเสือจะได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะท่ี เท้าซา้ ยตกถึงพื้น เมื่อเทา้ ข้างซ้ายตกถึงพ้ืนแลว้ ใหก้ า้ วเทา้ ขวาว่ิงไปข้างหน้าอีกหนึ่งก้าว พรอ้ มกบั ยัง้ ตัวหยุดว่งิ จังหวะสอง กระโดดอยู่กับท่ีด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างขวายืนอยู่พร้อมกับหันลาตัว ไปทางซ้าย โดยให้ทามุมกับทิศทางของเท้าข้างขวา ๔๕ องศา และขณะเดียวกันนั้นก็ให้เปล่ียนเป็น นาเทา้ ขา้ งซา้ ยลงยนื กับพ้ืนสว่ นเท้าข้างขวายกไวแ้ ละงอเข่าเล็กนอ้ ย

๔๙ จังหวะสาม กระโดดอยู่กับท่ีด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างซ้ายที่ยืนอยู่พร้อมกับหันลาตัว ไปทางซ้ายโดยให้ทามุมกับทิศทางของเท้าข้างซ้ายอีก ๔๕ องศา และขณะเดียวกันน้ันก็ให้เปล่ียนเป็น นาเทา้ ขวาลงยืนกับพ้นื ส่วนเทา้ ขา้ งซา้ ยยกไวแ้ ละงอเขา่ เลก็ น้อย จงั หวะส่ี ใหก้ า้ วเท้าซ้ายเร่มิ ออกวงิ่ ตอ่ ไป คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการใช้คาบอกของผู้ฝึก จะต้องให้คาบอก “ซ้าย” และ “หัน” ในขณะทเ่ี ท้าข้างซ้ายของลกู เสือตกถึงพื้นในลาดับติดต่อกนั เสมอ ๓. ท่ากลับหลงั หนั ในเวลาว่ิง จังหวะ ๑ จงั หวะ ๒ จงั หวะ ๓ จังหวะ ๔ รูปที่ ๔8 ทา่ กลับหลงั หันในเวลาวิง่ คาบอก “กลบั หลัง – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบตั ิ ทา่ นี้แบง่ การปฏิบัตอิ อกเปน็ ส่จี งั หวะดังตอ่ ไปน้ี จังหวะหนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “กลับหลัง – หัน” ลูกเสือจะได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะท่ีเท้าซ้ายตกถึงพื้น เมื่อเท้าซ้ายได้ตกถึงพื้นแล้ว ให้ก้าวเท้าขวาว่ิงไปข้างหน้าอีกหน่ึงก้าวพร้อมกับ ย้ังตัวหยุดวิ่งไว้ จังหวะสอง กระโดดอยู่กับที่ด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างขวาที่ยืนพร้อมกับหันลาตัวไป ทางขวาโดยใหท้ ามมุ กับทศิ ทางของจังหวะหน่ึงอีก ๙๐ องศาและขณะเดยี วกันนนั้ กใ็ ห้เปลี่ยนเปน็ นาเทา้ ซา้ ย ลงยนื กบั พื้น ส่วนเท้าขวายกไว้และงอเขา่ เลก็ น้อย จังหวะสาม กระโดดอยู่กับท่ีด้วยแรงถีบตัวของเท้าข้างซ้ายที่ยืนอยู่พร้อมกับหันลาตัว ไปทางขวาโดยให้ทามุมกับทิศทางของจังหวะสองอีก ๙๐ องศา และขณะเดียวกันนั้นก็ให้เปลี่ยนเปน็ นาเท้า ขวาลงยืนกับพืน้ สว่ นเทา้ ซา้ ยยกไว้และงอเขา่ เลก็ นอ้ ย จังหวะส่ี ให้ก้าวเทา้ ซ้ายเรม่ิ ออกวิ่งต่อไป คาแนะนาสาหรับผฝู้ กึ  ในการใช้คาบอกของผู้ฝึก จะต้องให้คาบอก “กลับหลัง” และ “หนั ” ในขณะท่ีเท้า ข้างซา้ ยของลูกเสอื ตกถึงพ้ืนในลาดบั ติดตอ่ กนั เสมอ

๕๐  สาหรับในการฝึกนั้นไม่ว่าจะเป็นการฝึก ท่าขวาหันในเวลาว่ิง ท่าซ้ายหันในเวลาวิ่ง หรือท่ากลับหลังหันในเวลาวิ่งก็ตาม ถ้าผู้ฝึกจะให้ลูกเสือปฏิบัติด้วยการปิดจังหวะ จะต้องช้ีแจงให้ลูกเสือ ทราบก่อนว่า “ต่อไปจะเป็นการฝึกปิดจังหวะ” ต่อจากน้ัน จึงเริ่มฝึกโดยให้ลูกเสือปฏิบัติเป็นจังหวะ ๆ ไป โดยใชค้ าบอกและให้ลูกเสอื ปฏบิ ัติดังนี้ ๑. เมื่อผู้ฝึกจะให้ลกู เสือปฏบิ ัติท่าขวาหันในเวลาวิ่งจงั หวะหน่ึง ทา่ ซ้ายหันในเวลาวิ่ง จงั หวะหน่งึ หรอื ท่ากลบั หลังหันในเวลาวง่ิ จังหวะหน่ึง ใหผ้ ฝู้ ึกใชค้ าบอกว่า “ขวา – หัน” “ซา้ ย – หัน” หรอื “กลบั หลงั – หนั ” ตามหลักเกณฑท์ ไ่ี ด้กล่าวมาแลว้ เมอ่ื ลูกเสือได้ยินคาบอกดังกลา่ วก็ให้ทาท่าขวาหัน จังหวะหน่งึ หรอื ท่าซ้ายหนั จังหวะหน่ึง หรือท่ากลบั หลงั หนั จงั หวะหนึ่งแล้วคา้ งไว้ ๒. เมื่อผู้ฝึกจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหันในจังหวะสองต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมื่อลกู เสอื ได้ยนิ คาบอก “ตอ่ ไป” กใ็ ห้ปฏิบัตจิ งั หวะสองแล้วคา้ งไว้ ๓. เม่ือผู้ฝึกจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหันในจังหวะท่ีสามต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมอ่ื ลูกเสอื ไดย้ นิ คาบอก “ตอ่ ไป” ก็ใหป้ ฏิบัตจิ ังหวะสามแลว้ คา้ งไว้ ๔. เมื่อผู้ฝึกจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหันในจังหวะส่ีต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมือ่ ลกู เสอื ได้ยนิ คาบอก “ต่อไป” กใ็ ห้ปฏิบตั จิ งั หวะสแี่ ล้วออกวิ่งต่อไป

๕๑ ท่ำถอดหมวกและสวมหมวก ๑. ท่าถอดหมวก คาบอก “ถอดหมวก” (คาบอกรวด) การปฏบิ ัติเมื่อได้ยินคาบอก “ถอดหมวก” ใหป้ ฏบิ ัติไปตามลาดบั ข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปนี้ ท่าถอดหมวก จงั หวะ ๑ ท่าถอดหมวก จงั หวะ ๒ ทา่ ถอดหมวก จังหวะ ๓ รูปท่ี ๔9 ทา่ ถอดหมวก จังหวะหน่ึง แบมือซ้ายและงอศอกจนแขนท่อนล่างได้ฉากกับแขนท่อนบน น้ิวหัวแม่มือต้ังข้ึน ข้างบน พร้อมกันน้ันใช้มือขวาจับท่ีกะบังหน้าหมวก (หมวกทรงกลมท่ีมีกระบังหน้าหมวก หมวกทรงหม้อตาล) จับที่ปีกหมวกด้านหน้า (หมวกปีกกว้างพับข้างและไม่พับข้าง) จับที่หมวกด้านขวา (หมวกทรงอ่อน) จบั ทีข่ อบหมวกบนดา้ นหนา้ (หมวกกะลาสี) จังหวะสอง ถอดหมวกออกจากศีรษะ วางครอบหัวแม่มือซ้าย ให้หน้าหมวกหันไปทางขวา ขอบหมวกดา้ นนอกอย่รู ะหวา่ งนว้ิ หวั แมม่ ือกบั น้วิ ชี้ จงั หวะสาม ลดมือขวาลงมาอยใู่ นท่าตรงพร้อมกบั มอื ซา้ ยจับหน้าหมวกดว้ ยนิ้วหวั แม่มือกับน้วิ ท้ังสี่

๕๒ ๒. สวมหมวก คาบอก “สวมหมวก” (คาบอกรวด) ท่าสวมหมวก จงั หวะ ๑ ทา่ สวมหมวก จงั หวะ ๒ ทา่ สวมหมวก จงั หวะ ๓ รูปที่ 50 ท่าสวมหมวก กำรปฏบิ ัติ จังหวะหนึง่ ใช้มอื ขวาจับหมวกที่อยใู่ นมอื ซ้าย เช่นเดียวกับการถอดหมวก จงั หวะสอง ยกหมวกขึ้นสวมศีรษะ มือซ้ายชว่ ยจดั หมวก จงั หวะสาม ลดมือท้งั สองลงมาอยู่ในท่าตรงอย่างแข็งแรง คาแนะนาสาหรับผูฝ้ ึก ถ้าผู้ฝกึ ประสงค์จะให้ลูกเสอื ปฏบิ ัติปิดตอน กย็ ่อมจะกระทาได้โดยจะต้องแจ้งให้ลูกเสือ ทราบก่อนว่า “ต่อไปจะฝึกท่าถอดหมวกปิดตอน” ส่วนการใช้คาบอกและการปฏิบัติของลูกเสือให้กระทา เป็นทีละตอนตามลาดับดงั นี้ ๑. เม่ือจะใหล้ กู เสอื ปฏบิ ตั ิทา่ ถอดหมวกตอนที่หนงึ่ ให้ใช้คาบอก “ถอดหมวก” เมื่อลกู เสอื ได้ยินคาบอก “ถอดหมวก” ให้ลูกเสือทาทา่ ถอดหมวกตอนทหี่ นึ่งค้างไวต้ ามรายละเอยี ดที่กลา่ วไว้

๕๓ ๒. เมื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าถอดหมวกตอนที่สอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมื่อลูกเสอื ได้ยินคาบอก “ต่อไป” ใหล้ ูกเสอื ทาท่าถอดหมวกตอนที่สองคา้ งไวต้ ามรายละเอียดท่กี ลา่ วไว้ ๓. เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าถอดหมวกตอนท่ีสาม ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมอ่ื ลูกเสอื ไดย้ ินคาบอก “ตอ่ ไป” ใหล้ ูกเสอื ลดมือขวาลงไปอย่ใู นลักษณะของทา่ ตรงอยา่ งแขง็ แรง ท่ำสวดมนต์ สงบนิ่ง คาบอก “สวดมนต์” “สงบน่ิง” (คาบอกรวด) การปฏบิ ตั ิ เม่ือไดย้ ินคาบอก “สวดมนต์” “สงบน่งิ ” ให้ปฏิบตั ไิ ปตามลาดบั ขัน้ ตอน ดังตอ่ ไปนี้ หมวกทรงกลม หมวกปกี กว้ำงพบั ขำ้ ง หมวกกะลำสี ใช้มือขวาจับที่หมวกด้านหน้าแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมาประกบกับมือขวา ในท่าพนมมือ ให้ด้านในของหมวกหันไปทางซ้าย หน้าหมวกอยู่ข้างบน ให้หมวกอยู่ระหว่างฝ่ามือท้ังสอง และหนีบหมวกไว้ ท่าสงบนิ่ง ใช้มือขวาถือหมวกแล้วลดแขนลงจนสุด ใช้ฝ่ามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้า ประมาณ 1 นาที

๕๔ หมวกทรงออ่ น (เบเร่ต์) ใช้มือขวาจับท่ีหมวกด้านขวาแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายข้ึนมาประกบกับมือขวาในทา่ พนมมือ ใหด้ า้ นในของหมวกหันไปทางซา้ ย หนา้ หมวกหนั เข้าหาตวั ให้หมวกอยรู่ ะหว่างฝ่ามือท้งั สองและหนีบหมวกไว้ ท่าสงบน่ิง ใช้มือขวาถือหมวกแล้วลดแขนลงจนสุด ใช้ฝ่ามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้า ประมาณ 1 นาที หมวกทรงหมอ้ ตำล ใช้มือขวาจับท่ีกะบังหน้าหมวกแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมาประกอบกับมือขวา ในท่าพนมมือ ให้ด้านในของหมวกหันไปทางซ้าย หน้าหมวกอยู่ข้างบน ให้กะบังหน้าหมวกอยู่ระหว่างฝ่ามือ ทงั้ สอง และหนีบหมวกไว้ ท่าสงบนิ่ง ใช้มือขวาถือหมวกแล้วลดแขนลงจนสุด ใช้ฝ่ามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้า ประมาณ 1 นาที

๕๕ หมวกผูบ้ ังคบั บญั ชำลูกเสอื (หมวกปีกกว้ำง) รปู ที่ 51 ทา่ สวดมนตแ์ ละสงบน่งิ ใช้มือขวาจับท่ีปีกหมวกด้านหน้า แล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมาประกอบกับมือขวา ในทา่ พนมมือ ให้ดา้ นในของหมวกหันไปทางซา้ ย หนา้ หมวกอยขู่ า้ งบน ท่าสงบน่ิง ใช้มือขวาถือหมวกแล้วลดแขนลงจนสุด ใช้ฝ่ามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้า ประมาณ 1 นาที ท่ำนั่งถวำยรำชสดุดี คาบอก “ถอดหมวก, น่ัง” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏบิ ตั ิ เมือ่ ส่ัง “ถอดหมวก” ลูกเสือทุกคนถอดหมวกเรียบรอ้ ยแล้ว ส่งั “นงั่ ” เมอ่ื ลูกเสือได้ ยินคาสั่งว่า “นั่ง” ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าคร่ึงก้าว คุกเข่าขวาลงจรดพื้น ตั้งเข่า ซ้าย นั่งลงบนส้นเท้าขวา มือขวาแบคว่าวางลงบนเข่าขวามือซ้ายท่ีถือหมวกวาง พาดบนเข่าซ้าย และตั้งฉากกับเข่าซ้าย เม่ือร้องเพลงราชสดุดี ให้ก้มหน้าเล็กน้อย และให้เงยหน้าขึ้นตามเดิมเม่ือเพลงจบ เมื่อส่ังว่า “ลุก” ใหล้ ูกเสือลุกขึ้น โดยดึงเท้า ซา้ ยที่ก้าวออกไปกลับมาชิดเท้าขวา และเมื่อสั่ง “สวมหมวก” ให้ลูกเสือสวมหมวก โดยเร็ว แล้วอยูใ่ นทา่ ตรง หมำยเหตุ ในกรณีที่ลูกเสือมีไม้พลองหรือไม้ง่าม ให้ถอดหมวกในท่าท่ีมีอาวุธเสียก่อน แล้วจึงนั่ง โดยนาไม้พลองหรือไม้ง่ามวางไว้ข้างตัวด้านขวามือตามความยาว มือขวาแบคว่า วางบนเข่าขวามือซ้ายที่ถือหมวกวางพาดบนเข่าซ้าย และตั้งฉากกับเข่าซ้าย ตามปกติ รปู ที่ ๕2 ท่านั่งถวายราชสดดุ ี

