บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา ชว่ งหนา้ ฝนบวกกบั มนี ้ำขงั ตามสถานทต่ี า่ งๆจงึ ทำใหเ้ เทบทกุ พนื้ ทค่ี งจะเต็มไปดว้ ยยงุ ทกุ ๆบา้ น ทกุ ๆครวั เรอื นเลอื กใชย้ ากนั ยงุ อยา่ ง เเพรห่ ลายซงึ่ ยากนั ยงุ ทอี่ ยตู่ ามบา้ น สว่ นใหญน่ น้ั มสี ว่ นผสมของไพรทิ รอยดม์ คี ณุ สมบตั ทิ ำใหก้ ารทำงานของระบบประสาท ทำใหเ้ เมลงบนิ เป็ นอมั พาตอยา่ งรวดเร็ว สารเหลา่ นถี้ กู ปลดปลอ่ ยในรปู เเบบของควนั อาการของคนทส่ี ดู ดมสารนเี้ ขา้ ไปจะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบประสาท อยา่ งรวดเร็ว ไดเ้ เก่ มนึ งง ปวดศรี ษะ กลา้ มเนอื้ กระตกุ เป็ นตน้ เราจงึ ขอเสนอวธิ กี ารตะไครก้ ำจงั ยงุ เพอ่ื ใชใ้ นครวั เรอื นนน่ั ก็คอื การทำตะไครห้ อมกำจดั ยงุ จงึ เป็ นเเนวทางหนง่ึ ในการป้ องกนั โรค ไขเ้ ลอื ดออกเเละสารพษิ ทเ่ี ขา้ สรู้ า่ งกาย ดงั นนั้ ผศู้ กึ ษา จงึ ไดศ้ กึ ษาเพอ่ื เป็ นการสง่ เสรมิ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชนเ์ เละการรว่ มมอื กนั ในการทำใหผ้ ลติ ภณั ฑน์ อ้ี อกมาใชง้ านได้ จรงิ
2 2.วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื เสนอเเนะเเนวทางในการป้ องกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก 2.เพอ่ื นำวสั ดทุ ม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ มาใชใหเ้ ก้ ดิ ประโยชน์ 3.เพอื่ นำความรทู้ ไ่ี ดม้ าเป็ นแนวทางในการประกอบอาชพี ได้ 4.เพอื่ ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 3.สมมตุ ฐิ าน 1.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครห้ อมไลย่ งุ ไดจ้ รงิ 2.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครห้ อมมปี ระสทิ ธภิ าพในการป้ องกนั ยงุ ลาย ในบา้ นไดด้ ี 4.ขอบเขตของโครงงาน 1.ขนั้ ตอนการทำตะไครห้ อม 2. การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3. ขน้ั ตอนการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ 4.แบบสอบถามความพงึ พอใจ 5. สรปุ รายงาน
3 5.กลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาครงั้ นไี้ ดเ้ เก่ นกั เรยี นโรงเรยี นปวั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ท5ี่ /6 จำนวน35คน 6.ระยะเวลาในการศกึ ษา ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ดำเนนิ การในปี พ.ศ.2565 7.ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1.สามารถนำผลติ ภณั ฑไ์ ปใชไ้ ดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจำวนั 2.สามารถนำความรไู้ ปเผยเเพรใ่ หผ้ คู้ นในชุมชนไดร้ บั ทราบ 3.