Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประกันตน (ประกันสังคม)

คู่มือประกันตน (ประกันสังคม)

Published by Jiraporn T, 2022-01-20 09:34:12

Description: คู่มือประกันตน (ประกันสังคม)

Search

Read the Text Version

ตวั อย่างที่ 2 ลกู จา้ งได้รบั เงนิ เดือน เดือนละ 10,000 บาท ใบรบั รองแพทยใ์ หห้ ยดุ พกั รกั ษาตวั เปน็ ระยะเวลา 10 วนั ลกู จา้ ง หยุดงาน 10 วนั การคำ� นวณ » 10,000 x 70 % = 7,000 บาท » ลกู จ้างหยุดงาน 10 วัน = 7,000 x 10 30 » ลกู จา้ งไดร้ บั ค่าทดแทน กรณีหยดุ พกั รกั ษาตัว 10 วัน = 2,333.30 บาท ตวั อยา่ งท่ี 3 ลกู จา้ งไดร้ บั คา่ จา้ งวนั ละ 325 บาท ใบรบั รอง แพทย์ให้หยุดพักรักษาตัว เป็นระยะเวลา 15 วัน ลูกจ้าง หยุดงาน 12 วนั การค�ำนวณ » (325 x 26) x 70 % = 5,915 บาท » ลูกจา้ งหยุดงาน 12 วนั = 5,915 x 12 30 » ลกู จ้างไดร้ บั คา่ ทดแทน กรณีหยุดพกั รักษาตัว 12 วนั = 2,366 บาท 47

ตัวอยา่ งท่ี 4 ลกู จา้ งไดร้ บั คา่ จา้ งวนั ละ 325 บาท ใบรบั รอง แพทยใ์ หห้ ยดุ พักรกั ษาตัว เปน็ ระยะเวลา 3 วนั ลูกจ้างหยุดงาน 1 วนั การค�ำนวณ » (325 x 26) x 70% = 5,915 บาท » ลกู จ้างหยดุ งาน 1 วนั = 5,915 x 1 30 » ลูกจ้างไดร้ บั คา่ ทดแทน กรณีหยดุ พกั รกั ษาตัว 1 วัน = 197.15 บาท 2.2 คา่ ทดแทนกรณสี ญู เสยี สมรรถภาพในการทำ� งานของรา่ งกาย หลักเกณฑ์และเง่อื นไข มสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ทดแทนรอ้ ยละ 70 ของคา่ จา้ งรายเดอื น เปน็ ระยะ เวลาไม่เกิน 10 ปี การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพในการท�ำงานของร่างกาย ลกู จา้ งตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลจนสนิ้ สดุ การรกั ษาและอวยั วะคงท่ี ไม่มกี ารเปล่ยี นแปลงหรอื เมื่อพน้ ก�ำหนดระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ท่ี ลกู จ้างประสบอนั ตราย เช่น ลูกจ้างแขนขาดระดับข้อศอกจะได้รับค่าทดแทนกรณี สญู เสยี สมรรถภาพในการทำ� งานของรา่ งกาย = 120 เดอื น หรอื ลกู จา้ ง มือขาดโดยนิ้วมือท้ัง 5 น้ิวขาด ต้ังแต่ระดับโคนนิ้วของทุกน้ิวขึ้นไป ถึงข้อมือ จะได้รับค่าทดแทนกรณีสูญเสียสมรรถภาพในการท�ำงาน ของรา่ งกาย = 108 เดือน 48