๕๖ ทำ่ หมอบและลุก ๑. ท่าหมอบ คาบอก “หมอบ” (คาบอกรวด) การปฏิบตั ิ เมื่อลูกเสอื ไดย้ ินคาบอก “หมอบ” ใหป้ ฏิบตั ิไปตามลาดับข้ันตอน ดังต่อไปน้ี ตอนที่ ๑ ตอนท่ี ๒ ตอนที่ ๓ รูปท่ี ๕3 ทา่ หมอบ (เทา้ ท้ังสองต้องแบะออก สน้ เท้าชิดกนั ) ตอนที่หนึ่ง ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าประมาณครึ่งก้าวอย่างแข็งแรงแล้ววางน้าหนักตัวไปอยู่ บนเท้าทงั้ สอง สว่ นแขนและมอื ยังคงอยู่ที่เดิมในลกั ษณะของท่าตรง ตอนที่สอง ทรุดตัวลงคุกเข่าขวาลงกับพ้ืนก่อนแล้วจึงคุกเข่าซ้ายลงจดพื้นในลาดับต่อไป หลงั จากนัน้ ให้โน้มนา้ หนักตัวไปข้างหน้าเลก็ นอ้ ย พรอ้ มกับใชม้ อื ทง้ั สองยนั พ้นื ไว้ แขนทง้ั สองเหยียดตงึ โดย ให้มือท้ังสองข้างอยู่ในแนวเดียวกันและห่างกันประมาณหน่ึงฟุตในแนวระดับหัวไหล่ นิ้วมือทั้งสองข้าง เหยียดตรงและเรียงชิดกันปลายน้ิวช้ีไปทิศทางตรงหน้าแล้วยกเข่าขวาให้พ้นจากพื้น พร้อมกับเหยียด ขาข้างขวาไปข้างหลังจนเข่าตึงเปน็ แนวเดยี วกับแนวลาตัวในลักษณะที่ใช้ปลายเท้าจกิ พ้ืนไว้ เงยหน้าขึน้ และ ตามองตรงไปขา้ งในแนวระดับ ตอนท่ีสาม ใช้มือทั้งสองและปลายเท้าขวายันพ้ืนไว้ให้มั่นคงแล้วยกเข่าซ้ายพร้อมกับเหยียด ขาซ้ายไปข้างหลังจนเข่าตึง โดยให้ส้นเท้าทั้งสองชิดกัน ต่อจากนั้นให้ลดตัวนอนราบกับพื้น เม่ืออกแตะพ้ืน แล้ว ให้ยกมือทั้งสองขึ้นงอแขนกางข้อศอกออก แล้วให้นามือท้ังสองวางซ้อนกันไว้ประมาณตรงกับใบหน้า ให้มือขวาทับมือซ้าย ฝ่ามือท้ังสองคว่าลงกบั พ้ืน แล้วลดปลายคางลงแนบไว้บนหลงั มอื ขวา หน้าเงย สายตา มองตรงไปขา้ งหนา้ ในแนวระดับ จัดเท้าท้ังสองข้างให้สน้ เท้าวางชิดกัน และแบะปลายเท้าทง้ั สองขา้ งออกไป ทางซ้ายและทางขวาใหส้ ้นเทา้ แบนราบกับพืน้ คาแนะนาสาหรบั ผู้ฝึก ในการฝึก ถ้าผู้ฝึกประสงค์จะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหมอบปิดตอนกระทาได้ โดยจะต้อง แจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า “ต่อไปจะฝึกท่าหมอบปิดตอน” ส่วนการใช้คาบอกและการปฏิบัติของลูกเสือ ใหก้ ระทาเปน็ ทลี ะตอนตามลาดับดงั น้ี  เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหมอบตอนท่ีหนึ่ง ให้ใช้คาบอก “หมอบ” เมื่อลูกเสือ ไดย้ ินคาบอก “หมอบ” ให้ลกู เสอื ทาท่าหมอบตอนที่หนง่ึ ตามรายละเอยี ดทีก่ ล่าวไว้ แลว้ ค้างไว้

๕๗  เมื่อประสงค์จะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหมอบตอนที่สอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เม่ือลูกเสือไดย้ นิ คาบอก “ตอ่ ไป” ให้ลูกเสือทาทา่ หมอบตอนที่สองตามรายละเอียดท่ีกล่าวไว้ แล้วค้างไว้  เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าหมอบตอนที่สาม ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมื่อลูกเสือ ไดย้ นิ คาบอก “ตอ่ ไป” ให้ลูกเสอื ทาทา่ หมอบตอนที่สามตามรายละเอียดที่กลา่ วไว้ ๒. ทา่ ลุก คาบอก “ลกุ ” (คาบอกรวด) การปฏบิ ตั ิ เมอ่ื ลูกเสอื ได้ยินคาบอก “ลกุ ” ให้ปฏิบัตติ ามลาดบั ขนั้ ตอน ดังตอ่ ไปน้ี ตอนที่ ๑ ตอนที่ ๒ ตอนท่ี ๓ รปู ท่ี ๕4 ทา่ ลุก ตอนที่หนึ่ง ให้แยกมือทั้งสองซึ่งวางซ้อนกันอยู่ออกจากกันแล้วใช้มือท้ังสองยันพ้ืน ไว้ตรงประมาณเสมอกับระดับหัวไหล่ทั้งสองข้างโดยวางมือและน้ิวมือเช่นเดียวกับการทาท่าหมอบตอนท่ีสอง แล้วใช้มือและปลายเท้าท้ังสองข้างออกแรงดันพ้ืนยกลาตัวให้สูงข้ึนจากพ้ืน จนแขนทั้งสองข้างเหยียดตึง ต่อจากนั้นให้งอเข่าซ้ายยันไว้กับพ้ืนในลักษณะที่ใช้ปลายเท้าจิกพื้นไว้ ขาซ้ายท่อนบนต้ังฉากกับพื้นส้นเท้าเปิด เงยศีรษะ ขาขวาเหยียดตรงเป็นแนวเดียวกันกับแนวลาตัวปลายเท้าขวาจิกพื้นไว้ (ท่าลุกตอนที่หนึ่งลักษณะ โดยทว่ั ไปเหมอื นกบั ท่าหมอบตอนทส่ี อง) สายตามองตรงไปข้างหนา้ ในแนวระดับ ตอนที่สอง คุกเข่าขวาลงไปกับพื้นแล้วใช้มือทั้งสองข้างออกแรงผลักพื้นให้ลาตัว ดีดต้ังข้ึน พร้อมกับยกเข่าทั้งสองให้พ้นพ้นื จนลุกขึ้นไปยืนในท่าก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าวางน้าหนักตัวอยู่บน เทา้ ทั้งสองข้าง จัดมือและแขนอยู่ข้างลาตวั ในลักษณะของท่าตรง สายตามองตรงไปขา้ งหน้าในแนวระดบั ตอนทีส่ าม ชกั เท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวาอยู่ในลักษณะของท่าตรงอยา่ งแข็งแรง แล้วนง่ิ คาแนะนาสาหรับผ้ฝู ึก ถ้าผู้ฝึกประสงค์จะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าลุกปิดตอนกระทาได้ โดยจะต้องแจ้งให้ลูกเสือ ทราบก่อนว่า “ต่อไปจะฝึกท่าลุกปิดตอน” ส่วนการใช้คาบอกและการปฏิบัติของลูกเสือ ให้กระทาเป็น ทีละตอนตามลาดบั ดงั น้ี ๑. เมื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าลุกตอนที่หนึ่ง ให้ใช้คาบอก “ลุก” เมื่อลูกเสือได้ยิน คาบอก “ลกุ ” ใหล้ ูกเสือทาท่าลุกตอนที่หน่งึ ตามรายละเอียดที่กลา่ วไว้ แลว้ คา้ งไว้

๕๘ ๒. เมื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าลุกตอนที่สอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เม่ือลูกเสือได้ยิน คาบอก “ตอ่ ไป” ให้ลกู เสอื ทาท่าลกุ ตอนทสี่ อง ตามรายละเอียดท่ีกลา่ วไว้ แล้วค้างไว้ ๓. เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติท่าลุกตอนที่สาม ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เม่ือลูกเสือได้ยิน คาบอก “ตอ่ ไป” ใหล้ ูกเสือทาท่าลุกตอนที่สาม ตามรายละเอียดท่ีกล่าวไว้ แล้วกลบั มายืนอยูใ่ นท่าตรง

๕๙ บทที่ ๔ แบบฝกึ บุคคลท่ำอำวธุ ทำ่ ตรง รปู ที่ ๕5 ทา่ ตรง (ประกอบอาวธุ ) คาบอก “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ัติ ทา่ น้ีมีจังหวะเดยี ว ลักษณะของท่าตรงมีดังน้ี คือ จะต้องยืนให้ส้นเท้าชิดและอยู่ในแนวเดียวกันปลายเท้า ท้ังสองแบะออกไปทางข้างเท่า ๆ กัน ปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้ทามุมประมาณ ๔๕ องศา เข่าเหยียดตรงและบีบเข้าหากัน มือขวาจับไม้พลองหรือไม้ง่าม ตามประเภทแนบเข้าร่องไหล่ขวา พอท่ีจะ ไม่ทาให้ไหลข่ วาเอียงเมื่อยืนในทา่ ตรง ให้ไมพ้ ลองหรือไม้ง่าม อย่รู ะหวา่ งน้ิวหัวแมม่ ือกับนว้ิ ช้ี นว้ิ อืน่ เรียงชิด กบั นิ้วช้ีตามลาดบั (อุ้งมือหันลงพื้น) ให้ไม้พลองหรือไม้งา่ ม ตรงแนบขาขวา ส้นไม้พลองหรอื ไม้ง่ามวางเสมอ และชิดกับปลายน้ิวกอ้ ยของเทา้ ขวา แขนท้ังสองอยูข่ ้างลาตัวในลักษณะงอขอ้ ศอกไว้จนเกิดชอ่ งว่างห่างจาก ลาตวั ประมาณ ๑ ฝ่ามือ พลิกข้อศอกไปขา้ งหน้าเล็กนอ้ ยจนไหลท่ ั้งสองข้างตึงและเสมอกนั น้ิวมือซ้ายท้งั ห้า เหยียดตรงเรียงชิดกัน ให้ปลายนิ้วกลางแตะไว้ตรงกึ่งกลางขาซ้ายท่อนบนประมาณแนวตะเข็บกางเกง เปิดฝ่ามือทางด้านนิ้วก้อยออกเล็กน้อย ลาคอและใบหน้าตั้งตรง ไม่ยื่นคาง สายตามองตรงไปข้างหน้า ในแนวระดับวางนา้ หนกั ตัวอยบู่ นเทา้ ท้งั สองข้างเท่ากนั แล้วนิง่ เม่ือได้ยินคาบอก “แถว” ในขณะอยู่ในท่าพักตามปกติลูกเสือจะต้องจัดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายใหย้ ืนอยู่ในลักษณะของท่าตรง ยกเว้นเข่าขวาหย่อนไว้เล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอด ใหเ้ ตม็ ทแี่ ละยกอกใหผ้ ง่ึ ผาย เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้ลูกเสือกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง โดยพยายามรักษาไม่ให้ส่วนใด ๆ ของร่างกายมีการเคล่ือนไหว เข่าตึงในลักษณะบีบเข่าท้ังสองเข้าหากัน แลว้ น่ิง

๖๐ ท่ำพกั (ประกอบอำวุธ) ท่าพักแบ่งออกเป็น ๕ ท่า คือ ท่าพักตามปกติ ท่าพักตามระเบียบ ท่าพักตามสบาย ท่าพักแถว และทา่ เลิกแถว ท่าพักตามปกติ รปู ที่ ๕6 ทา่ พัก (ประกอบอาวธุ ) คาบอก “พกั ” (คาบอกรวด) การปฏิบตั ิทา่ น้ีมีจังหวะเดียว แตใ่ ห้ปฏิบตั ไิ ปตามลาดับข้ันตอนดังตอ่ ไปนี้ ๑. ในข้ันตอนแรกเมอ่ื ได้ยินคาบอก “พกั ” ให้ลูกเสือหยอ่ นเข่าขวาลงเลก็ นอ้ ย พยายาม ไม่ให้ส่วนอ่ืน ๆ ของร่างกายเคลื่อนไหวอย่างกะทันหัน มือขวายังคงจับไม้พลองหรือไม้ง่ามแนบร่องไหล่ โดยไมม่ ีการเคลอ่ื นไหวใด ๆ ทงั้ ส้นิ ๒. สาหรับในข้ันตอนต่อไปนั้น ท่านี้อนุญาตให้ลูกเสือเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายและเปล่ยี นเขา่ พักได้ตามสมควรและเทา่ ที่จาเป็น ๓. ท่านี้ห้ามลกู เสือขยับเขยื้อนหรือเปลย่ี นทีย่ นื ของเท้าทัง้ สองข้างและห้ามพดู คุยกัน ๔. เมื่อได้ยินคาบอก “แถว” ให้ลูกเสือยืดตัวขึ้น พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอด จนเตม็ ที่ แล้วจดั ทุกส่วนของรา่ งกายให้อยใู่ นลักษณะของท่าตรงเว้นเขา่ ขวายังหย่อนอยู่ ๕. เม่ือได้ยินคาบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และ แขง็ แรง แลว้ น่ิง

๖๑ ท่าพักตามระเบียบ คาบอก “ตามระเบยี บ, พกั ” (คาบอกเปน็ คา ๆ) ทา่ พกั ตามระเบยี บ (ดา้ นหนา้ ) ท่าพักตามระเบยี บ (ด้านหลัง) รปู ที่ ๕7 ทา่ พักตามระเบียบ (ประกอบอาวธุ ) การปฏิบัติ ท่านม้ี ีจังหวะเดยี ว แตใ่ ห้ปฏบิ ัติไปตามลาดบั ขั้นตอนดังต่อไปนี้ เมื่อได้ยินคาบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ลูกเสือแยกเท้าซ้ายออกไปทางด้านซ้าย ประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณคร่ึงก้าวอย่างแข็งแรงและผึ่งผาย ในขณะเดียวกันให้ใช้มือขวาเลื่อนขน้ึ มา จับไม้พลองหรือไม้ง่ามระดับเอว แล้วผลักไม้พลองหรือไม้ง่ามให้เฉียงออกไปทางข้างหน้าตามแนว ของปลายเท้าขวา ทามุมกับลาตัวประมาณ ๔๕ องศา แขนขวาเหยียดตึง พร้อมกับนามือซ้ายไปวางไว้ทาง ด้านหลัง หันหลังมือแตะไว้ประมาณใต้แนวเข็มขัด น้ิวท้ังห้าเหยียดตรงเรียงชิดกัน แบะข้อศอกออกไปทาง ข้างหน้าเล็กน้อย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาท้ังสองข้างตึง น้าหนักตัวอยู่บนเท้าทั้งสองเท่ากันยกอก ให้สง่าผ่าเผย จัดไหล่ท้ังสองให้เสมอกัน ลาคอและใบหน้าต้ังตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ แลว้ น่ิง เมื่อไดย้ นิ คาบอก “แถว” ให้ลกู เสือสูดลมหายใจเขา้ ปอดจนเต็มที่ เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้ชักเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา โดยให้ส้นเท้าทั้งสอง ชิดกันและอยู่ในแนวเดียวกัน ปลายเท้าท้ังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่า ๆ กันห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือประมาณ ๔๕ องศา พร้อมกันน้ันให้ใช้มือขวาดึงไม้พลองหรือไม้ง่ามเข้ามาหาลาตัว และลดมือซ้าย ลงมาอยใู่ นลกั ษณะของท่าตรง แลว้ นง่ิ ทา่ พกั ตามสบาย คาบอก “ตามสบาย, พัก” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏบิ ตั ิ ทา่ นม้ี ีจงั หวะเดียว แต่ใหป้ ฏบิ ตั ิไปตามลาดับข้ันตอน ดังตอ่ ไปน้ี หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนอื่นของร่างกายมีการไหวติงอย่าง กะทันหนั เช่นเดยี วกบั การทาทา่ พักตามปกติในข้นั ตอนแรก เมือ่ ไดย้ ินคาบอก “แถว” ใหส้ ูดลมหายใจเข้าปอดจนเต็มท่ี