นำผลติ ภณั ฑไ์ ปตอ่ ยอดในอนาคต 1.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครส้ ามารถไลย่ งุ ไดจ้ รงิ 2.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครห้ อมมปี ระสทิ ธภิ าพใน การป้ องกนั ย 1.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครส้ ามารถไลย่ งุ ไดจ้ รงิ 2.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครห้ อมมปี ระสทิ ธภิ าพใน การป้ องกนั ยงุ ลายในบา้ นไดด้ ี
4 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง การศึกษาในคร้ังน้ี ผศู้ กึ ษาไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง โดยแบ่งเน้ือหาของเอกสาร และงานวิจัยออกเป็นหวั ขอ้ ตา่ งๆ ดงั น้ี 1.ความหมาย 1.1 ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cymbopogon citratus ชอื่ พนื้ เมอื ง: ตะไครห้ อม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องตะไครห้ อม สรุ นิ ทรพ์ ัฒนพงษ์ ไชยพันโท 2558 กลา่ ววา่ 1.ลำตน้ ตะไครห้ อมเป็ นพชื ลม้ ลกุ อายปุ ระมาณไดน้ าน 6-8 ปี เป็ นพชื ทมี่ กี ลน่ิ หอม เจรญิ เตบิ โตดว้ ยการแตกหน่อ หรอื แตกเหงา้ มที รงพมุ่ เป็ น กอคลา้ ย ตะไครบ้ า้ น มลี ำตน้ ยนื่ จาก เหงา้ สนั้ รปู ทรงกระบอก ผวิ เรยี บเกลยี้ ง สว่ นเหนอื ดนิ สงู ไดต้ งั้ แต1่ -2 เมตร 2. ใบ เป็ นใบเป็ นใบเดยี่ ว ขนาดใหญ่ ยาว แตบ่ างกวา่ ตะไครบ้ า้ น ใบเรยี วยาว กวา้ ง 1.5-2.6 เซนตเิ มตร ยาว 60-115 เซนตเิ มตร ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบ หยกั ถี่ คมแข็ง มผี วิ ใบสาก ไมม่ ขี น บรเิ วณโคนใบดา้ นในมขี น ปลายใบยาวมี ลกั ษณะโนม้ ลง ใบมสี เี ขยี วแกมเหลอื ง กาบใบ เป็ นสว่ นหมุ ้ ทมี่ องเป็ นลำ ตน้ เทยี ม มสี เี ขยี วแกมแดงหรอื สมี ว่ ง ซงึ่ ตา่ งจากตะไครบ้ า้ นทมี่ สี ขี าวอมเขยี ว 3.ดอกและเมล็ด ดอกออกในฤดหู นาว ออกเป็ นชอ่ ยาวขนาดใหญ่ เป็ นแบบ แยกแขนงขนาดใหญย่ าวประมาณ 100 เซนตเิ มตร แกนกา้ นชอ่ ยาวโคง้ หกั ไป หกั มา ชอ่ ดอกยอ่ ยเป็ น แบบกระจับหรอื แบบเชงิ ลด ดอกประกอบดว้ ยดอก สมบรู ณเ์ พศ กาบลา่ งมี 2 หยกั สใี ส รยางคแ์ ข็ง ยาว (ถา้ มรี ยางค)์ ไมม่ กี าบบน กลบั เกล็ดมี 2 กลบั เกสรเพศผมู ้ ี 3 อนั เกสรเพศเมยี มี 2 อนั ยอดเกสร ปกคลมุ ดว้ ยขนยาวนุ่ม กา้ นยอ้ ยรปู เป็ นดอกเพศผหู ้ รอื ดอกเป็ นหมนั กาบชอ่ ยอ่ ยขา้ ง ลา่ ง มเี สน้ 7-9 เสน้ ดอกยอยจรงิ มเี กล็ด 1 เกล็ด ยาวประมาณ 0.3 เซนตเิ มตร มสี ใี สลอ้ มเกสรเพศผไู ้ ว ้ 3 อนั และมี กลบี เกล็ด 2 กลบี ผลเป็ นแบบผลแหง้ ตดิ เมล็ด รปู ทรงกระบอกออกกลม และมขี วั้ ทฐ่ี าน สาเหตขุ องโรคไขเ้ ลอื ดออก