ท้ังนี้ หากลูกจ้างมีการสูญเสียสมรรถภาพในการท�ำงานของ ร่างกาย เมื่อส้ินสุดการรักษาสามารถติดต่อเพื่อเข้ารับการประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพในการท�ำงานของร่างกาย ได้ท่ีส�ำนักงาน ประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพน้ื ท/่ี จงั หวดั /สาขา ทน่ี ายจา้ งมภี มู ลิ ำ� เนา หรอื ลกู จา้ งทำ� งานอยู่ 2.3 ค่าทดแทนกรณีทุพพลภาพ หลักเกณฑ์และเงือ่ นไข มสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ทดแทนรอ้ ยละ 70 ของคา่ จา้ งรายเดอื น เปน็ ระยะ เวลาการจ่ายคา่ ทดแทนตลอดชวี ิต การประเมนิ การสญู เสยี อวยั วะ ลกู จา้ งตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาพยาบาล จนส้ินสดุ การรกั ษาและอวยั วะคงท่ี ไม่มีการเปลยี่ นแปลงหรอื เมื่อพน้ กำ� หนดระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ทีล่ กู จา้ งประสบอนั ตราย ซึ่งกรณีทุพพลภาพเนื่องจากการท�ำงาน จะต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑท์ ส่ี �ำนักงานประกนั สงั คมประกาศกำ� หนด ท้ังนี้ เมื่อสน้ิ สดุ การรกั ษาสามารถตดิ ต่อเพ่อื เขา้ รับการประเมนิ การเป็นผู้ทุพพลภาพ ได้ที่ส�ำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร พน้ื ท่ี/จังหวัด/สาขา ทนี่ ายจ้างมภี มู ลิ ำ� เนาหรอื ลกู จ้างท�ำงานอยู่ 2.4 ค่าทดแทนกรณีถึงแก่ความตายหรอื สญู หาย หลักเกณฑ์และเงือ่ นไข สูญหาย หมายความว่า การที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างการ ทำ� งานหรอื ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สง่ั ของนายจา้ ง ซงึ่ มเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา่ ลกู จา้ ง ถึงแก่ความตาย เพราะประสบเหตุอันตรายที่เกิดข้ึนในระหว่าง การท�ำงานหรือปฏิบัติตามค�ำสั่งของนายจ้างน้ัน รวมตลอดถึงการท่ี 49

ลกู จา้ งหายไปในระหวา่ งเดนิ ทาง โดยพาหนะนน้ั ไดป้ ระสบเหตอุ นั ตราย และลูกจ้างถึงแก่ความตาย ทงั้ นี้ เป็นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 120 วนั นบั แตว่ นั ทเี่ กดิ เหตุ กรณีลูกจ้างถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องจากการท�ำงาน มสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ทดแทนรอ้ ยละ 70 ของคา่ จา้ งรายเดอื น เปน็ ระยะเวลา 10 ปี จา่ ยให้กับผ้มู สี ิทธิตามกฎหมาย ผู้มสี ิทธไิ ดร้ ับเงินทดแทน ได้แก่ 1. มารดา 2. บดิ าทีช่ อบดว้ ยกฎหมาย 3. สามหี รือภรรยาทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย 4. บุตรทมี่ อี ายุต�่ำกวา่ 18 ปี 5. บุตรท่ีมีอายุตั้งแต่ 18 ปีข้ึนไป ที่ยังศึกษาอยู่ในระดับท่ี ไมส่ งู กวา่ ปรญิ ญาตรี ใหไ้ ดร้ บั สว่ นแบง่ ตอ่ ไปตลอดระยะเวลาทศ่ี กึ ษาอยู่ 6. บุตรทมี่ ีอายตุ ้งั แต่ 18 ปี และทพุ พลภาพหรือจิตฟัน่ เฟอื น ไมส่ มประกอบ ซง่ึ อยใู่ นอปุ การะของลกู จา้ งกอ่ นลกู จา้ งถงึ แกค่ วามตาย หรือสญู หาย 7. บุตรของลูกจ้างซงึ่ เกดิ ภายใน 310 วนั นับแตว่ นั ทล่ี กู จ้าง ถึงแก่ความตาย หรือวันท่ีเกิดเหตุสูญหาย มีสิทธิรับเงินทดแทน นับแตว่ ันคลอด 8. หากไมม่ บี คุ คลดงั กลา่ วขา้ งตน้ ใหผ้ อู้ ยใู่ นอปุ การะของลกู จา้ ง กอ่ นลกู จา้ งถงึ แกค่ วามตายหรอื สญู หายเปน็ ผมู้ สี ทิ ธิ แตผ่ อู้ ยใู่ นอปุ การะ ดังกล่าวจะต้องได้รับความเดือดร้อนเพราะขาดอุปการะจากลูกจ้าง ท่ตี ายหรอื สญู หาย หมายเหตุ : ผมู้ ีสทิ ธิทุกราย จะได้รับสว่ นแบ่งเท่าๆ กนั 50