๖๒ เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และแข็งแรง แล้วนิ่ง ท่านี้อนุญาตให้เคลื่อนไหวอิริยาบถได้ตามสบาย ห้ามพูดคุยกันเว้นแต่ได้รับอนุญาต และเท้าข้างใด ข้างหน่งึ จะตอ้ งอย่กู ับท่ี ท่านหี้ า้ มลูกเสือออกนอกแถว ถ้าไมอ่ นุญาตใหน้ ่ังจะนั่งไม่ได้ ทา่ พกั แถว คาบอก “พักแถว” (คาบอกรวด) การปฏิบตั ิ เมื่อลกู เสือได้ยนิ คาบอก “พักแถว” ให้ลูกเสือทุกคนที่อยู่ในแถวต่างคนต่างแยกออกไป จากแถวในทนั ที ทา่ พักแถวลูกเสือแต่ละคนสามารถท่ีจะหาท่ีนัง่ พักได้ตามสะดวกแตต่ ้องอยู่ภายในบริเวณท่ี ใกล้เคียงนั้นและต้องไมท่ าเสยี งดงั เมื่อได้ยินคาบอก “แถว” ให้ลูกเสือทุกคนรีบวิ่งกลบั มาเข้าแถวที่เดมิ โดยเรว็ ในรูปแถวเดิม และเมอื่ จดั แถวเรียบร้อยแล้ว ใหอ้ ยู่ในทา่ ตรงจนกวา่ จะได้รับคาสั่งใหป้ ฏบิ ัติอย่างใดอย่างหนง่ึ ตอ่ ไป คาแนะนาสาหรับผูฝ้ ึก หลงั จากที่ผู้ฝึกไดส้ ัง่ “พักแถว” ไปแลว้ เมอ่ื ประสงคจ์ ะให้ลกู เสือกลับมาเข้าแถวตามรูปแถว เดิม ให้ผู้ฝึกใช้คาบอก “แถว” เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “แถว” ลูกเสือทุกคนจะต้องรีบกลับเข้าแถวที่เดิม และในรูปแถวเดิม และเมอ่ื จัดแถวเป็นรูปแถวเรยี บรอ้ ยแลว้ ลูกเสอื ทกุ คนจะต้องอยใู่ นท่าตรงเอง ฉะน้นั ผู้ฝึก จะส่ัง “แถว – ตรง” อีกไม่ได้แต่ถ้าผู้ฝึกเห็นว่าแถวยังไม่เรียบร้อย จะต้องใช้คาบอก “จัดแถว” และ “นิ่ง” ตามลาดับ ทา่ เลกิ แถว คาบอก “เลิกแถว” (คาบอกรวด) การปฏิบัติ เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอกว่า “เลิกแถว” ให้ลูกเสือทุกคนท่ีอยู่ในแถวแยก กระจายกันออกไปจากแถวโดยเรว็ คาแนะนาสาหรบั ผูฝ้ กึ ก่อนที่ผู้ฝึกหรือผู้ควบคุมแถวจะบอกคา “เลิกแถว” จะต้องสังเกต ให้แน่ชัดว่าลูกเสือ ในแถวไม่ได้อยู่ในท่าพักตามระเบียบ ท่าพักตามปกติหรือท่าพักตามสบาย แต่ถ้าลูกเสือในแถวอยู่ในท่าพัก ดงั กล่าวแล้ว ใหผ้ ูฝ้ ึกสั่ง “แถว – ตรง” ก่อนแลว้ จึงให้คาบอก “เลิกแถว” ทำ่ หันอยกู่ บั ท่ี ทา่ ซ้ายหัน คาบอก “ซา้ ย - หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ ทา่ นีแ้ บง่ การปฏิบตั อิ อกเปน็ 2 จงั หวะ ดงั ตอ่ ไปน้ี จังหวะหน่ึง เมื่อได้ยินคาบอก “ซ้าย – หัน” ให้ใช้มือขวาท่ีจับไม้พลองหรือไม้ง่ามน้ัน ยกให้สูงขึ้นจากพ้ืนเล็กน้อยในแนวด่ิง และบังคับให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามแนบชิดอยู่กับลาตัว ข้อศอกขวา งอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนั้นให้เปิดปลายเท้าซ้ายข้ึนจากพื้นเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้า ใหต้ รงึ อยู่กบั ท่ี เพื่อชว่ ยในการทรงตวั ขณะหมุนตัว แลว้ ใช้สะโพกเหว่ียงตวั ไปทางซา้ ย 90 องศา ด้วยการใช้ ส้นเทา้ ซ้ายเป็นจดุ หมุน ขณะเดยี วกันให้เหวีย่ งเท้าขวาไปทางซา้ ยตามจงั หวะการหมนุ ตัว และเม่ือหมุนตัวไป ได้ท่ีแล้ว (90 องศา) ให้นาปลายเท้าขวาไปแตะพ้ืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปข้างหลังทางซ้ายส้นเท้าเปิด เข่าเหยียดตึงขณะหมุนตัวไปน้ันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัวและวางมือซ้ายให้อยู่ในลักษณะ ของท่าตรงด้วย

๖๓ จังหวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกับเท้าซ้ายอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ขณะเดียวกันให้ลด ไม้พลองหรือไม้ง่ามให้ต่าลงในแนวดิ่งจนกว่าส้นไม้พลองหรือไม้ง่ามจะวางอยู่บนพื้นในลักษณะของท่าตรง โดยสมบรู ณ์ คาแนะนาสาหรบั ผู้ฝกึ ในการฝึกปิดจังหวะผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่าจะฝึก ท่าซ้ายหันแบบ ปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่าซ้ายหันเปิดจังหวะคือ “ซ้าย – หัน” เมื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติ ในจังหวะต่อไปกใ็ ห้ใช้คาบอก “ตอ่ ไป” ท่าขวาหนั ให้ปฏบิ ตั ิเช่นเดียวกบั ทา่ ซา้ ยหนั เพียงแตท่ ากลับข้างกนั ทา่ กลับหลังหนั คาบอก “กลับหลงั – หนั ” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ตั ิ ท่าน้ีแบ่งการปฏิบตั อิ อกเปน็ ๒ จงั หวะ ดังตอ่ ไปนี้ จังหวะหนึ่ง เมื่อได้ยินคาบอก “กลับหลัง – หัน” ให้ลูกเสือใช้มือขวาท่ีจับถือไม้พลอง หรือไม้ง่าม ยกไม้พลองหรือไม้ง่ามให้สูงข้ึนจากพ้ืนเล็กน้อย ในแนวด่ิง และบังคับให้ไม้พลองหรือไม้ง่าม แนบชิดอยู่กับขาข้างขวาพยายามให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามต้ังได้ฉากกับพ้ืน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตาม ธรรมชาติ ขณะเดียวกันนั้นให้ลูกเสือเปิดปลายเท้าขวาให้สูงขึ้นจากพ้ืนเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้า ให้ตรึงอยู่กับท่ี และเปิดส้นเท้าซ้ายใช้ปลายเท้ากดไว้กับพ้ืน เพื่อช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัว แล้วใช้สะโพกเหว่ียงตัวไปทางขวาจนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็นหลัง) ด้วยการใช้ส้นเทา้ ขวาเปน็ จุดหมุน ขณะเดียวกันน้ันให้เหว่ียงเท้าซ้ายไปทางซ้ายตามจังหวะการหมุนตัว และเม่ือหมุนตัวไปได้ที่แล้ว (๑๘๐ องศา) ให้นาปลายเท้าซ้ายไปแตะพ้ืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปข้างหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิด เข่าเหยียดตึง ในขณะท่ีหมุนตัวไปนั้นจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัว และวางมือซ้ายให้ อยู่ในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เม่ือหมุนตัวไปได้ที่แล้วน้าหนักตัวอยู่บนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึง ปลายเทา้ ขา้ งซา้ ยวางอยูท่ างด้านหลังทางซ้าย ส้นเทา้ เปิดและบิดออกขา้ งนอกลาตัว จงั หวะสอง ชักเทา้ ซ้ายมาชิดกับเท้าขวาเพื่อยืนในลักษณะของท่าตรงอยา่ งรวดเร็วและ แข็งแรง ในขณะเดียวกันนั้นก็ให้ลดไม้พลองหรือไม้ง่ามให้ต่าลงในแนวด่ิงจนกว่าส้นไม้พลองหรือไม้ง่าม จะวางอยบู่ นพืน้ ในลักษณะของท่าเรยี บอาวธุ โดยสมบูรณ์ คาแนะนาสาหรับผฝู้ ึก ในการฝึกปิดจังหวะผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่าจะฝึกท่ากลับหลังหัน แบบปิดจงั หวะ แลว้ ใชค้ าบอกเช่นเดียวกับท่ากลับหลังหนั เปิดจงั หวะคอื “กลบั หลัง – หนั ” เมื่อจะให้ลกู เสือ ปฏิบัติในจังหวะตอ่ ไปกใ็ ห้ใชค้ าบอก “ตอ่ ไป” สาหรับท่าหันอยู่กับท่ีน้ี นอกเหนือไปจากท่าขวาหัน ท่าซ้ายหัน และท่ากลับหลังหัน ตามที่ได้กล่าวไปแล้ว อาจจะใหท้ าท่ากึง่ ขวาหรอื ท่ากึ่งซ้ายหันอกี ก็ได้ สว่ นการปฏิบัติในท่าดังกล่าวน้ี ก็คงมี ลักษณะเช่นเดียวกันกับท่าขวาหันหรือท่าซ้ายหันนั่นเอง จะแตกต่างกันเฉพาะให้ทาท่าหันไปทางขวาหรือ ทางซา้ ยเพียง ๔๕ องศา เทา่ น้ัน

๖๔ ท่ำคอนอำวธุ ทา่ คอนอาวุธ คาบอก “คอน, อาวธุ ” (คาบอกเป็นคา ๆ) รูปที่ ๕8 ทา่ คอนอาวธุ การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “คอน, อาวุธ” ให้ลูกเสือใช้มือขวาจับไม้พลองหรือไม้ง่าม ให้สูงจากพื้นในแนวดิ่งมากดแนบไว้กับสะโพกประมาณใต้เข็มขัดเล็กน้อย โดยข้อศอกขวากางออก ตามธรรมชาติ แล้วผลักไม้พลองหรือไม้ง่ามเฉียงออกไปข้างหน้า และส้นไม้พลองหรือไม้ง่ามช้ีเฉียงไป ทางขา้ งหลงั ทามมุ กบั ลาตวั ประมาณ ๑๕ องศา ส่วนอื่นๆ ของรา่ งกายยงั คงอยูใ่ นลักษณะทา่ ตรง ทา่ เรียบอาวุธ (จากทา่ คอนอาวธุ ) คาบอก “เรียบ, อาวธุ ” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้เล่ือนมือขวาที่กาไม้พลองหรือไม้ง่าม อยู่ในท่าคอนอาวุธค่อยๆ ลดต่าลงไปในแนวด่ิง พยายามรักษาแนวไม้พลองหรือไม้ง่ามให้ตั้งตรงในแนวดิ่ง จากนั้นกล็ ดไม้พลองหรือไม้งา่ มลงจนกว่าจะวางอยบู่ นพ้ืนในลักษณะของท่าตรง คาแนะนาสาหรับผูฝ้ กึ ๑. ผู้ฝึกควรอธิบายเพิ่มเติมให้ลูกเสือทราบว่าท่าคอนอาวุธนี้ เป็นท่าที่นาไปใช้ในโอกาส ท่ีลูกเสือจะต้องเคลื่อนท่ีระยะใกล้ ๆ ขณะถือไม้พลองหรือไม้ง่ามท้ังในขณะท่ีอยู่ตามลาพังและอยู่ในแถว ภายใต้การควบคุม เช่น เมื่อลูกเสือได้ยินผู้บังคับบัญชาลูกเสือบอก “ข้างหน้า ๕ ก้าว, หน้า – เดิน” “ก้าวทางขวา ๗ ก้าว, ทา” หรือ “ก้าวถอยหลัง ๖ ก้าว, ทา” เป็นต้น ก่อนท่ีลูกเสือจะปฏิบัติตามคาสั่ง ลูกเสือจะต้องทาท่าคอนอาวุธเองตามลาพังก่อนโดยไม่ต้องรอคาสั่ง และเมื่อได้ปฏิบัติการเคลื่อนที่ไป ครบตามจานวนก้าวทผี่ ู้บงั คบั บญั ชาลูกเสอื สงั่ แล้ว ให้ทาทา่ เรยี บอาวุธเองโดยไมต่ ้องรอคาส่ังเช่นเดยี วกัน ๒. หากประสงค์จะให้แถวลูกเสือเคล่ือนที่ไปข้างหน้าระยะค่อนข้างไกลและประสงค์ ให้ลูกเสือถือไม้พลองหรือไม้ง่ามในท่าคอนอาวุธ ก็ย่อมจะกระทาได้โดยให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือใช้คาบอก ดังน้ี “คอน, อาวุธ หน้า – เดิน” “แถว – หยุด” “เรยี บ, อาวุธ” ตามลาดับเป็นต้น และในกรณเี ชน่ นีล้ ูกเสือ จะทาท่าคอนอาวุธและท่าเรยี บอาวธุ เองโดยอตั โนมัติไม่ไดค้ งปฏิบตั ิไปตามคาสัง่ ของผู้บงั คับบัญชาลกู เสือ

๖๕ ท่ำเฉยี งอำวธุ รปู ท่ี ๕9 ทา่ เฉยี งอาวธุ คาบอก “เฉียง, อาวุธ” (คาบอกเป็นคา ๆ) การปฏบิ ัติทา่ นี้ปฏิบตั ดิ ังต่อไปน้ี เม่ือได้ยินคาบอก “เฉียง, อาวุธ” ใหล้ ูกเสือใชม้ ือขวายกไม้พลองหรือไม้ง่ามทแยงกับลาตัว และอยู่ห่างจากลาตัวประมาณหนึ่งฝ่ามือ ต้นไม้พลองหรือไม้ง่ามเฉียงขึ้นบนอยู่ประมาณหน้าไหล่ซ้าย ส้นไม้พลองหรือไม้ง่ามอยู่ทางขวาของสะโพกขาขวา มือซ้ายกาสูงเสมอระดับไหล่ซ้าย มือขวากาเสมอ แนวเข็มขัดและบีบข้อศอกซ้ายชิดกับลาตัว ท่าเฉียงอาวุธนี้ใช้ในการก่อนว่ิงเข้าแทงท่ีหมาย หรือลูกเสือ จะต้องเคล่อื นที่ในระยะไกล ทา่ เรียบอาวธุ (จากท่าเฉยี งอาวธุ ) คาบอก “เรียบ, อาวธุ ” (คาบอกเป็นคา ๆ) การปฏิบตั ิ ท่านแี้ บ่งการปฏบิ ตั ิออกไดเ้ ป็น ๓ ตอน ดังน้ี ตอนที่หนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ลูกเสือปล่อยมือขวาท่ีกาไม้พลองหรือ ไม้ง่ามข้ึนไปการอบเหนือมือซ้าย หันฝ่ามือไปทางด้านซ้ายกางข้อศอกขวาออกจนแขนท่อนล่างและแขน ทอ่ นบนขนานกบั พื้นระดับ ตอนที่สอง ปล่อยมือซ้าย แล้วใช้มือขวานาไม้พลองหรือไม้ง่ามลดลงไปอยู่ทางขวา ชิดข้างลาตัวทางด้านขวา ให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามตั้งดิ่งได้ฉากกับพ้ืนระดับ ขณะท่ีลดไม้พลองหรือไม้ง่าม ลงไปอยขู่ า้ งลาตัวทางขวานน้ั ใหน้ ามอื ซ้ายไปจบั ไม้พลองหรอื ไมง้ า่ มบริเวณร่องไหล่ ตอนท่ีสาม ใช้มือขวาท่ีจับไม้พลองหรือไม้ง่ามอยู่นั้นลดลงจนกว่าส้นไม้พลองหรือ ไม้ง่ามจะวางอยู่บนพ้ืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยไม่กระแทก พร้อมกับปล่อยมือซ้ายแล้วสะบัด ลงไปอยู่ขา้ งลาตวั ด้านซา้ ยอย่างแข็งแรงในท่าตรงแล้วน่งิ