5 โรคไขเ้ ลอื ดออกเกดิ จากไวรัสเดงกี (Dengue Virus) ซง่ึ มอี ยู่ 4 สายพันธุ์ การตดิ เชอื้ ครัง้ แรกมกั จะมอี าการไมร่ นุ แรง แตถ่ า้ ตดิ เชอื้ ครัง้ ท่ี 2 โดย เชอ้ื ทต่ี า่ งสายพันธกุ์ บั ครัง้ แรก อาการมกั จะรนุ แรงถงึ ขนั้ เลอื ดออกหรอื ชอ็ คหรอื เสยี ชวี ติ โรค นพี้ บมาก ในเด็กอายตุ ่ำกวา่ 15 ปี การตดิ ตอ่ โรคไขเ้ ลอื ดออกตดิ ตอ่ จากคนสคู่ น โดยมยี งุ ลาย (Aedes aegypti) เป็ นพาหะทส่ี ำคญั ยงุ ตวั เมยี จะกดั และดดู เลอื ดของผปู ้ ่ วยซง่ึ มเี ชอ้ื ไวรัสเดงกี เชอ้ื จะเขา้ ไปฟักตวั เพม่ิ จำนวนในยงุ และสามารถถา่ ยทอดเชอ้ื ใหค้ นทถี่ กู มนั กดั ได ้ ยงุ ลายเป็ นยงุ ทอี่ าศยั อยภู่ ายในบา้ นและบรเิ วณบา้ น มกั จะกดั เวลากลางวนั แหลง่ เพาะพันธุ์ คอื น้ำใสทข่ี งั อยตู่ ามภาชนะเกบ็ น้ำตา่ งๆ เชน่ โอง่ น้ำ แจกนั ดอกไม ้ ถว้ ยรองขาตู ้ จาน ชาม กระป๋ อง หมอ้ กระถาง ยางรถ เป็ นตน้ โดยทว่ั ไปโรคไขเ้ ลอื ดออกจะพบมากในฤดฝู นเนอื่ งจากยงุ ลายมกี ารแพรพ่ ันธมุ์ ากในฤดฝู น แตใ่ นเมอื งใหญๆ่ เชน่ กรงุ เทพฯ อาจพบโรคนไี้ ดต้ ลอดปี อาการ 1. ระยะไข้ (2-7 วนั ) ผปู ้ ่ วยจะมไี ขส้ งู เกอื บตลอดเวลา เบอ่ื อาหาร คลนื่ ไส ้ อาเจยี น ปวด ทอ้ ง มกั มหี นา้ แดง และอาจมผี น่ื หรอื จดุ เลอื ดออกตามลำตวั แขน ขา 2. ระยะช็อค ระยะนไ้ี ขจ้ ะเรมิ่ ลดลง ผปู ้ ่ วยจะซมึ เหงอ่ื ออก มอื เทา้ เย็น ชพี จรเตน้ เบาแตเ่ ร็ว ปวดทอ้ ง โดยเฉพาะบรเิ วณใตช้ ายโครงขวา ปัสสาวะออกนอ้ ย อาจมเี ลอื ดออกงา่ ย เชน่ มี เลอื ดกำเดาไหล อาเจยี นเป็ นเลอื ด อจุ จาระมสี ดี ำ ในรายทร่ี นุ แรง จะมคี วามดนั โลหติ ต่ำ ชอ็ ค และอาจถงึ ตายได ้ ระยะนกี้ นิ เวลา 24-48 ชวั่ โมง ซงึ่ ผปู ้ ่ วยแตล่ ะรายไมจ่ ำเป็ นตอ้ งเป็ น รนุ แรงและเขา้ สภู่ าวะชอ็ คทกุ ราย ในผปู ้ ่ วยไขเ้ ลอื ดออกทอ่ี าการไมร่ นุ แรง เมอื่ ไขล้ ดกจ็ ะมอี าการดขี น้ึ รับประทานอาหารได ้ เขา้ สรู่ ะยะฟื้นตวั 3.ระยะฟ้ื นตวั อาการตา่ งๆจะเรม่ิ ดขี น้ึ ผปู ้ ่ วยรสู ้ กึ อยากรับประทานอาหาร ความดนั โลหติ สงู ขนึ้ ชพี จรเตน้ แรงขน้ึ และชา้ ลง ปัสสาวะมากขน้ึ บางรายมผี น่ื แดงและมจี ดุ เลอื ดออกเล็กๆ ตามลำตวั ขอ้ แนะนำการดแู ลผปู้ ่ วยทบ่ี า้ น ดงั น้ี