3. คา่ ฟนื้ ฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน หลกั เกณฑ์และเงอื่ นไข กรณฟี น้ื ฟสู มรรถภาพในการทำ� งานภายหลงั การประสบอนั ตราย สำ� หรับลูกจา้ งท่ีจ�ำเป็นตอ้ งได้รับการฟ้นื ฟู ได้รับตามอัตรา ดังน้ี - ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงานด้านอาชีพ โดยใหจ้ า่ ยไดเ้ ฉพาะทเี่ ปน็ การฝกึ ตามหลกั สตู รทหี่ นว่ ยงานของสำ� นกั งาน ประกนั สงั คมเปน็ ผู้ดำ� เนนิ การ ไมเ่ กนิ 24,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในกระบวนการเวชศาสตร์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ในการท�ำงานด้านการแพทย์ โดยเป็นค่าใช้จ่ายทางกายภาพบ�ำบัด ไม่เกินวันละ 200 บาท และค่าใช้จ่ายทางกิจกรรมบ�ำบัด ไม่เกิน วนั ละ 100 บาท แตร่ วมแล้ว ไมเ่ กิน 24,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในกระบวนการบ�ำบัดรักษาและการผ่าตัดเพ่ือ ประโยชน์ในการฟ้นื ฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ไมเ่ กิน 40,000 บาท หากมีความจ�ำเป็นให้จ่ายเพิ่มได้อีกไม่เกิน 140,000 บาท กรณี ไมเ่ พยี งพอใหค้ ณะกรรมการการแพทยพ์ จิ ารณา และคณะกรรมการ กองทนุ เงนิ ทดแทนเห็นชอบ - ค่าวัสดุและอุปกรณ์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู หน่วยละไม่เกิน อตั ราตามทกี่ ระทรวงการคลงั กำ� หนด แตร่ วมแลว้ ไมเ่ กนิ 160,000 บาท 51

โดยลูกจ้างจะได้รับค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน จะต้อง เขา้ รบั การฟน้ื ฟฯู ทศี่ นู ยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพคนงานสำ� นกั งานประกนั สงั คม เท่าน้ัน ปัจจุบันมีศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานท่ีเปิดบริการแล้ว จำ� นวน 5 แห่ง คอื - ศนู ยฟ์ ื้นฟสู มรรถภาพคนงานภาค 1 (จังหวัดปทมุ ธานี) - ศนู ย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานภาค 2 (จังหวดั ระยอง) - ศนู ย์ฟน้ื ฟูสมรรถภาพคนงานภาค 3 (จังหวดั เชียงใหม)่ - ศูนยฟ์ ืน้ ฟสู มรรถภาพคนงานภาค 4 (จังหวัดขอนแกน่ ) - ศูนย์ฟื้นฟสู มรรถภาพคนงานภาค 5 (จังหวดั สงขลา) 4. คา่ ท�ำศพ หลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไข ได้รับค่าท�ำศพตามอัตราที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง โดยจ่าย ใหก้ ับผู้จดั การศพ วิธกี ารส่งตวั ลกู จา้ งเข้าทำ� การรกั ษา กรณีเข้ารักษา ณ สถานพยาบาลทตี่ กลงไว้ นายจา้ งจะสง่ ผปู้ ระสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ปว่ ยเนอ่ื งจากการทำ� งาน เข้ารับการรักษา ณ สถานพยาบาล ซ่ึงกองทุนเงินทดแทนท�ำความ ตกลงไว้ โดยใช้แบบส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล (กท.44) ในกรณีนี้นายจ้างและลูกจ้างไม่ต้องทดรองจ่ายค่ารักษาพยาบาล ไปก่อน สถานพยาบาลนั้นๆ จะเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาล จากกองทุนเงินทดแทนโดยตรง แต่นายจ้างต้องน�ำส่ง กท.16 และ สำ� เนา กท.44 ก่อน 52

กรณีเขา้ รกั ษา ณ สถานพยาบาลทวั่ ไป นายจ้างจะส่งลูกจ้างผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเน่ืองจาก การท�ำงาน เข้ารับการรักษา ณ สถานพยาบาลใดๆ ก็ได้ ทั้งของ เอกชนและของรัฐบาล แต่ท้ังนี้ต้องเป็นสถานพยาบาลที่จัดต้ังขึ้น ตามกฎหมายให้ท�ำการรักษา และลงชื่อรับรองในใบความเห็น ของแพทย์ การส่งลูกจ้างไปรับการรักษา ณ สถานพยาบาลดงั กลา่ วนี้ นายจ้างหรือลูกจ้างจะต้องทดรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน แล้วน�ำใบเสร็จรับเงินมาเป็นหลักฐานขอเบิกเงินจากกองทุน เงนิ ทดแทนได้ วธิ กี ารแจง้ การประสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ปว่ ย พรอ้ มเอกสารประกอบ การย่นื ค�ำขอ การแจ้งการประสบอันตรายหรือเจบ็ ปว่ ยจากการท�ำงาน นายจา้ งหรอื ผ้รู บั มอบอ�ำนาจ แจ้งตามแบบ กท.16 โดยยนื่ เรอื่ ง ณ สำ� นกั งานประกนั สงั คมทล่ี กู จา้ งทำ� งานอยหู่ รอื ทน่ี ายจา้ งมภี มู ลิ ำ� เนา ซ่ึงสามารถส่งเอกสารได้โดยตรงท่ีส�ำนักงานประกันสังคมหรือส่ง ทางไปรษณยี ์ ภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ทที่ ราบการประสบอนั ตรายหรอื เจ็บป่วยของลูกจ้าง หรือลูกจ้างสามารถยื่นค�ำร้องขอรับเงินทดแทน ภายใน 180 วนั นับแต่วนั ท่ีประสบอันตรายเจบ็ ปว่ ยหรือสูญหาย หรือ หากการเจ็บป่วยเกิดหลังส้ินสภาพการเป็นลูกจ้าง ให้ยื่นค�ำร้อง ภายใน 2 ปี นบั แตว่ นั ทที่ ราบการเจบ็ ป่วย 53

หลกั ฐานการแจง้ การประสบอนั ตรายหรอื การขอรบั เงนิ ทดแทน ทกุ กรณี 1. แบบแจง้ การประสบอนั ตราย เจบ็ ปว่ ย หรอื สญู หาย (กท.16) 2. แบบสง่ ตวั ลูกจ้างเขา้ รับการรักษาพยาบาล (กท.44) (กรณี นายจ้างส่งตัวเข้ารับการรักษาท่ีสถานพยาบาลในความตกลงของ กองทนุ เงนิ ทดแทน) ต้นฉบบั พรอ้ มสำ� เนา 3. ใบรับรองแพทย์ (กท.16/1) หรือใบรบั รองแพทย์ของสถาน พยาบาล 4. การประสบอันตรายท่ีไม่ชัดเจน เช่น อุบัติเหตุรถยนต์ เกิดเหตุนอกสถานท่ี เป็นต้น ต้องขอหลักฐานเพ่ิม เช่น หลักฐาน การลงเวลาทำ� งาน บันทึกประจ�ำวนั ต�ำรวจ แผนท่เี กดิ เหตุ เป็นตน้ 5. ใบเสรจ็ รบั เงิน (กรณนี ายจา้ ง ลกู จา้ งสำ� รองจ่ายไปกอ่ น) 6. กรณีเสียชีวิตหรือสูญหายเน่ืองจากการท�ำงาน ต้องมี หลักฐานแสดงการเสียชีวิต ใบชันสูตรศพ ใบมรณะบัตรของลูกจ้าง บนั ทึกประจำ� วนั ตำ� รวจ (ถา้ ม)ี พรอ้ มดว้ ยหลักฐานของผมู้ ีสิทธิ ดงั น้ี สตู บิ ตั รของบตุ ร ทะเบยี นสมรสของลกู จา้ งกบั สามหี รอื ภรรยา ทะเบยี น สมรสของบดิ า-มารดา ทะเบียนบ้านของลกู จ้าง บดิ า-มารดา ภรรยา หรือสามี บุตร/ทะเบียนหย่าของลูกจ้าง หรือบิดามารดาหรือคู่สมรส (ถ้ามี)/หลักฐานการเปล่ียนชื่อ-สกุลของลูกจ้าง บิดามารดา คู่สมรส บุตร (ถา้ มี) หรือถา้ กรณีผมู้ ีสิทธิเสยี ชีวิต ควรมีหลักฐาน ดงั น้ี สามี หรือภรรยา บิดามารดา หรือบุตร ต้องมีหลักฐานใบมรณะบัตรของ ทุกคนมาแสดง เพื่อประกอบการพิจารณา 54