๖๖ คาแนะนาสาหรบั ผฝู้ กึ ในการฝึกปิดตอน ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า จะฝึกท่าเฉียงอาวุธและ ท่าเรียบอาวุธจากทา่ เฉียงอาวุธแบบปดิ ตอน โดยใชค้ าบอกเชน่ เดยี วกบั เปดิ ตอน คือ  ท่าเฉียงอาวุธ ใช้คาบอก “เฉียง, อาวุธ” ให้ลูกเสือปฏิบัติเฉพาะตอนท่ีหนึ่ง แล้วคา้ งไว้ สาหรับตอนท่ีสองใชค้ าบอก “ต่อไป”  ท่าเรียบอาวุธ ใช้คาบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ลูกเสือปฏิบัติเฉพาะตอนท่ีหนึ่ง แลว้ ค้างไว้ สาหรบั ตอนทส่ี องและตอนที่สาม ใชค้ าบอก “ตอ่ ไป” ทลี ะตอนตามลาดบั  อธิบายให้ลูกเสือทราบว่า ท่าเฉียงอาวุธนี้จะนาไปใช้ในโอกาสที่ลูกเสือจะต้อง เคลือ่ นทใี่ นระยะไกล ขณะถือไม้พลองหรือไมง้ า่ มในขณะอย่ตู ามลาพงั และอยู่ในแถวภายใต้การควบคุม ท่ำแบกอำวธุ จงั หวะท่ี ๑ จังหวะท่ี ๒ รูปท่ี 60 ทา่ แบกอาวธุ คาบอก “แบก – อาวธุ ” (คาบอกแบง่ ) การปฏิบัติ ทา่ น้แี บง่ ออกเป็น ๒ จังหวะ ดงั ตอ่ ไปนี้ จงั หวะทห่ี น่ึง เม่ือลกู เสอื ได้ยินคาบอก “แบก – อาวธุ ” ให้ลกู เสือใช้มือขวายกไม้พลอง หรือไม้ง่ามข้ึนให้เฉียงผ่านไปทางข้างหน้าลาตัว โดยให้มือขวานาไม้พลองหรือไม้ง่ามเข้าไปในร่องไหล่ซ้าย ยกข้อศอกขวาให้สูงจนแขนท่อนบนและท่อนล่างขนานกับพ้ืนดิน ในขณะเดียวกัน ให้ใช้ฝ่ามือข้างซ้ายไปรับ ส้นไม้พลองหรือไม้ง่าม กระชับไว้ที่ข้างโคนขาซ้ายตรงแนวตะเข็บขากางเกง แขนซ้ายเหยียดตึงยกอก ใหผ้ ึ่งผายสว่ นอ่ืนของรา่ งกายยังคงอยใู่ นลักษณะทา่ ตรง จังหวะท่ีสอง ให้ยกมือซ้ายท่ีกาส้นไม้พลองหรือไม้ง่ามอยู่นั้นขึ้นไปข้างหน้า ให้แขน ท่อนซ้ายล่างตั้งได้ฉากกับลาตัวหรือประมาณขนานกับพ้ืนดิน พยายามบีบและกระชับข้อศอกซ้าย ให้อยู่เสมอแนวสันหลัง ในลักษณะเช่นนี้จะบังคับให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามเล่ือนสูงขึ้นไปอยู่ในร่องไหล่ซ้าย โดยใช้มือขวาที่กาไม้พลองหรือไม้ง่ามอยู่นั้นช่วยประคองให้วางอยู่บนร่องไหล่อย่างม่ันคง เมื่อนาไม้พลอง

๖๗ หรือไม้ง่ามขึ้นแบกบนไหล่ได้อย่างมั่นคงแล้วให้สะบัดมือขวาลดลงมาอยู่ในท่าตรงอยา่ งแข็งแรง ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายยังคงอยู่ในลักษณะทา่ ตรง คาแนะนาสาหรับผฝู้ กึ ในการฝึกปิดจังหวะ ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า จะฝึกเท่าแบกอาวุธ แบบปิดจังหวะโดยใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ คือ “แบก – อาวุธ” ให้ลูกเสือปฏิบัติเฉพาะจังหวะหน่ึง แลว้ ค้างไว้ สาหรบั จงั หวะสองใช้คาบอก “ต่อไป” ท่าเรยี บอาวุธ (จากท่าแบกอาวธุ ) คาบอก “เรียบ – อาวุธ” (คาบอกแบง่ ) การปฏบิ ัติ ทา่ นีแ้ บ่งออกเปน็ ๓ จังหวะ ดงั ต่อไปนี้ จงั หวะที่ ๑ จังหวะท่ี ๒ จงั หวะที่ ๓ รูปที่ 61 ท่าเรียบอาวุธ จังหวะทห่ี นึ่ง ยกมือขวาข้ึนจับไม้พลองหรือไม้ง่าม ศอกงอไปขา้ งหนา้ แนวเดียวกบั ไหล่ พร้อมกบั เหยยี ดแขนซา้ ยลดไม้พลองชดิ กับลาตวั จงั หวะที่สอง นาไม้พลองหรือไม้งา่ มด้วยมือขวามาไว้ขา้ งลาตัวในร่องไหล่ขวาขณะเดยี วกัน ยกมือซ้ายขน้ึ กันไม้พลองหรือไมง้ ่ามทรี่ ่องไหล่ขวา ปลอ่ ยสน้ ไม้พลองหรือไม้ง่ามลงจรดพืน้ ข้างน้ิวก้อยเท้าขวา จงั หวะทีส่ าม ลดแขนซา้ ยลงขา้ งลาตวั ด้านซา้ ยและอยใู่ นท่าเรยี บอาวธุ

๖๘ ทำ่ เดิน ท่าเดินเมื่อถืออาวุธ แบ่งออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าเดินเมื่อแบกอาวุธ ท่าเดินเม่ือคอนอาวุธ และทา่ เดินเมื่อเฉียงอาวธุ ท่าเดินเมื่อแบกอาวุธ ท่าเดินเมื่อแบกอาวุธ แบ่งการฝึกออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าเดินสวนสนาม ท่าเดินตามปกติ และทา่ หยุดจากการเดิน ๑. ทา่ เดนิ สวนสนาม รปู ท่ี ๖2 ท่าแบกอาวธุ เดนิ สวนสนาม คาบอก การฝึกท่านี้ ผฝู้ กึ จะต้องสัง่ ใหล้ ูกเสือทาท่าแบกอาวุธเสียก่อนโดยใช้คาบอก “แบก – อาวธุ ” เม่ือลูกเสือทาท่าแบกอาวุธเสร็จเรียบร้อยแล้ว จงึ สั่งเดินด้วยคาบอก “สวนสนาม, หน้า – เดิน” ซึ่งถอื เปน็ คาบอกผสม การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาบอก “สวนสนาม, หน้า – เดิน” ให้ลูกเสือพยายามจัดท่าแบกอาวุธ อย่างม่ันคงด้วยมือซ้ายกดส้นไม้พลองหรือไม้ง่ามและศอกซ้ายแนบชิดกับลาตัวตลอดเวลา พร้อมท้ัง เร่ิมออกเดินโดยเตะเท้าซ้ายออกไปข้างหน้า ในลักษณะขาเหยียดตึง ปลายเท้างุ้มลงจนรู้สึกว่าหลังเท้าตึง ฝ่าเท้าสูงจากพื้นประมาณ ๑ คืบ แกว่งแขนขวา มือขวานิ้วท้ังห้าเรียงชิดติดกันและเหยียดตึงเฉียงลงไป ทางด้านหลังทางขวา หันหลังมือออกนอกลาตัวโดยให้ยืนลักษณะลาตัวยืดตรงยกอก สายตามองตรงไป ข้างหน้าในแนวระดับ ในลาดับต่อไปให้ก้าวเท้าขวาเดินต่อไป ในลักษณะเช่นเดียวกับการกา้ วเท้าซ้าย ที่เริ่ม ออกเดินครั้งแรก แล้วก้าวสลับเท้าเดินต่อไปเช่นน้ีเร่ือยๆ โดยพยายามรักษาจังหวะความเร็วในการเดินให้ สม่าเสมอ เม่ือเดินเป็นแถวการก้าวเท้าออกเดินไปข้างหน้าแต่ละก้าวตลอดจนการแกว่งแขนขวาจะต้อง กระทาใหพ้ รอ้ มกันท้ังแถว และลกั ษณะท่าทางในทุกอิรยิ าบถของการเดิน ใหอ้ งอาจผึง่ ผายอยู่เสมอ คาแนะนาสาหรบั ผู้ฝกึ เม่ือผู้ฝึกประสงค์จะฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ คือ “หน้า – เดิน” โดยแจง้ ใหล้ กู เสือทราบกอ่ นวา่ จะฝึกแบบปิดจังหวะ เมื่อลกู เสอื ไดย้ ินคาบอกดังกล่าวนี้ ให้ทาท่าก้าวเท้าซา้ ย ไปขา้ งหนา้ กอ่ นแล้วคา้ งไว้ และรอจนกว่าจะไดร้ บั คาสง่ั ให้ปฏิบตั ติ ่อไป เม่ือผ้ฝู กึ จะให้ลูกเสือปฏบิ ัตใิ นจังหวะ ต่อไปใหใ้ ชค้ าบอก “ตอ่ ไป” เม่ือลูกเสือไดย้ ินคาบอก “ต่อไป” จงึ ทาทา่ ก้าวเท้าขวาตอ่ ไปข้างหน้าแล้วคา้ งไว้ กระทาสลับกันไปเช่นน้ีเรื่อยๆ จนกวา่ จะสงั่ หยดุ

๖๙ ๒. ทา่ เดนิ ตามปกติ คาบอก การฝึกท่าน้ีผู้ฝึกจะต้องสั่งให้ลูกเสือทาท่าแบกอาวุธเสียก่อน โดยใช้คาบอก “แบก – อาวธุ ” เมื่อลูกเสอื ทาทา่ แบกอาวธุ เรยี บรอ้ ยแล้ว จึงสั่งเดนิ ด้วยคาบอก “หน้า – เดิน” การปฏิบตั ิ เม่ือได้ยินคาบอก “หน้า – เดิน” ให้ลูกเสือเร่ิมออกเดินโดยก้าวเทา้ ซ้ายออกไป ข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึงปลายเท้าชี้ตรงไปข้างหน้า ฝ่าเท้าขนานกับพ้ืนและให้สูงจากพื้นประมาณ หน่ึงฝ่ามือ พร้อมกับแกว่งแขนและมือขวาไปข้างหน้าในลักษณะงอข้อศอกเล็กน้อย และมือขวากาหลวม หันหลังมือออกไปด้านหน้าเฉียงขวาโดยข้อมือไม่หักน้าหนักตัวทั้งหมดอยู่บนเท้าขวา ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองตรงไปข้างหนา้ ในแนวระดับเมอ่ื จะก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้สืบเท้าไปให้ได้ระยะกา้ ว ประมาณ ๖๐ ซม. (นับจากส้นเท้าหน้าถึงส้นเท้าหลัง) แล้วจึงจรดส้นเท้าลงไปกับพื้นก่อน ต่อจากน้ันจึง วางปลายเทา้ ลงไปแนบกับพื้น ในลาดบั ตอ่ ไปให้เปลีย่ นน้าหนักตัวท้ังหมดไปอยบู่ นเทา้ ซ้าย แล้วก้าวเท้าขวา ออกไปข้างหน้าในลักษณะเดียวกันกับการก้าวเท้าซ้ายออกไปคร้ังแรก และในขณะเดียวกันน้ันก็ให้แกว่งแขน และมือขวาไปทางด้านหลังในลักษณะข้อศอกงอเล็กน้อย และมือขวากาหลวมหันหลังมือไปทางด้านหน้า เฉียงขวาโดยข้อมือไม่หักส่วนมือซ้ายยังคงรักษาท่าทางในการแบกอาวุธไว้อย่างม่ันคงลาตัวยืดตรง ยกอก สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ ในลาดับต่อไปให้ก้าวเท้าขวาเดินต่อไปในลักษณะ เช่นเดียวกับการก้าวเท้าซ้ายที่เร่ิมออกเดินในคร้ังแรก จนกว่าจะได้ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าอีกครั้ง จึงแกว่งแขนและมือขวาไปทางข้างหน้าเช่นเดียวกับเมื่อเริ่มออกเดิน การเดินคงก้าวออกไปข้างหน้า พร้อมกับแกว่งแขนและมือขวาด้วยวิธีดังกล่าวสลับกันไปเร่ือยๆ โดยพยายามรักษาจังหวะความเร็ว ในการเดนิ ให้สม่าเสมอ คาแนะนาสาหรับผ้ฝู กึ ทา่ เดินเฉยี งอาวธุ และคอนอาวุธให้ยดึ ถอื คาบอกและการปฏิบัติ ดงั นี้  ท่าเดินเฉียงอาวุธ จะต้องส่ังเฉียงอาวุธก่อนด้วยคาบอก “เฉียง, อาวุธ” หลังจากน้ัน จึงสั่งเดิน และปฏิบัติท่าเดินสวนสนามและท่าเดินตามปกติ  ท่าเดินคอนอาวุธ จะต้องส่ังคอนอาวุธก่อนด้วยคาบอก “คอน, อาวุธ” หลังจากนั้น จึงสง่ั เดินทา่ เดินตามปกติ  ในการฝึกท่าเดินเมื่อถืออาวุธนั้น เมอื่ ผฝู้ กึ ได้สง่ั ให้ลกู เสือทาท่าเฉยี งอาวธุ และท่าคอนอาวุธ กอ่ นท่จี ะสัง่ เดนิ ผู้ฝึกจะต้องกวดขนั และตรวจการปฏบิ ัตจิ นแน่ใจว่าถูกต้องแล้วจึงสั่งเดนิ  ในระหว่างท่ีลูกเสือเดิน ไม่ว่าจะเป็นการเดินสวนสนาม หรือการเดินตามปกติก็ตามผู้ฝึก จะตอ้ งกวดขนั และตรวจการปฏบิ ตั ทิ ้ังท่าอาวุธและท่าเดินให้ถกู ต้องควบคูก่ นั ไปท้ังสองท่า ไม่ว่าจะฝึกให้ลูกเสือทาท่าเดินเฉียงอาวุธและคอนอาวุธเมื่อใช้คาบอก “แถว – หยุด” แล้ว และไม่ประสงคจ์ ะใหเ้ ดินต่อไป ผฝู้ ึกจะต้องใชค้ าบอก “เรียบ, อาวธุ ” ทา่ หยุดจากการเดนิ คาบอก “แถว – หยดุ ” (คาบอกแบง่ ) การปฏบิ ัติ ท่าน้ีแบ่งออกเป็น ๒ จังหวะ ดังตอ่ ไปน้ี จังหวะท่ีหน่ึง เมื่อได้ยินคาบอก “แถว – หยุด” พอส้ินคาบอก “หยุด” ไม่ว่าจะเป็นในขณะท่ี เท้าข้างใดตกถึงพ้ืนก็ตามให้ก้าวเท้าอีกข้างหน่ึงเดินต่อไปข้างหนึ่งอีกคร่ึงก้าวแล้วหยุดเดิน พร้อมกันนั้น ให้โน้มน้าหนักตัวไปอยู่ที่เท้าหน้า (เท้าที่ก้าวออกไปข้างหน้าอีกคร่ึงก้าว) มือและแขนซ้ายน้ันยังคงแกว่ง อยูใ่ นลักษณะสลับกับเท้า ขาท้ังสองตงึ ส้นเท้าหลงั เปดิ และบดิ ออกไปทางด้านนอกของลาตวั เล็กน้อย