6 1. เช็ดตวั ลดไข้ ใหย้ าลดไขต้ ามทแ่ี พทยส์ ง่ั ไดแ้ ก่ ยาพาราเซตามอล ทกุ 4-6 ชว่ั โมง ถา้ มไี ขเ้ กนิ 3 วนั ควรมาพบแพทย์ 2. หา้ มใหย้ าลดไขท้ มี่ สี ว่ นผสมของแอสไพรนิ หรอื ibuprofen เพราะอาจทำให้ เกดิ เลอื ดออกในทางเดนิ อาหารได้ 3. ดมื่ น้ำมากๆ โดยแนะนำใหด้ มื่ น้ำผลไมห้ รอื น้ำเกลอื แรแ่ ทนน้ำเปลา่ 4. หลกี เลย่ี งอาหารทม่ี รี สจดั ทกุ ชนดิ เพราะอาจระคายเคอื งตอ่ กระเพาะอาหาร 5. หลกี เลยี่ งอาหารทม่ี สี แี ดงหรอื ดำ เพราะอาจทำใหส้ บั สนกบั ภาวะเลอื ดออกใน ทางเดนิ อาหารได้ 6. ใหม้ าพบแพทยท์ นั ทหี ากมอี าการตอ่ ไปน้ี ○ อาเจยี นมาก ไมส่ ามารถรบั ประทานอาหารและน้ำไดเ้ พยี งพอ ○ ปวดทอ้ งมาก ○ มเี ลอื ดออกรนุ แรง เชน่ ถา่ ยดำ อาเจยี นเป็ นเลอื ด ○ เอะอะโวยวาย มพี ฤตกิ รรมเปลย่ี นแปลง ○ กระสบั กระสา่ ย เหงอื่ ออก ตวั เย็น มอื เทา้ เย็น ○ ไมป่ สั สาวะนานกวา่ 6 ชว่ั โมง ○ ซมึ ลงไมค่ อ่ ยรสู้ กึ ตวั หอบเหนอ่ื ย การรกั ษา เนอื่ งจากยงั ไมม่ ยี าตา้ นเชอ้ื ไวรสั ทม่ี ฤี ทธเิ์ ฉพาะสำหรบั เชอื้ ไวรสั เดงกี การรกั ษาตาม อาการจงึ เป็ นสง่ิ สำคญั ทสี่ ดุ โดยใหย้ าพาราเซทตามอลในชว่ งทม่ี ไี ขส้ งู หา้ มใหย้ า แอสไพรนิ ถา้ มอี าการคลนื่ ไสอ้ าเจยี นใหย้ าแกค้ ลนื่ ไสแ้ ละใหด้ มื่ น้ำเกลอื แรห่ รอื น้ำ ผลไมค้ รงั้ ละนอ้ ยๆ แตบ่ อ่ ยครง้ั และคอยสงั เกตอาการอยา่ งใกลช้ ดิ เพอ่ื จะได้ ป้ องกนั ภาวะช็อคได้ ระยะทเี่ กดิ ช็อคสว่ นใหญจ่ ะเกดิ พรอ้ มๆกบั ชว่ งทไ่ี ขล้ ดลง ผู้ ปกครองควรทราบอาการกอ่ นทจี่ ะช็อค คอื อาจมอี าการปวดทอ้ ง ปสั สาวะนอ้ ยลง มี อาการกระสบั กระสา่ ยหรอื ซมึ ลง มอื เทา้ เย็นพรอ้ มๆกบั ไขล้ ดลง หนา้ มดื เป็ นลมงา่ ย หากเป็ นดงั นตี้ อ้ งรบี นำสง่ โรงพยาบาลทนั ที การป้ องกนั
7 ● ป้ องกนั ไมใ่ หย้ งุ กดั โดยนอนในมงุ้ แมใ้ นเวลากลางวนั ● กำจดั แหลง่ เพาะพนั ธยุ์ งุ ในบา้ น รวมทงั้ บรเิ วณรอบๆบา้ น ● ควรเปลยี่ นถา่ ยน้ำในภาชนะทขี่ งั น้ำทกุ 7 วนั เชน่ แจกนั ● กำจดั ภาชนะแตกหกั ทขี่ งั น้ำ เชน่ ยางรถเกา่ กระถาง ● เลยี้ งปลากนิ ลกู น้ำในอา่ งบวั หรอื แหลง่ น้ำอนื่ ๆ ● ปิ ดฝาโอง่ หรอื ภาชนะอนื่ ๆใหม้ ดิ ชดิ หรอื ใสท่ รายเคมี กำจดั ลกู น้ำในภาชนะท่ี เก็บน้ำไวใ้ ชใ้ สเ่ กลอื หรอื น้ำสม้ สายชูลงในจานรองขาตกู้ บั ขา้ วสปั ดาหล์ ะครงั้ ● ใสท่ รายอะเบต 1% ลงในตมุ่ น้ำและภาชนะกกั เก็บน้ำในอตั ราสว่ น 10 กรมั ตอ่ น้ำ 100 ลติ รควรเตมิ ใหมท่ กุ 2-3 เดอื น น้ำทใี่ สท่ รายอะเบตสามารถใชด้ ม่ื กนิ ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั บทที่ 3