ทง้ั น้ี การยื่นแบบการประสบอนั ตรายหรอื เจ็บป่วยหรือสญู หาย (กท.16) เพยี งครัง้ เดยี ว สามารถรับสทิ ธปิ ระโยชนไ์ ด้ทุกกรณี ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ค่าท�ำศพ ค่าทดแทนกรณีไม่สามารถท�ำงานได้ ค่าทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะ ค่าทดแทนกรณีทพุ พลภาพ และคา่ ทดแทนกรณตี ายหรอื สูญหาย หลักการปฏบิ ัตแิ ละหน้าทขี่ องนายจ้าง วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการสง่ ลกู จ้างเข้ารักษา 1. นายจ้างต้องแน่ใจว่าลูกจ้างประสบอันตราย หรือเจ็บป่วย ดว้ ยโรคเน่ืองจากการท�ำงานจรงิ 2. ใหน้ ายจา้ งกรอกขอ้ ความในแบบสง่ ตวั ลกู จา้ งเขา้ รบั การรกั ษา พยาบาล (กท.44) ซ่ึงชุดหนึ่งมี 2 แผ่น โดยให้ลูกจ้างน�ำไปแสดง ต่อโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา ณ สถานพยาบาลที่ส�ำนักงาน กองทุนเงนิ ทดแทนท�ำความตกลงไว้ 3. ใหน้ ายจา้ งสง่ สำ� เนาแบบ กท.44 ไปยงั สำ� นกั งานประกนั สงั คม กรงุ เทพมหานครพนื้ ท/ี่ จงั หวดั /สาขา พรอ้ มแบบแจง้ การประสบอนั ตราย หรือเจ็บปว่ ย (กท.16) และใบรับรองแพทย์ 4. ในการส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาตามแบบ กท.44 น้ี หากภายหลงั สำ� นกั งานกองทนุ เงนิ ทดแทนหรอื สำ� นกั งานประกนั สงั คม กรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา วินิจฉัยว่าลูกจ้างไม่มีสิทธิรับ เงนิ ทดแทน นายจา้ งผสู้ ง่ ตวั ลกู จา้ งเขา้ รบั การรกั ษา จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ จ่ายค่ารักษาพยาบาลแก่สถานพยาบาล ท่ีให้การรักษาแก่ลูกจ้าง นนั้ เอง 55

หลักการปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องลูกจา้ ง หน้าที่ของลูกจ้างผู้ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจาก การทำ� งาน 1. รีบแจ้งนายจ้างทันทีที่ประสบอันตราย แม้จะเป็นการ ประสบอันตรายเพยี งเล็กน้อยก็ต้องแจ้ง เพราะอาจจะมีอาการกำ� เริบ มากข้ึนได้ในภายหลงั 2. กรอกข้อความหรือตรวจสอบรายละเอียดให้ถูกต้อง และ ลงลายมือช่ือในแบบแจ้งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย (กท.16) ในสว่ นของลูกจ้าง 3. ตอ้ งรักษาพยาบาลกบั แพทย์แผนปัจจุบนั ชนั้ 1 4. ถา้ ลกู จา้ งจา่ ยคา่ รกั ษาพยาบาลไปกอ่ นแลว้ ใหร้ บี นำ� ใบเสรจ็ รับเงินค่ารักษาพยาบาลมาเบิกคืนจากส�ำนักงานประกันสังคม กรงุ เทพมหานครพ้นื ท/ี่ จังหวัด/สาขา แล้วแต่กรณี 5. หากลูกจ้างได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าท่ีว่าลูกจ้างจ�ำเป็นต้อง ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ให้ไปติดต่อสมัครเข้ารับ การฟน้ื ฟฯู ไดท้ ศี่ นู ย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนงาน หรอื ที่ส�ำนักงานกองทนุ เงนิ ทดแทน หรอื สำ� นกั งานประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพนื้ ท/่ี จงั หวดั / สาขาทกุ จังหวัด 6. ในกรณีที่มีการเจ็บป่วยเกิดข้ึนภายหลังการส้ินสภาพ การเป็นลูกจ้าง ให้ลูกจ้างย่ืนค�ำร้องขอรับเงินทดแทน (กท.16) ได้ ภายใน 2 ปี นบั แต่วันที่ทราบการเจบ็ ปว่ ย 56

คลินิกโรคจากการทำ� งาน คอื อะไร? กระทรวงแรงงานและกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึง กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ซ่ึงเป็นทรัพยากรที่มีค่าและส�ำคัญยิ่งของประเทศ โดยได้จัดท�ำข้อตกลงความร่วมมือการจัดตั้ง “โครงการศูนย์โรคจาก การทำ� งาน” ข้ึนเมื่อวนั ที่ 6 กรกฎาคม 2548 1) วตั ถุประสงค์ - จัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคจาก การทำ� งานของลกู จ้าง - ดูแล รกั ษา หลงั จากการเกิดโรคและอุบตั เิ หตุ - พัฒนาคลินิกอาชีวเวชศาสตร์และเครือข่าย ตลอดจน แนวทางการวนิ จิ ฉยั ท่เี ปน็ มาตรฐาน - สรา้ งระบบปอ้ งกนั และส่งเสรมิ สขุ ภาพอย่างเปน็ ธรรม 2) วิธีการเข้ารกั ษาท่ีคลินกิ โรคจากการท�ำงาน ลูกจ้างที่สงสัยว่าเจ็บป่วยด้วยโรคจากการท�ำงาน สามารถ เข้ารับบริการตรวจวินิจฉัยได้ท่ีคลินิกโรคจากการท�ำงาน โดยไม่ต้อง เสยี ค่าใชจ้ ่ายใดๆ ทั้งสน้ิ โดยมีข้ันตอนในการเขา้ รับบริการ ดงั น้ี 1. ยน่ื แจง้ การประสบอนั ตรายฯ ตามแบบ กท.16 ตอ่ สำ� นกั งาน ประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพน้ื ท/่ี จงั หวดั /สาขา ทล่ี ูกจา้ งทำ� งานอยู่ หรือที่นายจ้างมีภูมิล�ำเนา เพ่ือขอหนังสือส่งตัวไปยังโรงพยาบาลท่ี ใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ โรคจากการทำ� งาน หรอื ตดิ ตอ่ คลนิ กิ โรคจากการทำ� งาน โดยตรง 57

2. กรณีถือบัตรรับรองสิทธิของโรงพยาบาลที่ให้บริการ คลนิ ิกโรคจากการทำ� งาน สามารถเขา้ รบั บรกิ ารได้ โดยติดตอ่ คลินกิ ประกันสังคมเพ่ือตรวจคัดกรองเบื้องต้น หากพยาบาลท่ีคัดกรอง โรคหรือแพทย์ผู้ท�ำการตรวจวินิจฉัยสงสัยว่าเจ็บป่วยด้วยโรคจาก การทำ� งาน จะส่งตอ่ ไปยังคลินกิ โรคจากการทำ� งาน 3. กรณีลูกจ้างเข้ารับการตรวจวินิจฉัยโดยไม่ได้แจ้ง การประสบอันตราย หากผลการตรวจวินิจฉัยพบว่า ลูกจ้างเจ็บป่วย จากการท�ำงาน ให้แจ้งนายจ้างยื่นแบบแจ้งการประสบอันตรายฯ (กท.16) ตอ่ สำ� นกั งานประกันสังคม ภายใน 15 วนั และย่นื แบบส่งตวั ลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล (กท.44) ต่อโรงพยาบาลเพื่อให้ โรงพยาบาลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในส่วนของ กองทุนเงนิ ทดแทน จากสำ� นักงานประกันสังคมโดยตรง 4. กรณผี ลการตรวจลกู จา้ งไมเ่ จบ็ ปว่ ยจากการทำ� งาน ลกู จา้ ง ไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการตรวจวนิ จิ ฉยั เนอื่ งจากกองทนุ เงนิ ทดแทน ให้การสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายแก่โรงพยาบาลแล้ว 3) คลนิ กิ โรคจากการท�ำงาน มีทีใ่ ดบ้าง สามารถตรวจสอบรายช่ือคลินิกโรคจากการท�ำงาน ได้ท่ี www.sso.go.th 58