๗๐ จังหวะท่ีสอง ชักเท้าหลังมาชิดกับเท้าหน้าพร้อมกับสะบัดมือและแขนซ้ายท่ีแกว่งอยู่ กลบั ลงไปอย่ใู นทา่ ตรงอยา่ งแข็งแรงแล้วนิ่ง ในการใช้คาบอกของผู้ฝึกน้ันจะใช้คาบอก “แถว – หยุด” เม่ือเท้าข้างใดข้างหนึ่งของลูกเสือ ในแถวตกถงึ พื้น โดยยดึ ถือหลักดังน้ี เมื่อใช้คาบอก “แถว” ในขณะทีเ่ ท้าขา้ งใดตกถึงพ้ืนกใ็ ห้ใช้คาบอก “หยุด” ในขณะทเี่ ท้าข้างน้ันตกถึงพ้ืนในก้าวต่อไป ตัวอย่างเช่น ใช้คาบอก “แถว” ในขณะท่ีเท้าขา้ งขวาของลูกเสือตกถึง พืน้ กใ็ ห้ใช้คาบอก “หยดุ ” ในขณะทเ่ี ทา้ ข้างขวาของลูกเสือตกถึงพ้นื ในครง้ั ถัดไป เปน็ ตน้ โดยธรรมดาแล้วลูกเสือแต่ละคนจะมีความถนัดในการใช้เท้าทาท่าหยุดต่างกัน บางคน อาจถนัดนาเท้าขวามาชิดเมื่อหยุดหรือบางคนอาจจะถนัดนาเท้าซ้ายมาชิดเม่ือหยุดก็ได้ ในรายท่ีไม่ถนัด ย่อมแสดงออกให้เห็น ด้วยการทาท่าหยุดที่ไม่แข็งแรง หรือไม่ทะมัดทะแมง เพราะฉะนั้นเพื่อเป็นการฝึก ให้ลูกเสือเกิดความเคยชิน และถนัดใช้เท้าหยุดได้อย่างแข็งแรงทั้งสองเท้า ผู้ฝึกควรจะได้พยายามฝึกให้ลูกเสือ ทาทา่ หยดุ จากการเดนิ ดว้ ยการใช้คาบอก เมอ่ื เทา้ ขวาและเท้าซา้ ยตกถึงพื้นควบคู่กันไปอยู่เสมอ ทำ่ เคำรพ (ขณะอยูก่ บั ที่) แบ่งการฝึกออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าตรงหน้าวันทยาวุธ ท่าทางขวาวันทยาวุธ และท่าทางซ้าย วันทยาวธุ รูปท่ี ๖3 ทา่ วันทยาวุธ รูปที่ ๖4 ทา่ เรยี บอาวธุ คาบอก “ตรงหนา้ , ระวงั , วันทยา – วธุ ” (คาบอกผสม) การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทาจังหวะเดียว ให้ยกแขนซ้ายขึ้นมาเสมอแนวไหล่ ศอกงอไปข้างหน้า ให้ตั้งฉากกับลาตัว ฝ่ามือแบคว่า รวบน้ิวหัวแม่มือกับนิ้วก้อยจรดกัน คงเหลือนิ้วช้ี นิ้วกลาง และนิ้วนาง เหยยี ดตรงและชดิ กนั ให้ปลายนิ้วชี้แตะไมพ้ ลองหรอื ไม้ง่ามในรอ่ งไหลข่ วา เมอ่ื เลกิ ทาความเคารพใชค้ าบอก “เรยี บ – อาวธุ ” ให้ลกู เสือลดแขนซา้ ยลงมาอย่ทู ี่เดิมโดยเรว็ ทา่ ทางขวาวนั ทยาวุธ คาบอก “ทางขวา, ระวงั , วนั ทยา – วุธ” (คาบอกผสม) การปฏิบัติ ให้ลูกเสือทาวันทยาวุธพร้อมกับหันหน้าไปยังผู้รับการเคารพ ตาแลจับผู้รับการ เคารพ หันศีรษะตามจนผู้รับการเคารพผ่านหน้าตนไปแล้ว ๒ ก้าว จึงหันหน้ากลับ เม่ือผู้รับการเคารพผ่าน พ้นแถว ให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือบอกเลิกทาความเคารพ “เรียบ – อาวุธ” (ท่าทางซ้ายวันทยาวุธให้ปฏิบัติ เช่นเดยี วกบั ทางขวาวนั ทยาวุธ)

๗๑ ท่าเคารพขณะเคลอ่ื นท่ี ตามปกติเม่ือจะให้เคล่ือนที่ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องบอกให้แบกอาวุธเสียก่อนแล้วจึงสั่งให้ เดินในท่าแบกอาวุธ เม่ือจะทาความเคารพ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือบอก “แลขวา – ทา” ให้ลูกเสือหันหน้าไป ยังผู้รบั การเคารพ แขนขวาแกว่งตามปกติ เม่อื พน้ ผ้รู ับการเคารพแลว้ หันหนา้ กลับ ถ้าลูกเสืออยู่ในท่าแบกอาวุธเคลื่อนท่ีไปตามลาพัง เมื่อจะทาความเคารพให้ลดไม้พลองหรือ ไม้ง่ามลงจากท่าแบกอาวุธมาเป็นท่าเรียบอาวุธจังหวะหนึ่ง มีเพียงมือขวาท่ียกขึ้นมาจับไม้พลองในร่องไหล่ ซา้ ยนน้ั ให้รวบนิว้ หวั แมม่ ือกับนวิ้ ก้อยจรดกนั ฝ่ามอื แบคว่าให้ข้างปลายนว้ิ ชแี้ ตะไมพ้ ลองหรือไม้งา่ มศอกงอ ไปข้างหน้าในแนวเคียงกับไหล่ หันหน้าไปยังผู้รับการเคารพที่ยืนหรือเดินอยู่ (สวนมาหรือเดินไป) เม่ือผู้รับ การเคารพไปแล้ว 2 ก้าว เลิกทาความเคารพโดยใช้มือซ้ายดันไม้พลองหรือไม้ง่ามขึ้นไปอยู่ในท่าแบกอาวุธ ดังเดิม พร้อมกบั หันหนา้ แลตรง ลดแขนทางขวาลงแกวง่ ตอ่ ไปตามปกติ ถ้าลูกเสืออยู่ในท่าคอนอาวุธ อยู่ในแถวควบคุมและผ่านผู้รับการเคารพ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือไม่ ต้องบอกแถวทาความเคารพ ผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือคงทาความเคารพตามลาพังแตผ่ เู้ ดยี ว ถ้าลูกเสืออยู่ในท่าคอนอาวุธไปโดยตามลาพังแต่ผู้เดียว เม่ือผ่านผู้รับการเคารพ ให้ลูกเสือ ทาความเคารพด้วยท่าแลขวา โดยแนบไม้พลองหรือไม้ง่ามชิดลาตัว แขนไม่แกว่ง เม่ือผ่านผู้รับการเคารพ ไปแลว้ 2 กา้ ว จึงหันหน้าแลตรง แกว่งแขนซ้ายตามปกติ (กรณีทา่ แลซ้าย ให้ปฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกับทา่ แลขวา) ทำ่ รวมอำวธุ ทา่ รวมอาวุธแบง่ การปฏิบัตอิ อกเป็น ๒ ท่า คอื ท่ารวมอาวธุ และทา่ ขยายอาวธุ คาบอก “รวมอาวุธ” (คาบอกรวด) ลูกเสือรวมอาวุธเม่ืออยู่ในรูปแถวหน้ากระดาน โดยแต่ละหมู่รวมอาวุธไว้ข้างหน้าหมู่ของตน เมอื่ มคี าบอก “รวมอาวุธ” (คาบอกรวด) ให้ลูกเสือคนท่ี 2 และคนท่ี 4 ก้าวออกมาขา้ งหน้าแลว้ หนั หนา้ เข้า หากัน แล้วรอ้ ยเชือกที่หูไม้พลองเขา้ ดว้ ยกัน ลูกเสอื คนท่ี 3 นาไมพ้ ลองเข้ามาสอด ลูกเสือคนท่ี 5, 6, 7, 8 เขา้ มาพงิ ไม้พลองตามลาดบั นายหมู่จะพิงไม้พลองเปน็ คนสดุ ทา้ ย หมายเหตุ ถ้าเปน็ ไม้ง่าม ใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดยี วกบั ไม้พลองเพียงแตใ่ ชง้ ่ามพิง ทำ่ ขยำยอำวธุ คาบอก “ขยายอาวธุ ” (คาบอกรวด) ลูกเสืออยู่ในรูปแถวหน้ากระดาน เมื่อมีคาบอก “ขยายอาวุธ” ให้นายหมู่ และรองนายหมู่เข้าไป หยิบไม้พลองหรือไม้ง่ามออกมา และเข้าแถว ณ ตาแหน่งเดิม จากน้ันให้คนที่ 7, 6 และ 5 เข้าไปหยิบ ไม้พลองหรือไม้ง่ามออกมาเข้าแถวตามเดิม คนท่ี 2 และคนที่ 4 ก้าวออกมาข้างหน้าแล้วหันหน้าเข้าหากัน และคนท่ี 3 ที่เอาไม้พลองหรือไม้ง่ามสอดพิงเอาออกมาก่อน จากนั้น คนที่ 2 และคนท่ี 4 จึงนาไม้พลอง หรอื ไม้งา่ มออกจากกัน แล้วกลับเขา้ แถวตามเดิม

๗๒ ทำ่ ถอดหมวกและสวมหมวก - ท่าถอดหมวก การใชค้ าบอก “ถอดหมวก” (คาบอกรวด) จังหวะที่หน่ึง จากท่าตรงให้ลูกเสือนาไม้พลองหรือไม้ง่ามไว้ระหว่างปลายเท้าท้ังสองข้าง พิงไม้พลองหรือไม้ง่ามไปท่ีแขนซ้าย ซึ่งงอต้ังฉากกับลาตัว ฝ่ามือแบหงาย (น้ิวทั้งห้าเรียงชิดติดกัน) มือขวา จบั ท่ีปีกหมวก จังหวะท่ีสอง ใช้มือขวาที่จับปีกหมวก ถอดหมวกออกจากศีรษะ วางครอบหัวแม่มือซ้าย (ซ่ึงต้ังฉาก ข้ึนมา) ให้หนา้ หมวกหนั ไปทางขวา ขอบหมวกดา้ นนอกอยรู่ ะหวา่ งนิ้วหัวแมม่ อื กับนว้ิ ช้ีซ้าย จังหวะทส่ี าม นามอื ขวาไปไว้ข้างลาตัวอยใู่ นท่าตรง - ท่าสวมหมวก การใช้คาบอก “สวมหมวก” (คาบอกรวด) จังหวะทห่ี น่ึง นามือขวามาจบั ปกี หมวก จงั หวะที่สอง ใชม้ ือทั้งสองยกหมวกขึ้นมาสวมบนศรี ษะ จังหวะท่ีสาม ใช้มือขวานาไม้พลองหรือไม้ง่ามกลับมาอยู่ด้านขวาของลาตวั และอย่ใู นท่าตรง - ทา่ สวดมนต์และสงบนงิ่ ใชค้ าบอก “ถอดหมวก” (คาบอกรวด) จากทา่ ตรงใหล้ กู เสือนาไม้พลองหรอื ไมง้ ่าม ไว้ระหว่าง ปลายเทา้ ทัง้ สองขา้ ง พงิ ไม้พลองหรอื ไมง้ ่ามไปทีแ่ ขนซา้ ย ถอดหมวกนามาประกบไวใ้ นท่าไหว้ ให้ดา้ นใน ของหมวกหนั ไปทางซา้ ย (หมวกทรงอ่อน ให้ตราหนา้ หมวกหันเขา้ หาตัว หมวกปีก หมวกมีกระบังหน้า หมวกกะลาสี หน้าหมวกหนั ขึ้นขา้ งบน) ผู้แทนหมู่บรกิ ารนาสวดมนต์ (นาไปทลี ะวรรค ทุกคนสวดตามจนจบ) เมือ่ มีคาบอก “สงบน่ิง” (คาบอกรวด) ทุกคนทาท่าสงบนิ่ง โดยใช้มอื ขวาท่ถี ือหมวกลดแขนไป จนสุด ให้ฝา่ มือซ้ายทบั บนหลงั มือขวา กม้ หนา้ สงบน่ิงประมาณ 1 นาที เมื่อมีคาบอก “สวมหมวก” (คาบอกรวด) ลูกเสือทุกคนเงยหน้าขึ้นแล้วสวมหมวก และ นาไม้พลองหรือไมง้ า่ มกลบั มายืนอยู่ในทา่ ตรง ท่าหมอบและลุก คาบอก “หมอบ” (คาบอกรวด) การปฏิบัติ แบง่ ออกเป็น 4 จงั หวะ ดังต่อไปน้ี จงั หวะที่หนง่ึ เร่ิมจากทา่ ตรง ให้ก้าวเทา้ ซา้ ยไปข้างหนา้ ครึ่งก้าว แล้ววางนา้ หนกั ตวั อยูบ่ นเท้า ท้งั สอง ใช้มือขวายกไม้พลองหรือไม้ง่ามผ่านหน้าลาตัวเฉียงไปทางซ้าย ใช้มือซ้ายข้ึนรับไม้พลองหรือไม้ง่าม แลว้ ปล่อยมอื ขวาลงข้างลาตัว จังหวะที่สอง จากนั้นคุกเข่าขวาลงจรดพื้นแล้วจึงคุกเข่าซ้ายลงจรดพื้นตาม ต่อจากนั้นให้ โน้มน้าหนักตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย พร้อมกับใช้มือขวายันพื้นไว้แขนเหยียดตรง (ส่วนมือซ้ายยังคงถือไม้พลอง หรอื ไมง้ ่ามในลักษณะเดิม) จังหวะที่สาม ยกเข่าขวาให้พ้นจากพื้น พร้อมกับเหยียดขาขวาไปข้างหลังจนเหยียดตึง ในลักษณะใช้ปลายเท้าจิกพื้นไว้ เงยหน้าข้นึ และตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ ต่อจากนั้นใช้แขนท่อน ล่างขา้ งซ้ายกดพนื้ ไว้ ยกเข่าซา้ ยให้พ้นจากพนื้ พร้อมกับเหยียดขาขา้ งซ้ายไปข้างหลังจนเหยียดตึง ปลายเท้า จกิ พ้นื ไว้ในลกั ษณะให้ส้นเทา้ ทั้งสองชดิ กัน จังหวะที่ส่ี ต่อจากนั้นให้ลดตัวลงไปนอนราบกับพ้ืน เมื่อแตะพื้นแล้วให้เลื่อนมือขวาและ มอื ซ้ายมากาไม้พลองหรือไม้งา่ ม (มือซ้ายอยู่ด้านบนมือขวา)ไม้พลองหรือไม้ง่ามแทงผ่านข้อศอกทง้ั สองตรง ไปข้างหน้า ทาศีรษะให้ต่าแต่เงยหน้า สายตามองตรงไปทางข้างหน้าในแนวระดับ จัดเท้าท้ังสองข้างให้ส้น เท้าวางอยู่ชิดกนั และแบะปลายเท้าทั้งสองข้างออกไปทางซา้ ยและขวาใหเ้ ต็มที่ จนแบนราบกับพ้นื

๗๓ - ทา่ ลกุ คาบอก “ลุก” (คาบอกรวด) การปฏบิ ัติ แบ่งออกเปน็ 4 จังหวะ ดังตอ่ ไปนี้ จังหวะท่ีหน่งึ ใหง้ อเข่าซ้ายขึ้นมาคุกเข่าไว้กบั พื้นบริเวณใต้ข้อศอกซา้ ยเล็กนอ้ ย ส้นเท้าเปิด แล้วใหม้ ือขวาออกแรงดนั เพ่ือยกลาตวั และแขนข้างซ้ายท่ีกาไม้พลองหรอื ไม้งา่ มใหส้ ูงข้ึนจากพน้ื จนกระท่ัง แขนขวาเหยียดตึง (มอื ซ้ายยังคงกาไมพ้ ลองหรือไม้ง่ามตรงใตห้ น้าอก) จังหวะท่ีสอง คุกเข่าขวาลงไปกับพื้น แล้วใช้มือขวาออกแรงดันพ้ืน ให้ลาตัวดีดต้ังข้ึน พร้อมกับยกเข่าทั้งสองให้พ้นพื้น แล้วลุกข้ึนยืนอยู่ในท่าก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า (วางน้าหนักตัวอยู่บนเท้า ทั้งสองข้าง) มือซ้ายยังคงกาไม้พลองหรือไม้ง่าม ห่างจากอกประมาณ 1 คืบ บีบข้อศอกซ้ายให้แนบชิดกับ ลาตัว มือขวาวางแตะบริเวณข้างขาขวาในลักษณะน้ิวท้ังห้าเรียงชิดติดกัน ลาตัวยืดตรง ตามองไปข้างหน้า ในแนวระดบั จังหวะที่สาม ยกมือขวาข้ึนไปจับไม้พลองหรือไม้ง่ามนากลับมาอยู่ด้านขวาของลาตัว ชักเท้า ซ้ายมาชดิ เท้าขวาปล่อยมือซ้ายลงข้างลาตัวอย่ใู นท่าตรง (ส้นไม้พลองหรอื ไมง้ ่ามจรดพน้ื ข้างนิ้วก้อยเทา้ ขวา) กำรใชไ้ ม้พลองหรอื ไม้ง่ำมปอ้ งกันตวั ความประสงค์ในการฝกึ ธรรมดาผู้ซ่งึ ถือสิ่งใดเปน็ อาวธุ ผูน้ ้ันควรจะได้รู้จักวิธใี ชอ้ าวุธนน้ั ๆ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ โดยเฉพาะ ลูกเสือซึ่งมีไม้พลองหรือไม้ง่ามเป็นอาวุธประจาตัว จะต้องมีความรู้ในการใช้ไม้พลองหรือไม้ง่ามป้องกันตัว เมือ่ มเี หตุจาเปน็ เกดิ ขน้ึ ๑. ท่าเตรียมแทง โดยใชค้ าบอกว่า “เตรียมแทง” (คาบอกรวด) ให้กา้ วเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว พร้อมกันนั้นพุ่งไม้พลองหรือไม้ง่ามไปข้างหน้า มือซ้ายยกขึ้นรับไม้พลองหรือไม้ง่าม มือขวาจับ ไม้พลองหรือไม้ง่ามใต้ศอกซ้ายและแนบติดกับเข็มขัด มือซ้ายกาไม้พลองหรือไม้ง่ามแน่น ข้อศอกขวา กระชับไม้พลองหรือไม้ง่ามให้แน่นติดกับตัว ปลายไม้พลองหรือไม้ง่ามสูงเสมอตาและอยู่ในแนวสายตาซ้าย เข่าซ้ายงอเล็กน้อย ขาหลังซงึ่ เป็นขาหลักตึง ยืนเต็มฝ่าเท้าท้ังสอง น้าหนักตัวอยู่กึ่งกลางระหว่างเท้าท้ังสอง หลงั และศรี ษะเป็นแนวเดยี วกัน รูปที่ ๖5 ทา่ เตรียมแทง

๗๔ ขณะที่อยู่ในท่าเตรียมแทงน้ัน เม่ือจะให้พักให้ใช้คาบอกว่า “พัก” ให้ลาตัวยืดตรง และวางไม้พลอง หรือไม้ง่ามอยู่ในระหว่างเทา้ ซ้ายและเท้าขวา ให้เอามอื ขวาจับคันพลองหรือไม้ง่ามเหนือมือซ้ายและชิดมือซ้าย ระดับหน้าอก กางศอกท้ังสองออกดา้ นข้าง เม่อื จะใหท้ าท่าเตรียมแทงต่อไปใหบ้ อกวา่ “เตรียมแทง” หมายเหตุ เมือ่ จะให้เลิกจากท่าเตรียมแทงให้บอกวา่ “เรยี บ – อาวุธ” ท่าแทงแบ่งออกเปน็ ๓ ท่า คอื แทงไกล, แทงใกล,้ แทงเสย ก. แทงไกล ใช้แทงท่ีหมาย (คอ หน้าอก) อยู่ห่างจากผ้แู ทงประมาณ ๓ กา้ ว คาบอกเม่ือจะให้ แทงไกลใหใ้ ช้คาบอกวา่ “แทงไกล – แทง” (คาบอกแบง่ ) รูปท่ี ๖6 ทา่ แทงไกล จากท่าเตรียมแทง ให้แทงไม้พลองหรือไม้ง่ามพุ่งไปข้างหน้าระดับสายตา เมื่อแทงแล้ว ให้ดึงไมพ้ ลองหรอื ไม้ง่ามกลบั มาอยู่ในท่าบังตวั โดยเรว็ แลว้ ส่งไม้พลองหรอื ไมง้ ่ามไปอยู่ในท่าเตรยี มแทง รูปที่ ๖7 ท่าบงั ตัว รปู ท่ี ๖8 ท่าเตรียมแทง เมื่อจะให้เลิกจากทา่ เตรยี มแทงใหบ้ อกว่า “เรียบ – อาวธุ ” ในการฝึกขั้นต้น เพ่ือให้ลูกเสือมีความชานาญและถูกต้องให้ฝึกปิดจังหวะเสียก่อน การฝึกปิด จงั หวะให้ฝึกดังนี้ ให้ใชค้ าบอกวา่ “แทงไกล, อยา่ เพงิ่ ชกั อาวุธกลับ – แทง” (คาบอกผสม) - จากท่าเตรียมแทง ให้ลูกเสือแทงไม้พลองหรือไม้ง่ามไปยังท่ีหมายสุดแขน ให้ไม้พลอง หรือไม้ง่ามอยู่ระหว่างซอกรักแร้ บีบแขนขวาท่อนบนให้แน่น โน้มตัวไปข้างหน้าให้มากจนข้างหลังตึง

๗๕ ลาตัวทั้งทอ่ นบนและท่อนลา่ งเป็นแนวเดียวกัน เท้าซ้ายซ่ึงอยู่ข้างหน้ายันอยกู่ ับพื้นดินเต็มฝ่าเท้า และงอเข่า ซ้ายให้มาก ส่วนเท้าขวาเหยียดตึงไปข้างหลัง (ระวังอย่าให้ส้นเท้าหลังเปิด) ตามองดูท่ีหมายแต่ยังไม่ชัก ไมพ้ ลองหรอื ไม้ง่ามกลบั - เมื่อบอกว่า “บังตัว” ให้ลูกเสือชักไม้พลองหรือไม้ง่ามกลับเข้ามาจนชิดกับเข็มขัด ไม้ พลองหรือไมง้ ่ามขนานกับพ้นื จนขาหนา้ ตึง ขาหลงั งอ - เมื่อบอกว่า “ต่อไป” ให้ลูกเสือส่งไม้พลองหรือไม้ง่ามไปอยู่ในท่าเตรียมแทงตามเดิม และสั่ง “เรยี บ – อาวธุ ” ข. แทงใกล้ ใช้แทงที่หมาย (หนา้ ทอ้ ง) อยู่หา่ งจากผแู้ ทงประมาณ 2 ก้าว ใชค้ าบอกวา่ “แทงใกล้ – แทง” (คาบอกแบ่ง) โดยทาตอ่ จากท่าเตรยี มแทง รูปท่ี ๖9 ท่าแทงใกล้ จากท่าเตรียมแทง ก่อนแทงให้เลื่อนมือซ้ายไปจับไม้พลองหรือไม้ง่ามเหนือมือขวา จากน้ันให้ชักไม้ พลองหรือไม้ง่ามกลับมาในท่าบังตัวก่อนแล้วแทงไม้พลองหรือไม้ง่ามไปยังท่ีหมายจนแขนซ้ายตึงพร้อมกับโน้ม นา้ หนักตวั ไปข้างหน้าใหม้ าก (ดันไม้พลองหรือไม้ง่ามเขา้ ไปอยู่ในรกั แร้) เมื่อแทงแลว้ ให้เลอ่ื นมอื ขวาไปจับใต้ มือซ้ายดงึ ไมพ้ ลองหรือไม้ง่ามออกจากทีห่ มายมาอยูใ่ นท่าบังตัวและกลบั มาอยใู่ นท่าเตรียมแทง รูปที่ 70 ทา่ บงั ตวั รปู ท่ี 71 ทา่ เตรียมแทง

๗๖ ในการฝึกขั้นต้น เพ่ือให้ลูกเสือมีความชานาญและถูกต้อง ให้ฝึกปิดจังหวะเสียก่อน การฝึกปิด จังหวะใหฝ้ ึกดังนี้ ให้ใชค้ าบอกว่า “แทงใกล้, อยา่ เพงิ่ ชกั อาวุธกลบั – แทง” (คาบอกผสม) - จากท่าเตรียมแทง ให้ลูกเสือเล่ือนมือซ้ายไปจับไม้พลองหรือไม้ง่ามเหนือตาแหน่งที่จับ ไวเ้ ดิม แล้วแทงไมพ้ ลองหรอื ไม้ง่ามไปยังเปา้ หมายทนั ที - เมือ่ บอกวา่ “บังตวั ” ลูกเสือชักไม้พลองหรอื ไม้งา่ มเข้ามาจนชิดกบั ตวั ขนานกับพื้น - เมื่อบอกว่า “ต่อไป” ให้ลูกเสือส่งไม้พลองหรือไม้ง่ามไปอยู่ในท่าเตรียมแทงและสั่ง “เรียบอาวุธ” ค. แทงเสย ใช้แทงในระยะประชิดคือตั้งแต่ระยะต่ากว่า 1 ก้าว เช่นในขณะที่ต่อสู้กันในคู หรือที่แคบ ๆ ซึ่งไม่มีระยะพอที่จะใช้ท่าแทงอย่างอื่นได้ถนัด ท่ีหมายมักแทงใต้คาง หรือท่ีลาคอ ใช้คาบอก ว่า “แทงเสย – แทง” (คาบอกแบ่ง) ให้ลูกเสือดึงไม้พลองหรือไม้ง่ามด้วยมือทั้งสอง ตั้งไม้พลองหรือไม้ง่าม ข้ึนให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามแนบกับตัวให้แน่น มือซ้ายอยู่ข้างบน มือขวาจับอยู่ใต้มือซ้ายเล็กน้อย งอเข่าทั้ง สองลงให้มาก แล้วแทงเสยด้วยกาลังมือทั้งสองและสะโพก เม่ือบอกว่า “บังตัว” ให้ลูกเสือชักไม้พลองหรือ ไมง้ า่ มย่อตวั ลงอยูใ่ นทา่ บังตัว แล้วอย่ใู นท่าเรียบอาวุธ ในการฝึกขั้นต้น เพ่ือให้ลูกเสือมีความชานาญ และถูกต้องให้ฝึกหัดปิดจังหวะเสียก่อน การฝึก ปิดจังหวะให้ฝึกดังนี้ ให้ใช้คาบอกว่า “เตรียมแทงเสย” ให้ลูกเสือทาท่าเตรียมแทงเสย พร้อมกับงอเข่าท้ังสองข้าง จับไมพ้ ลองหรอื ไม้งา่ มตัง้ ตรงแนบลาตัว เมอ่ื บอกว่า “ตอ่ ไป” ให้แทงเสยโดยการยดื ตัวข้นึ แทงตรงเป้าหมาย เม่อื บอกวา่ “บงั ตัว” ให้ดงึ ไม้พลองหรือไมง้ า่ มลงมาโดยเรว็ พร้อมกบั ยอ่ เข่าลงทงั้ สองข้าง เมื่อบอกว่า “ต่อไป” ให้ไม้พลองหรือไม้ง่ามกลับมาอยู่ในท่าเตรียมแทง และอยู่ในท่าเรียบ อาวุธ รูปท่ี ๗2 ทา่ เตรยี มแทงเสย รูปท่ี ๗3 ทา่ แทงเสย

๗๗ ท่าปดั มีประโยชน์สาหรับปัดอาวุธค่ตู อ่ สู้ ซึ่งแทงมายงั เราให้พลาดไป ท่าปัดมี 2 ท่า 1.ทา่ ปดั ขวา 2.ท่าปัดซา้ ย รูปที่ ๗4 ท่าปดั ขวา 1.ทา่ ปดั ขวา คาบอก “ปัดขวา – ปัด” (คาบอกแบ่ง) ให้เหยียดแขนซ้ายเบนไม้พลองหรือไม้ง่ามไป ทางขวาโดยแรง อย่าพลิกข้อมือและอย่าให้ตัวเคล่ือนที่ไปตามไม้พลองหรือไม้ง่าม แล้วนาไม้พลองหรือไม้ งา่ มกลบั ไปอยูใ่ นทา่ เตรียมแทง 2.ท่าปดั ซา้ ย คาบอก “ปัดซ้าย – ปัด” (คาบอกแบ่ง) ทาเหมือนปัดขวา แต่เบนไม้พลองหรือไม้ง่ามไป ทางซ้ายโดยแรง รูปท่ี ๗5 ท่าปดั ซา้ ย

๗๘ การปัดนี้ จะปดั สูงต่าเพยี งไร ย่อมแล้วแตอ่ าวธุ ของคู่ต่อส้ทู แ่ี ทงมา ส่วนสาคัญของรา่ งกาย ซ่ึงควร จะเลือกเป็นท่หี มายแทงนั้นจาเป็นต้องแทงให้ถูกเพียงครั้งเดยี ว ตาแหน่งท่ีสาคัญ คือ  ทีล่ าคอ  ทหี่ นา้ อก หน้า ใตช้ อ่ งทอ้ ง สะโพก ท้องน้อย บรเิ วณไต ท่ำตี คือ ท่าตีบน ท่าตีล่าง ให้ลูกเสือจับคู่กัน หันหน้าเข้าหากันในท่าเฉียงอาวุธ (ยืนห่างกัน ประมาณ 2 ก้าว)  ทา่ ตีบน เมอ่ื มคี าบอก “ตี – ทา” (คาบอกแบง่ ) ครง้ั ท่ี 1 ฝ่ายตี : ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับเหว่ียงมือขวาซ่ึงกาไม้พลองหรือ ไม้งา่ มอย่นู ั้นกระแทกออกไปเป็นวง (คล้ายเหว่ยี งโดยแรง) เปา้ หมายคือคางหรอื ขมบั ด้านขวาของฝา่ ยรับ ฝ่ายรับ : ให้ถอยเท้าขวาไปดา้ นหลัง พร้อมกับใช้มอื ซ้ายซึ่งกาไม้พลองหรอื ไมง้ า่ มอยู่น้ัน เหว่ียงยกข้ึนมากันบริเวณคางหรือขมับด้านขวาของตน (โดยใช้มือขวาช่วยกดปลายไม้พลองหรือไม้ง่าม ลงข้างลา่ ง) คร้ังที่ 2 ฝ่ายตี : ให้ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับเหวี่ยงมือซ้ายซึ่งกาไม้พลองหรือ ไมง้ า่ มอย่นู ั้นกระแทกออกไปเปน็ วง (คลา้ ยเหว่ียงโดยแรง) เปา้ หมายคอื คางหรอื ขมบั ด้านซา้ ยของฝ่ายรับ ฝา่ ยรับ : ให้ถอยเทา้ ซ้ายไปด้านหลงั พรอ้ มกับใช้มอื ขวาซง่ึ กาไม้พลองหรือไม้งา่ มอยนู่ ้ัน เหว่ียงยกข้ึนมากันบริเวณคางหรือขมับด้านซ้ายของตน (โดยใช้มือซ้ายช่วยกดปลายพลองหรือไม้ง่าม ลง ขา้ งล่าง)  ทา่ ตีล่าง ให้ลูกเสือยนื หนั หนา้ เข้าหากันในทา่ เฉยี งอาวุธ และห่างกันประมาณ 2 กา้ ว เมอ่ื มีคาบอก “ตี – ทา” (คาบอกแบ่ง) ครั้งที่ 1 ฝ่ายตี : ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับงอแขนขวาดึงไม้พลองหรือไม้ง่าม เข้ามาให้ใกล้ตัว พร้อมกับเหวี่ยงมือซ้ายซึ่งกาไม้พลองหรือไม้ง่ามกระแทกออกไปเป็นวง (คล้ายเหว่ียงโดยแรง) เปา้ หมายคือบรเิ วณเข่าซ้ายของฝา่ ยรบั ฝ่ายรับ : ให้ถอยเท้าขวาไปดา้ นหลัง พร้อมกบั ใช้มือซ้ายซงึ่ กาไม้พลองหรือไม้งา่ มอยนู่ ั้น เหวย่ี งลงไปป้องกันเข่าซ้ายของตน ครั้งท่ี 2 ฝา่ ยตี : ให้กา้ วเท้าขวาไปข้างหนา้ พรอ้ มกับใช้มอื ขวาตกี ระแทกไปยังเข่าขวาของฝา่ ยรับ ฝา่ ยรับ : ให้ถอยเทา้ ซา้ ยไปข้างหลัง พร้อมกับใชม้ ือขวาซึ่งกาไม้พลองหรอื ไม้ง่ามอยู่น้ัน เหว่ยี งลงไปปอ้ งกนั กบั เขา่ ขวาของตน