8 วธิ ีดำเนนิ การศึกษาค้นควา้ ในการศกึ ษาครั้งน้ี ผูศ้ กึ ษาได้ทำการศึกษา เร่อื ง สมนุ ไพรตะไคร้หอมกำจดั ยุง ซึ่งมวี ิธีการดังนี้ 1. ระเบยี บวิธีทีใ่ ชใ้ นการศึกษา ในการศกึ ษาใชร้ ูปแบบการสำรวจ สบื คน้ ข้อมลู จากหนังสือ อินเตอรเ์ นต็ และตอบแบบสอบถาม 2. ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง 2.1 ประชากร ประชากรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาคร้งั น้ี เป็นนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 1 ห้องเรยี น เป็นนักเรียนโรงเรียนปวั ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้องเรยี น รวมทง้ั สิ้น 40 คน 2.2 กลมุ่ ตวั อย่าง กล่มุ ตวั อย่างทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาคร้งั นไ้ี ด้แก่นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/6 โรงเรยี นปวั ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 หอ้ งเรยี น เป็นนักเรียนทงั้ สิ้น 40 คน ไดม้ าโดยสุม่ อย่างง่าย เพอื่ ตอบ แบบสอบถามท่ีสร้างขนึ้ 2.3 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศึกษา ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา 6 สปั ดาห์ ในปีการศกึ ษา 2565
9 3. วธิ ีดำเนินการศกึ ษา ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามขัน้ ตอนดังนี้ 3.1 กำหนดเร่ืองที่จะศกึ ษา โดยสมาชกิ ทง้ั 5 คน ประชุมร่วมกนั และร่วมกนั คดิ และวางแผน วา่ จะศึกษาเรื่องใด ( สมาชกิ กล่มุ ทงั้ 5 คน ไดม้ าโดยนำผลการเรียนวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน มาจัดแบ่งกลมุ่ เกง่ กลาง อ่อน) 3.2 สำรวจปัญหาทีพ่ บในโรงเรยี น ซ่งึ มที ัง้ ปญั หาดา้ นผเู้ รียน ครผู สู้ อน อาคาร สถานที่ สงิ่ แวดล้อมในโรงเรียน ฯลฯ 3.3 เลอื กเรอื่ งที่จะศึกษา โดยเลือกเร่ืองทส่ี มาชิกมีความสนใจมากท่ีสุด เพื่อเปน็ แรงจงู ใจในการ คน้ หาคำตอบ 3.4 ศึกษาแนวคิดในการแกป้ ัญหา ( ในขอ้ น้ยี งั ไม่สามารถดำเนินการไดเ้ นอ่ื งจาก การเรยี น รายวชิ า IS1 เวลามีจำกัด ผศู้ กึ ษาจงึ ทำได้เฉพาะการสำรวจความคดิ เห็นและสรา้ งเครือ่ งมอื (แบบสอบถาม) ศึกษาเพียงเพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ เรือ่ งกระบวนการวิจัยเท่านน้ั 3.5 ตงั้ ชอ่ื เรือ่ ง 3.6 สมาชกิ ทั้ง 5 คนของกลุม่ พบครผู ู้สอนเพ่ือปรกึ ษา วางแผนและรบั ฟังความคดิ เห็น ปรับปรงุ แก้ไข 3.7 เขียนความสำคญั ความเปน็ มาของปัญหา วัตถปุ ระสงค์ สมมตุ ิฐาน ขอบเขตการวิจยั และ ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ โดยศกึ ษาขอ้ มูลจากหนงั สอื วทิ ยานพิ นธ์และสบื ค้นขอ้ มูลจากอินเตอร์เนต็ และจดบันทกึ ในโครงร่างรายงานเชงิ วิชาการ (ตามใบงาน) 3.8 สร้างเคร่ืองมือ ทเี่ ปน็ แบบสอบถาม จำนวน 7 ขอ้ 3.9 นำเครือ่ งมือทปี่ รับปรงุ แล้วไปใชก้ บั กล่มุ ตัวอย่าง 3.10 รวบรวมขอ้ มูล 3.11 วิเคราะห์ขอ้ มูล 3.12 สรปุ การศึกษา 4. เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการศึกษา
10 เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ คอื แบบสอบถาม ( หรือแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ) 1 ฉบบั ซึ่ง มีรายละเอยี ดดงั นี้ 4.1 ออกแบบแบบสอบถาม เรือ่ ง สมุนไพรตะไครห้ อมกำจดั ยุง โดยขอคำแนะนำจากท่ปี รึกษา หรอื ผสู้ อน โดยเตรียมรา่ งขอ้ คำถาม มลี กั ษณะเปน็ ขอ้ คำถามจำนวน 7 ขอ้ เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณ 5 ระดบั คือ 5 หมายถงึ เหน็ ด้วยมากท่สี ดุ 4 หมายถงึ เห็นดว้ ยมาก 3 หมายถงึ เห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย 1 หมายถึง เหน็ ด้วยน้อยท่สี ดุ การพจิ ารณาค่าเฉล่ยี จะใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี คา่ เฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ุด ค่าเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมาก คา่ เฉลีย่ 2.51 – 3.50 หมายถึง เห็นดว้ ยปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง เหน็ ด้วยนอ้ ย ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง เห็นด้วยนอ้ ยที่สดุ 4.2 สร้างแบบสอบถาม เร่ือง สมนุ ไพรตะไคร้หอมกำจัดยงุ โดยขอคำแนะนำ จากทปี่ รึกษา หรอื ผู้สอน จากนน้ั นำมาปรบั ปรงุ แก้ไข แลว้ นำไปตรวจสอบความเหมาะสม 4.3 นำแบบสอบถามเร่อื ง สมุนไพรตะไคร้หอมกำจดั ยงุ ที่แก้ไข ปรบั ปรุงแลว้ ให้กลุ่มตัวอยา่ ง ประเมิน หลงั จากน้นั นำผลทีไ่ ดม้ าหาคา่ เฉลีย่ 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การศึกษาคร้ังน้ไี ดด้ ำเนินการโดยนำแบบสอบถามที่สร้างข้ึนใหน้ ักเรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ งตอบ จำนวน 5 คน และเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากนักเรยี น ทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยผู้ศึกษาทง้ั 5 คน ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
11 6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการวิเคราะห์ข้อมลู ผ้ศู กึ ษาได้วิเคราะห์ข้อมูล ดงั น้ี 6.1 นำแบบสอบถามท้งั หมดท่ตี อบโดยนกั เรยี นกลุ่มตวั อย่าง มาหาค่าคะแนนรวม 6.2 นำผลรวมมาคดิ ค่าร้อยละและการหาค่าเฉลีย่ 7. สถิติทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา สถิติท่ีใช้ในการศกึ ษาครัง้ นี้ คอื ร้อยละและการหาค่าเฉล่ีย 1.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครส้ ามารถไลย่ งุ ไดจ้ รงิ 2.น้ำมนั หอมระเหยจากตะไครห้ อมมปี ระสทิ ธภิ าพใน การป้ องกนั ยงุ ลายในบา้ นไดด้ ี
12
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: