Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

Published by ศุภณัฐ ผึ่งสูงเนิน, 2022-08-31 06:15:54

Description: เศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

เศรษฐกิจพอเพียง ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง

คำนำ การอยู่พอดี กินพอดี วันนี้เป็นเรื่องยาก เพราะมีทั้งมากเกินไปและ น้อยเกินไป ซึ่งอาจจะไม่ใช่เพราะมีเงินมาก หรือมีเงินน้อย เพราะคนที่ “รวยจริง” ไม่ใช่คนที่มีเงินมาก แต่เพราะรู้จักพอเพียงต่างหาก และ คน “จนจริง” คือ คนที่ไม่รู้จักพอ มากเท่าไรก็ยังไม่พอ บุคคลที่เล่า ชีวิตให้เราฟังในหนังสือเล่มนี้ เล่าเพียงบางส่วน เศษเสี้ยวหนึ่งของ ชีวิต และไม่ได้เล่าว่าทุ อย่างได้ส าเร็จเสร็จสิ้นแล้ว เพียงแต่บอกว่า “ได้มาถูกทางแล้ว” และก าลังเดินหน้าต่อไปด้วยความเชื่อมั่น

สสาารรบบััญญ หน้ า 1.คำนำ……………………………………………………………………………………………………. 2 2.สารบัญ............................................................................3 3.เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร.................................................4 4.ประวัติความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง......................... 5 5. แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง..............6 6. ประการที่สำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง....................................................7 7. อ้างอิง...........................................................................

เเศศรรษฐกิจพอเพียงคือ “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะ แนวทางการดา เนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อน วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อ ภายหลังได้ทรงเน้ นย้าแนวทางการแก้ไขเพือให้รอดพ้น และ ส่ ามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์และความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และ ปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุก ระดับตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และ บริหารประเทศให้ ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิ วัตน์ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริ ชี้แนะ แนวทางการดาเนิน ชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ซึ่ง พระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือ ผู้ ที่ประกอบอาชีพในภาค เกษตรกรรม ที่มักต้องประสบกับปัญหาความแปรปรวนของดินฟ้ า อากาศ เช่น ฝนตกไม่สม่าเสมอ เกิด ภาวะ แห้งแล้งทั่วไปหรือในช่วงหน้ าฝนเกิดภาวะน้ าท่วม ทาให้ การเกษตรกรรม ไม่ได้ ผลผลิตเท่าที่ควร พระองค์จง ทรงมีพระราชดาริที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยกระดับ พัฒนาความเป็นอยู่ ึของราษฎรในภาคเกษตรกรรม ให้เกิดความพออยู่พอกิน และสามารถ พึ่งพาตนเองได้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่ หัวทรงมีพระราชวินิจฉัย ค้นคว้าสารวจรว บรวมข้อมูล แล้วทากาทดสอบเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ าที่ดินพันธุ์พืชเพื่อให้ เกษตรกรรมสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในพื้นทีของตนเองที่เรา รู้จักกัน ในชื่อ “ทฤษฎีใหม่ ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่าง จริงจังดังพระราช ดารัสที่ว่า ...ความเป้ นอยู่ไม่ฟุ้งเฟ้ อต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในสภาวะขาดแคลนในการ ดารงชีพก็ตามดังพระราชดารัสที่ว่า ...ความเจริญของคน ทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากการ ประพฤติชอบ และการหาเลี้ยงชีพ เป็นหลักสาคัญละเลิกการแก่งแย่ง ผลประโยชน์และการ แข่งขันกันทั้งการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราช ดา รัสเรื่องนี้ว่า ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึงความสุขความเจริญที่บุคคล แสวงหามา ได้ด้วยความ เป็นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความ บังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น

ปปรระะววััตติิคคววาามมเเปป็นมาของ เเศศรรษษฐฐกกิิจจพพอเพียง ความเป็ นมา “เศรษฐกิจพอเพียง” เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517 โดยเริ่มต้นจากพระบรมราโชวาท ในของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย (รัชกาลที่ 9) พระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ซึ่งเน้ นความ สำคัญในการพัฒนาประเทศแบบสร้างพื้นฐานคือ \"ความพอมีพอ กิน พอใช้

แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเริ่มที่ตัวเอง - ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ - ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการ ดำรงชีพ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต - ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย - มุ่งเน้ นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้ นหาเงินหาทอง - ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย

อ้างอิง แหล่งที่มา นายวีระพงษ์ ใจเย็น (ตั้ม) นายศุภชัย ช่วยงาน (โจ้) นายนฤดล สีมีงาม (ทัช)