59

หนว่ ยงานสงั กัดส�ำนกั งานประกันสังคม หมายเลขโทรศพั ท์ กองกฎหมาย 0 2956 2652 กองคลัง 0 2956 2060 กองนโยบายและแผนงาน 0 2956 2172 กองบรหิ ารการเงินและการบัญชี 0 2956 2453 กองบริหารการลงทนุ 0 2956 2416 กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 0 2956 2132 ส�ำนกั เงินสมทบ 0 2956 2251 ส�ำนกั จดั ระบบบริการทางการแพทย์ 0 2956 2491 สำ� นักตรวจสอบ 0 2956 2571 สำ� นักบริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศ 0 2956 2330 ส�ำนกั สทิ ธปิ ระโยชน์ 0 2956 2281 ส�ำนกั เสริมสรา้ งความม่นั คงแรงงานนอกระบบ 0 2956 2105 กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 0 2956 2692 กลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร 0 2956 2213 กองวิจยั และพัฒนา 0 2956 2900 กองฝกึ อบรม 0 2956 2314 ศูนยส์ ารนเิ ทศ 0 2956 2531 สำ� นักงานกองทนุ เงนิ ทดแทน 0 2956 2724 ส�ำนักงานประกันสงั คมกรงุ เทพมหานครพน้ื ที่ 1 0 2622 2500-17 ส�ำนักงานประกนั สังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 2 0 2954 2577 ส�ำนกั งานประกันสังคมกรงุ เทพมหานครพื้นที่ 3 0 2248 4867 ส�ำนักงานประกันสงั คมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 4 0 2634 0979, 0 2634 0973 60

หน่วยงานสงั กัดส�ำนักงานประกนั สังคม หมายเลขโทรศพั ท์ สำ� นกั งานประกันสงั คมกรุงเทพมหานครพน้ื ท่ี 5 0 2476 8787, 0 2476 9016, 0 2476 9982 ส�ำนกั งานประกนั สังคมกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี 6 0 2455 8989 ส�ำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพ้นื ท่ี 7 0 2415 0995 ส�ำนักงานประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพนื้ ท่ี 8 0 2743 3690 สำ� นักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพืน้ ท่ี 9 0 2379 2926 สำ� นกั งานประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพนื้ ท่ี 10 0 2517 9222 สำ� นกั งานประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพน้ื ที่ 11 0 2294 5958 สำ� นกั งานประกนั สงั คมกรงุ เทพมหานครพนื้ ที่ 12 0 2311 5936-9 ศูนยฟ์ ืน้ ฟูสมรรถภาพคนงานภาค 1 0 2567 0847-9 (จงั หวัดปทุมธานี) ศนู ยฟ์ น้ื ฟูสมรรถภาพคนงานภาค 2 0 3887 7246-7 (จังหวดั ระยอง) ศูนย์ฟ้นื ฟูสมรรถภาพคนงานภาค 3 0 5301 6850-9 (จังหวัดเชยี งใหม)่ ศนู ย์ฟน้ื ฟสู มรรถภาพคนงานภาค 4 0 4328 3040 (จังหวดั ขอนแกน่ ) ศูนย์ฟนื้ ฟสู มรรถภาพคนงาน ภาค 5 0 7459 1075-7 (จังหวัดสงขลา) สำ� นักงานประกนั สังคมจังหวัดกระบี่ 0 7566 3619-23 - สาขาคลองท่อม 0 7564 0048 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจงั หวัดกาญจนบรุ ี 0 3456 4307-8 - สาขาทา่ มะกา 0 3456 2266 ส�ำนักงานประกนั สงั คมจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ 0 4381 2694, 0 4381 2787 61