๗๙ บทท่ี 5 สัญญำณมือในกำรเรียกแถวของลกู เสือสำกล ในการใช้สัญญาณมือเรยี กหมู่แถวต่างๆ ในการฝึกอบรมลูกเสือตามแบบของลกู เสือสากลของลูกเสือ ทุกประเภท ผู้บังคับบัญชาที่จะเรียกแถวนั้นจะต้องเลือกสถานที่ให้เหมาะสมเสียก่อน และยืนตรงแล้วจึงเรียก และให้สัญญาณ การใช้คาบอกสาหรับกองลูกเสือสารองใช้คาว่า “แพ็ก” ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสอื วสิ ามัญ ใชค้ าว่า “กอง” 1. แถวหนำ้ กระดำนแถวเด่ียว รปู ที่ 76 แถวหน้ากระดานแถวเด่ยี ว ผู้เรียกยืนท่าตรงเหยียดแขนท้ังสองไปข้างเสมอแนวไหล่ มือแบหันฝ่ามือไปข้างหน้า แล้วใช้ คาบอก “แพก็ ” หรอื “กอง” ตามประเภทลูกเสอื ให้หมู่ลูกเสือทุกหมู่ในกองเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว ข้างหน้าผู้เรียก ให้ผู้เรียกอยู่กึ่งกลาง ของแถวอยู่หา่ งจากหมลู่ กู เสอื ประมาณ ๖ ก้าว ระยะเคยี งของลกู เสอื ในแถวหน้ากระดานแถวเด่ียว คอื หน่งึ ช่วงศอก มือซ้ายข้ึนเท้าสะโพก ให้ฝ่า มือพักอยู่บนสะโพกนิ้วเหยียดชิดกันอยู่ประมาณแนวตะเข็บกางเกง ศอกอยู่เสมอแนวลาตัว การจัดแถวใช้ แขนขวาจรดปลายศอกซ้าย ผูเ้ รียกแถวจดั การตรวจแถวแล้วส่งั “นงิ่ ” ลกู เสอื ทุกคนลดมอื ลงพรอ้ มกับสะบัด หนา้ กลบั มาอยใู่ นท่าตรงและนิ่ง หมายเหตุ ผเู้ รยี ก หมายถงึ ผ้กู ากบั กองลกู เสอื ของกองน้ัน

๘๐ 2. แถวตอนหมู่ รปู ที่ 77 แถวตอนหมู่ ผูเ้ รียกยืนอยู่ในท่าตรงแล้วใช้สัญญาณมือ โดยเหยยี ดแขนทั้งสองไปขา้ งหน้า เสมอแนวไหล่มอื แบ หันฝา่ มอื เขา้ หากนั แลว้ ใชค้ าบอก “แพก็ ” หรอื “กอง” ตามประเภทลูกเสือ ให้หมู่ลกู เสือมาเขา้ แถวตอนหมู่ โดยห่างจากผู้เรยี กโดยประมาณ 6 กา้ ว (ผู้เรยี กจะอย่ตู รงกลาง) ในกรณที ่ีมี 4 หมู่ ผเู้ รียกจะยนื อยู่ระหวา่ งหมู่ที่ 2 กบั หมู่ท่ี 3 ระยะห่างระหว่างหมู่ 1 ชว่ งศอก ระยะต่อภายในหมู่ 1 ชว่ งแขน เม่อื เขา้ แถวเรียบร้อยแลว้ ผ้เู รยี กแถวตรวจการจัดแถวแลว้ ส่ัง “นิ่ง” 3. แถวหน้ำกระดำนหมปู่ ิดระยะ รูปที่ 78 แถวหน้ากระดานหมู่ปิดระยะ ผู้เรียกยืนท่าตรงกามือทั้ง ๒ ข้าง เหยียดตรงไปข้างหน้าขนานกับพ้ืน งอข้อศอกขึ้นเป็นมุมฉาก หนั หนา้ มอื เข้าหากนั แลว้ ใช้คาบอก “แพก็ ” หรือ “กอง” ตามประเภทลกู เสอื

๘๑ ให้ลูกเสือหมู่ท่ี ๑ มาเขา้ แถวหน้าผูเ้ รยี ก นายหมู่อยขู่ วามือ ลกู หมู่อยู่ซา้ ยมอื เรยี งกนั เปน็ แถวหน้า กระดาน โดยใหต้ รงก่ึงกลางของหม่อู ย่ตู รงหน้าผเู้ รียก หา่ งจากผ้เู รียกประมาณ ๖ ก้าว หมูต่ ่อ ๆ ไป เขา้ แถว หนา้ กระดานเชน่ เดยี วกนั ขา้ งหลงั หมู่แรกตามลาดับ ระยะหมตู่ ่อหมู่ประมาณ ๑ ชว่ งแขน การเข้าแถว ให้ลูกเสือทุกคน (เว้นคนอยู่ซ้ายสุด) ยกมือซ้ายข้ึนเท้าสะโพก ระยะต่อระหว่างหมู่ต่อ หมู่ประมาณ ๑ ช่วงแขน (ไม่ต้องยกแขน) สะบัดหน้าไปทางขวา เม่ือผู้เรียกแถวตรวจการจัดแถวแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสอื ทกุ คนลดแขนลงพร้อมสะบดั หน้ากลับมาอยูใ่ นท่าตรง 4. แถวหน้ำกระดำนหมเู่ ปดิ ระยะ รูปที่ 79 แถวหนา้ กระดานหมู่เปิดระยะ ผู้เรียกยืนท่าตรงกามือท้ัง ๒ ข้าง งอข้อศอกเป็นมุมฉาก แขนท่อนบนแบะออกจนเป็นแนว เดยี วกบั ไหล่ หันหน้ามือไปข้างหนา้ แล้วใชค้ าบอก “แพก็ ” หรือ “กอง” ตามประเภทลกู เสอื ให้ลกู เสอื ทุกคนเขา้ แถวเหมือนแถวหนา้ กระดานหมปู่ ิดระยะ โดยให้ก่ึงกลางของหมู่อยู่ตรงหนา้ ผเู้ รียก ห่างจากผู้เรยี กประมาณ 6 กา้ ว ระยะต่อระหว่างหมู่ของทกุ หม่ขู ยายออกไปทางด้านหลงั หา่ งกนั หมู่ ละประมาณ ๓ ชว่ งแขน การเข้าแถว ให้ลูกเสือทุกคน (เว้นคนอยู่ซ้ายสุด) ยกมือซ้ายข้ึนเท้าสะโพก สะบัดหน้าไปทางขวา ระยะต่อระหวา่ งหมู่ต่อหมู่ประมาณ ๓ ชว่ งแขน เมื่อผูเ้ รียกแถวตรวจการจัดแถวแลว้ สง่ั “นงิ่ ” ลูกเสือทกุ คน สะบัดหน้ากลับและอย่ใู นทา่ ตรง 5. แถวรปู คร่งึ วงกลม รูปที่ 80 แถวรปู ครึ่งวงกลม

๘๒ ผเู้ รยี กยืนทา่ ตรง มือแบท้ัง ๒ ขา้ ง เหยียดตรงลงข้างล่างด้านหนา้ ห่างจากลาตวั พอสมควร คว่าฝ่า มอื เข้าหาตวั โบกผา่ นลาตวั ประสานกันดา้ นหนา้ ช้า ๆ เปน็ รูปครึ่งวงกลม แล้วใช้คาบอก “แพ็ก” หรอื “กอง” ตามประเภทลกู เสือ ให้ลูกเสือหมู่แรกยืนด้านซ้ายมือของผู้เรียก โดยนายหมู่ลูกเสือหมู่แรกยืนอยู่เป็นแนวเดียวกับ ผู้เรียก หมู่ที่ ๒ และหมู่ต่อๆ ไปอยู่ทางด้านซ้ายของหมู่แรกตามลาดับ จนคนสุดท้ายของหมู่สุดท้ายอยู่เป็น เส้นตรงแนวเดยี วกับผเู้ รยี ก และนายหมลู่ ูกเสอื หมู่แรกโดยถือว่าผเู้ รียกเป็นจดุ ศนู ยก์ ลาง การเข้าแถว ให้ลูกเสือทุกคน (เว้นคนอยู่ซ้ายสุด) ยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก สะบัดหน้าไปทางขวา (ยกเว้นนายหมู่ลูกเสือหมู่แรก) เมอื่ ผู้เรียกแถวตรวจการจัดแถวแล้วส่ัง “น่ิง” ลูกเสือทกุ คนลดแขนลงพร้อม สะบัดหนา้ กลบั มาอย่ใู นทา่ ตรง 6. แถวรปู วงกลม ก. แบบผเู้ รียกแถวยืนอยทู่ จี่ ุดศนู ย์กลำง รูปท่ี 81 แถวรูปวงกลม ก. ผู้เรียกยืนท่าตรง มือแบท้ังสองข้าง เหยียดตรงลงข้างล่างห่างจากลาตัวพอสมควร คว่าฝ่ามือ เขา้ หาตัว โบกผา่ นลาตวั ประสานกนั ดา้ นหน้าจรดด้านหลงั เป็นรปู วงกลมช้า ๆ แลว้ ใช้คาบอก “แพ็ก” หรือ “กอง” ตามประเภทลูกเสือ ให้ลูกเสือหมู่แรกยืนด้านซ้ายมือของผู้เรียก โดยนายหมู่ลูกเสือหมู่แรกยืนอยู่แนวเดียวกับ ผู้เรียก หมู่ท่ี ๒ และหมู่ตอ่ ๆ ไป อยู่ทางดา้ นซ้ายของหมู่แรกตามลาดบั จนคนสดุ ท้ายของหมู่สุดทา้ ยไปจรด กับนายหมลู่ ูกเสือของหมู่แรก ถอื ผู้เรยี กเป็นจดุ ศูนย์กลาง การเข้าแถว ให้ลูกเสือทุกคนยกมือซ้ายข้ึนเท้าสะโพก สะบัดหน้าไปทางขวา เมื่อผู้เรียกแถว ตรวจการจดั แถวเรยี บรอ้ ยแล้วสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทกุ คนลดแขนลงและสะบัดหน้ากลับมาอยใู่ นทา่ ตรง

๘๓ ข. แบบผู้เรียกยนื อยทู่ เ่ี สน้ รอบวง รปู ท่ี ๘2 แถวรปู วงกลม ข. ผูเ้ รียกยนื ท่าตรง มือขวากาเหยยี ดแขนยกไปข้างหน้า ข้นึ ข้างบน และเลยไปหลงั ช้า ๆ แล้วใช้ คาบอก “แพก็ ” หรอื “กอง” ตามประเภทลกู เสือ ให้ลูกเสือหมู่แรกยืนด้านซ้ายมือของผู้เรียก โดยนายหมู่ลูกเสือหมู่แรกยืนข้างผู้เรียก หมู่ท่ี ๒ และหมู่ต่อ ๆ ไป อยู่ด้านซ้ายมือของผู้เรียกตามลาดับ จนคนสุดท้ายของหมู่สุดท้าย ไปจรดกับผู้เรียกด้าน ขวามือ ถือผู้เรียกเป็นเส้นรอบวง ให้ลูกเสือทุกคนยกมือซ้ายขึ้นเท้าสะโพก (รวมท้ังผู้เรียกด้วย แต่แลตรง) สะบัดหน้าไปทางขวา เม่ือผู้เรียกแถวตรวจการจัดแถวเรียบร้อยแล้วส่ัง “น่ิง” ลูกเสือทุกคนลดแขนลงและ สะบัดหน้ากลับมาอยใู่ นทา่ ตรง 7. แถวรศั มหี รือล้อเกวยี น รูปท่ี 83 แถวรศั มหี รือล้อเกวียน ผู้เรียกแถวยืนอยู่ในท่าตรง มือขวาแบคว่ากางน้ิวออกทุกน้ิว ชูแขนไปข้างหน้าทามุมประมาณ ๔๕ องศา แลว้ สัง่ “แพก็ ” หรอื “กอง” ตามประเภทลกู เสอื ให้ลูกเสือทุกหม่มู าเข้าแถวเป็นรูปหมู่แถวตอนหน้าผู้เรยี กห่างจากผู้เรียกประมาณ ๖ ก้าว เป็นรูป รัศมี โดยให้หมู่แรกอยู่ด้านหน้าทางซ้ายมือผู้เรียกประมาณ ๔๕ องศา หมทู่ ่ี 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ด้านซ้าย ของหมู่แรกตามลาดับถือผู้เรียกเป็นจุดศูนย์กลาง ระยะต่อของแต่ละหมู่ 1 ช่วงแขนและระยะห่างระหว่าง หมู่ตามความเหมาะสม และนายหมลู่ ูกเสือหมูส่ ุดท้ายจะอย่ดู ้านหน้าทางขวามือของผู้เรียกประมาณ 45 องศา เมื่อผู้เรยี กแถวตรวจแถวเรยี บร้อยแล้วส่งั “น่ิง” ลกู เสือทกุ คนอยู่ในท่าตรง

๘๔ 8. แถวสเี่ หลย่ี มเปิดด้ำนหนง่ึ รปู ท่ี 84 แถวสเี่ หลี่ยมเปิดดา้ นหน่ึง ผู้เรียกแถวยนื ทา่ ตรงอยู่ด้านหน่งึ (ซงึ่ เปน็ ด้านเปิด) ศอกงอยกแขนทงั้ สองขน้ึ ขา้ งหน้า ให้หนา้ แขน ทัง้ สองไขว้กนั ตรงฝ่ามือ ฝ่ามือทั้งสองแบเหยียดหันไปข้างหน้า ฝ่ามือขวาไขว้ทับฝ่ามือซ้าย ประมาณแนวลูกคาง ถ้ามีลกู เสือ ๓ หมู่ ใหเ้ ข้าแถวในอกี ๒ ด้านท่ีเหลือ โดยมีหมู่ที่ ๑ เขา้ แถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยวทางดา้ นซ้าย ของผ้เู รียก หันหนา้ เข้าในรูปส่ีเหลีย่ ม หมู่ท่ี ๒ เขา้ แถวหนา้ กระดานแถวเด่ียวด้านตรงข้ามกับผเู้ รยี ก หนั หน้า เขา้ หาผู้เรียก และหมทู่ ี่ ๓ เขา้ แถวหน้ากระดานแถวเดียวตรงข้ามกับ หมู่ท่ี ๑ ทางด้านขวาของผเู้ รยี ก การเข้าแถวให้ลูกเสือทุกคนปฏิบัติเหมือนกับการเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว เว้นระยะตรงมุม ของแตล่ ะดา้ นให้เทา่ กันพอควรไม่ซ้อนหรือตรงกัน ถ้ามีลูกเสือมากกวา่ ๓ หมู่ ให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของผู้เรียกแถว แต่ควรให้ดา้ นซ้ายมือกับด้านขวามือ มีจานวนเทา่ กนั เม่ือผู้เรียกแถวตรวจแถวเรียบรอ้ ยแลว้ ส่งั “น่งิ ” ลกู เสือทุกคนลดแขนลงพร้อมสะบัดหน้ากลบั อยู่ในท่าตรง

๘๕ กำรใช้สัญญำณมอื เปน็ คำสง่ั ใหแ้ ถว “พักตำมระเบยี บ” และ “ตรง” ในการเข้าแถวของหมู่ลูกเสือ จะเป็นแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว แถวตอนหมู่ แถวหน้ากระดาน หมู่ปิดระยะ แถวหน้ากระดานหมู่เปดิ ระยะ แถวรูปครึง่ วงกลม แถวรูปวงกลม (ก,ข) แถวรัศมีหรือลอ้ เกวียน ตลอดจนแถวรูปส่ีเหลี่ยมเปิดด้านหนึ่ง ผู้เรียกแถวอาจใช้สัญญาณมือเป็นคาสั่งให้แถว “พักตามระเบียบ” จากท่าตรง และเปน็ คาสง่ั ใหแ้ ถว “ตรง” จากทา่ พักตามระเบยี บก็ได้ โดยผู้เรียกแถวทา ๒ จังหวะ ดงั น้ี ท่ำพักตำมระเบียบ รปู ที่ 85 ท่าสัญญาณใหอ้ ย่ใู นท่าพักตามระเบียบ จังหวะท่ีหน่ึง กามือขวา งอแขนตรงศอกให้มือที่กาอยู่ประมาณตรงหัวเข็มขัด หันฝ่ามือที่กาเข้า หาหวั เขม็ ขัด จังหวะที่สอง สลัดมือที่กาและหน้าแขนขวาไปทางขวา ประมาณแนวเดียวกับแนวเข็มขัด เป็น สญั ญาณให้พักตามระเบียบ (ลกู เสือทุกคนปฏิบตั ิในท่าพกั ตามระเบยี บ) ท่ำตรง รูปท่ี 86 ทา่ สัญญาณใหอ้ ยใู่ นท่าตรง จะใช้สญั ญาณมอื เปน็ คาสั่งให้ “ตรง” ผู้เรยี กแถวทา ๒ จงั หวะ ดังนี้ จงั หวะทห่ี น่ึง กามือในลักษณะเหมือนกบั เมื่อตอนสลดั มอื ขวาที่กาและหนา้ แขนขวาส่งั “พกั ตามระเบยี บ” จงั หวะที่สอง กระตุกหน้าแขนขวาให้กามือขวากลับมาอยู่ตรงหัวเข็มขัด ลูกเสอื ทุกคนชดิ เท้าซ้าย ลดแขนที่ไขว้หลงั ลงและอยใู่ นท่าตรง

๘๖ บทท่ี 6 กำรสวนสนำม กำรเตรียมสถำนทแ่ี ละอุปกรณ์ ๑. สถานท่ีท่ีเหมาะสม ได้แก่ สนามกีฬาที่มีลู่ว่ิง สนามกีฬาของสถานศึกษา หรือสถานท่ีอ่ืน ท่ีเหมาะสม รปู ที่ 87 สถานที่สวนสนาม ๒. ระยะทางการเดินสวนสนามของลูกเสือที่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระยะของ การเดินสวน สนามผ่านธง ๓ ธง แท่นรบั กำรเคำรพ ธง ๓ ธง ๒ ธง ๑ 10 ก้าว 10 ก้าว 10 กา้ ว หมำยเหตุ รปู ที่ 88 ระยะการปักธง 3 ธง ธง 1 สีเหลอื ง (ธงเตรยี มทาความเคารพ) ธง 2 สีแดง (ธงทาความเคารพ) ธง 3 สเี ขียว (ธงเลิกทาความเคารพ)

กำรจัดแถวสวนสนำม ๘๗ แถวหนำ้ กระดำนตอนหมู่ มี ๒ รปู แบบ ๑. รูปแถวตอนเรยี ง ๔ ๒. รปู แถวหน้ากระดานตอนหมู่ แถวตอนเรยี ง ๔ ปา้ ยชือ่ กองลูกเสือ 5 กำ้ ว ป้ำยช่อื กองลกู เสอื 5 กำ้ ว ธงประจากองลกู เสือ 5 กำ้ ว ผูก้ ากบั ลูกเสือ ธงประจำกองลกู เสอื 5 กำ้ ว รองผู้กากับลกู เสือ 5 กำ้ ว 3 กำ้ ว กองลูกเสือ ผกู้ ำกบั ลกู เสอื 5 กำ้ ว รองผกู้ ำกบั ลกู เสอื 3 กำ้ ว กองลกู เสอื รปู ท่ี 89 รปู แบบการจดั แถวเดินสวนสนาม หมายเหตุ ในการสวนสนามใหเ้ วน้ ระยะต่อดงั นี้ หลงั วงดุรยิ างคป์ ระมาณ 20 ก้าว ระหวา่ งกองลกู เสือ 5 กา้ ว ระหวา่ งลกู เสอื จงั หวัด 10 กา้ ว ระหว่างลูกเสือเขตพ้นื ท่ี 15 ก้าว ท้ังนี้ รปู ขบวนและระยะตอ่ อาจเปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม

๘๘ ความหนา๔๑น้ิว ๓. ขนาดของป้ายสวนสนามลูกเสือ กว้าง 9 นว้ิ ขนำดของป้ำยสวนสนำมของลูกเสอื ยาว 27 น้วิ ช่ือกองลกู เสือสงู 4 นิ้ว (แบบหวั กลม) เสำไม้กลม เส้นผำ่ นศูนย์กลำง ๑ นิ้ว ความสงู 30 – 40 นิ้ว คนั จบั (ไม้ท่อนกลม เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง ๒ นวิ้ ) ๔ 3 นว้ิ 3 นวิ้ รปู ท่ี 90 ปา้ ยเดินสวนสนามของลูกเสือ หมายเหตุ 1. ตัวปา้ ยสีขาวทงั้ หมด และตัวอักษรสีน้าเงนิ 2. กรณีชื่อกองลกู เสอื ของสถานศกึ ษาใด ท่ีมชี ่ือยาวใหเ้ ขยี นเป็น 2 บรรทดั และปรับขนาดตามความเหมาะสม

๘๙ กำรปฏิบตั ิเม่ืออยู่กบั ท่ี 1. ผู้ถือปา้ ย ขณะอยู่กบั ที่ ให้ถือป้ายทง้ั สองมือ มอื ขวากาคนั ปา้ ยชิดแผ่นป้าย มือซ้ายกาต่อลงมา ชิดมือขวา โดยโคนคันป้ายจรดพื้นตรงหน้าก่ึงกลางระหว่างปลายเท้าท้ังสอง ผู้ถือป้ายยืนอยู่ในท่าตรงและ หย่อนเข่าขวา การทาความเคารพ ให้ผถู้ ือป้ายอยูใ่ นทา่ ตรง เม่อื เลิกทาความเคารพ ให้ผูถ้ ือปา้ ยยนื อยูใ่ นท่า ตรงและหย่อนเขา่ ขวา รูปท่ี ๙1 ผู้ถอื ปา้ ยจะยืนเคารพในท่าตรง กำรกลำ่ วคำปฏญิ ำณ เมื่อได้ยินคาบอก “ลูกเสือ, เตรียมกล่าวคาปฏิญาณ – ตรง” ผู้ถือป้ายอยู่ในท่าตรงเมื่อได้ยินคา บอก “ลูกเสือ, กล่าวคาปฏิญาณตามข้าพเจ้า” ให้ยกมือขวาข้ึนแสดงรหัส มือซ้ายกาคันป้ายไว้ เม่ือกล่าว คาปฏิญาณจบ ใหล้ ดมอื ขวาลงกาคนั ป้ายเหมอื นเดมิ รปู ท่ี ๙2 ผถู้ อื ปา้ ยแสดงรหัสกล่าวทบทวนคาปฏญิ าณ

๙๐ 2. ผู้ถือธงประจากอง (เมื่อยืนอยู่กับที่) ขณะยืนอยู่กับท่ี ผู้ถือธงอยู่ในท่าปกติ (หย่อนเข่าขวา) โคนคันธงจรดพน้ื ข้างปลายน้วิ ก้อยเท้าขวา คนั ธงแนบกบั ลาตัวอย่ใู นรอ่ งไหล่ขวา รูปท่ี ๙3 ผูถ้ อื ธงประจากองยนื ท่าปกติ (หย่อนเขา่ ขวา) กำรทำควำมเคำรพเมอื่ อยูก่ ับท่ี 1. ผู้ถือธง เม่ือผู้ถือธงได้ยินคาบอก “ลูกเสือ – ตรง” ให้อยู่ในท่าตรง เม่ือผู้ถือธงได้ยินคาบอก “ตรงหนา้ – ระวงั ” ใหป้ ฏิบัติดงั น้ี ผูถ้ อื ธงใช้มือซ้ายไปจบั คนั ธงเหนอื มอื ขวา และชิดมือขวา ผู้ถอื ธงใชม้ ือซ้ายยกคนั ธงขึ้นมา ใน แนวตรงเสมอไหล่ ข้อศอกซ้ายขนานกบั พื้น มือขวายงั คงเหยียดตรง และจบั คนั ธงไว้ แลว้ ทากง่ึ ขวาหัน นามือซ้ายไปจับคันธงเหนือ ใช้มือซา้ ยยกคันธงข้ึนมาในแนว ทากึ่งขวาหัน มอื ขวาและชิดมอื ขวา เสมอไหล่ แขนขวาเหยยี ดตรง จบั คนั ธงไว้ รูปที่ 94 การยกคันธงแล้วทากึง่ ขวาหนั

๙๑ 2. การโรยธง เม่ือผู้ถือธงไดย้ ินคาบอก “วนั ทยา – วุธ” ใหค้ ่อย ๆ ลดปลายคันธงไปทางไหล่ซ้าย ตามจังหวะเพลง พร้อมกบั เลือ่ นมอื ซ้ายท่ีกาคันธงมาทางไหล่ดา้ นซ้าย (โดยการลดข้อศอกซา้ ยลงแนบลาตวั ) จนคนั ธงอยู่ในแนวขนานกับพืน้ (เมื่อเพลงบรรเลงถึงครง่ึ เพลง) มือซ้ายจะอยู่เสมอแนวไหล่ หา่ งจากลาตัว ๑ ฝ่ามือ แขนขวาเหยียดตรงไปทางขวามือตามคันธง และให้คันธงอยู่บนร่องระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วช้ีมือขวา จากนั้นค่อย ๆ ยกปลายคันธงกลบั ขึ้นตามจังหวะของเสียงเพลง (โดยใชม้ ือขวากดโคนคันธงลง) จนคันธงตั้งตรง แขนขวาแนบลาตัว (เม่ือบรรเลงเพลงจบ) ยกคันธงขึ้นตงั้ ตรง โรยปลายคันธง ยกปลายคันธงกลบั แลว้ ทาก่งึ ขวาหนั ให้ขนานกบั พื้น ขน้ึ ต้งั ตรง แนบลาตวั รปู ที่ 95 การโรยธง 3. การเรยี บอาวุธ เมือ่ ได้ยินคาบอก “เรยี บ – อาวุธ” ใหแ้ บ่งเปน็ 2 จงั หวะดงั น้ี จงั หวะทหี่ นงึ่ เมื่อได้ยินคาบอก “เรียบ” ใหท้ าก่งึ ซ้ายหนั กลบั จังหวะท่ีสอง เม่ือได้ยินคาบอก “อาวุธ” ให้ผู้ถือธงลดคันธงลงจรดพ้ืนปลายข้างนิ้วก้อยเท้าขวา แล้วนามือซ้ายกลับไปอยู่ข้างลาตัวด้านซา้ ยและอยใู่ นทา่ ตรง (เม่อื ไดย้ ินคาบอก “ตามระเบียบ, พัก” ใหผ้ ูถ้ ือ ธงหย่อนเขา่ ขวา) ทากึ่งซา้ ยหัน หย่อนคนั ธงลงจรดพน้ื เมื่อไดย้ ินคาบอก “ตามระเบียบ,พัก” ข้างนิ้วกอ้ ยเทา้ ขวา ให้ผ้ถู ือธงอยู่ในท่าตรงแล้วหย่อนเข่าขวา รูปที่ 96 การเลิกทาความเคารพด้วยท่าธง

๙๒ 4. การกล่าวคาปฏญิ าณ เมื่อได้ยินคาบอก “ลูกเสือ, เตรียมกล่าวคาปฏิญาณ – ตรง” ให้ผู้ถือธงอยู่ในท่าตรง และเม่ือ ได้ยินคาบอก “ลูกเสือ, กล่าวคาปฏิญาณตามข้าพเจ้า” ให้ผู้ถือธงยกโคนคันธงมาไว้ข้างเท้าด้านในเท้าขวา สว่ นบนของคันธงพงิ อยู่กบั แขนซ้าย (งอข้อศอกซ้ายเปน็ มุมฉากรองรับอยแู่ ลว้ ) และยกมือขวาขึ้นแสดงรหัส รปู ท่ี 97 การกล่าวคาปฏิญาณของผถู้ อื ธง เม่ือกล่าวคาปฏิญาณจบ ให้ลดมือขวาลงและนาคันธงไปอยู่ด้านขวาของลาตัว และอยู่ในท่าตรง (เมื่อได้ยนิ คาบอก “ตามระเบยี บ, พัก” ใหห้ ย่อนเขา่ ขวา) แนวปฏบิ ตั ิวิธีใชไ้ ม้ถอื ของผู้กำกบั ลกู เสอื และรองผู้กำกับลูกเสือ(ยกเว้นประเภทลกู เสือสำรอง) 1. วิธีถือไม้ถือในท่าปกติ ให้ยืนอยู่ในท่าตรงและหย่อนเข่าขวา ไม้ถือจะหนีบอยู่ระหว่างด้าน ในศอกซ้ายกับขา้ งลาตวั โดยแขนซ้ายท่อนบนแนบขนานกับลาตวั หนีบไม้ถือไว้ แขนซา้ ยทอ่ นล่างเหยียดตรง ไปข้างหน้ามอื ซา้ ยกาไมถ้ ือให้ฝา่ มือหงายขึ้น ห่างจากโคนไมถ้ ือประมาณ ๑ ฝา่ มือ ให้ไมถ้ อื ขนานกบั พ้ืน รปู ท่ี 98 ทา่ ปกติ (ท่าตรงและหยอ่ นเขา่ ขวา) 2. ท่าบา่ อาวธุ เปน็ ท่าท่ผี บู้ ังคบั บัญชาลกู เสือท่ีถือไม้ถือต้องปฏิบตั ิ ในกรณที ่ีมีคาบอกใหล้ กู เสอื แบกอาวุธ หรือก่อนทจ่ี ะทาการเคารพด้วยท่าวันทยาวธุ เม่อื ไดย้ นิ คาบอกว่า “ลูกเสือ – ตรง” ให้

๙๓ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื กระตุกเขา่ ขวาอยู่ในท่าตรง และเมื่อไดย้ นิ คาบอก “ตรงหน้า, ระวงั ” พอสนิ้ คาบอกให้ ผถู้ อื ไมถ้ ือทาท่าบา่ อาวธุ ให้แบ่งเป็น 3 จังหวะ ดังนี้ จังหวะทหี่ นง่ึ ใชม้ ือขวาจบั โคนไมถ้ ือโดยใหฝ้ ่ามือควา่ ลง ชักไม้ถอื ออกจากซอกแขนซา้ ย กบั ลาตวั โดยให้แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าขึน้ เหนือศรี ษะเฉยี งไปขา้ งหนา้ ทางกึ่งขวา รปู ท่ี 99 ทา่ บา่ อาวธุ จังหวะท่ี ๑ จังหวะที่สอง ลดมือขวาที่กาไม้ถือลงมาอยู่เสมอปาก ห่างจากปากประมาณ 1 ฝ่ามือ (ไม้ถือ อยู่ในแนวตั้งตรง) นิว้ หวั แม่มือขวาวางทาบกับไม้ถืออยู่ดา้ นใน ส่วนน้วิ ทง้ั สี่กาไม้ถือเรียงชิดติดกนั อยูด่ ้านนอก รปู ท่ี 100 ทา่ บ่าอาวุธจังหวะที่ ๒ จังหวะท่ีสาม ลดมือขวาที่กาไม้ถือลงข้างลาตัวด้านขวามือ แขนเหยียดตรง ไม้ถืออยู่แนบใน รอ่ งไหลข่ วา ปลายไม้ถอื ช้ีข้นึ ข้างบน นิ้วหวั แม่มืออย่ดู ้านในชิดลาตวั นิว้ ท้งั 4 เรยี งชิดติดกนั ด้านนอก ไม้ถือ อยู่ระหวา่ งนวิ้ หวั แมม่ ือและน้วิ ชี้

๙๔ รูปท่ี ๑๐1 ท่าบ่าอาวุธ จังหวะท่ี 3 3. ท่าวันทยาวุธ เม่ือได้ยินคาบอก “วันทยา-วุธ” ให้ยกมือขวาข้ึนมาเสมอปาก ห่างจากปาก ประมาณ 1 ฝ่ามือ แล้วฟาดปลายไม้ถือลงไปข้างหน้าเฉียงลง ห่างจากพ้ืนประมาณ 1 คืบ โดยให้แขนขวา เหยยี ดตรงอยขู่ า้ งขาขวา รปู ท่ี ๑02 ทา่ วนั ทยาวุธ จงั หวะที่ ๑ รูปที่ ๑03 ท่าวันทยาวุธ จงั หวะท่ี ๒ 4. ทา่ เรียบอาวุธ เมื่อได้ยินคาบอก “เรียบ” ใหช้ ูมอื ขวาทีถ่ ือไมถ้ ือขึ้นเหนือศีรษะเฉยี งไปข้างหน้า ทางกึ่งขวา ลดปลายไมถ้ อื ลงมาเสมอปาก แล้วนาไมถ้ อื มาอยู่ในทา่ บ่าอาวุธ