หน่วยงานสังกดั ส�ำนกั งานประกันสังคม หมายเลขโทรศพั ท์ ส�ำนกั งานประกนั สังคมจงั หวดั ก�ำแพงเพชร 0 5571 0102 สำ� นักงานประกนั สงั คมจังหวดั ขอนแก่น 0 4324 5328, 0 4324 6118 - สาขาชมุ แพ 0 4331 1849, 0 4331 2515 - สาขาบ้านไผ่ 0 4327 2166-67 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวัดจนั ทบรุ ี 0 3930 1302-3 - สาขาสอยดาว 0 3942 1698 สำ� นักงานประกันสงั คมจงั หวัดฉะเชิงเทรา 0 3882 3309, 0 3898 1422 - สาขาบางปะกง 0 3854 0531 - สาขาพนมสารคาม 0 3808 6441 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั ชลบรุ ี 0 3819 8671-4 - สาขาศรีราชา 0 3849 5265 สำ� นักงานประกันสงั คมจงั หวัดชัยนาท 0 5641 2603 ส�ำนกั งานประกันสังคมจังหวัดชัยภมู ิ 0 4483 5681-2 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจังหวัดชมุ พร 0 7750 5045-6 สำ� นักงานประกนั สงั คมจังหวดั เชยี งราย 0 5315 2061-2 สำ� นักงานประกันสงั คมจงั หวัดเชยี งใหม่ 0 5311 2629-30 - สาขาฝาง 0 5345 1228 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจังหวดั ตรัง 0 7557 0528 - สาขาห้วยยอด 0 7557 7255 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวดั ตราด 0 3951 1911 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจงั หวดั ตาก 0 5551 2450 - สาขาแมส่ อด 0 5553 3752 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดนครนายก 0 3731 3097 62

หน่วยงานสังกัดสำ� นกั งานประกันสังคม หมายเลขโทรศัพท์ ส�ำนักงานประกันสังคมจงั หวดั นครปฐม 0 3431 0540-3 - สาขาสามพราน 0 3432 7150-3 สำ� นักงานประกนั สังคมจงั หวัดนครพนม 0 4251 3540 สำ� นกั งานประกันสังคมจังหวดั นครราชสีมา 0 4495 8512, 0 4495 8114 - สาขาโนนสูง 0 4491-7116 - สาขาปากช่อง 0 4431 6665 สำ� นักงานประกันสังคมจงั หวัดนครศรีธรรมราช 0 7535 7202-5 - สาขาทุ่งสง 0 7533 2895-6 - สาขาสิชล 0 7553 5994 ส�ำนกั งานประกนั สงั คมจังหวัดนครสวรรค์ 0 5622 0134-5 - สาขาตาคลี 0 5626 5682-3 ส�ำนักงานประกันสังคมจงั หวดั นนทบุรี 0 2550 5104 - สาขาบางบัวทอง 0 2926 7510-1 ส�ำนักงานประกนั สังคมจงั หวัดนราธวิ าส 0 7353 2333-5 ส�ำนกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั น่าน 0 5471 6069-72 - สาขาปวั 0 5468 8904 ส�ำนกั งานประกนั สงั คมจงั หวัดบงึ กาฬ 0 4249 2524-5 สำ� นักงานประกนั สงั คมจังหวดั บรุ รี ัมย์ 0 4463 4881-6 - สาขานางรอง 0 4463 3817 ส�ำนกั งานประกันสงั คมจงั หวัดปทมุ ธานี 0 2567 0360-6 - สาขาคลองหลวง 0 2529 2478 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 0 3260 3361, 0 3260 3362 - สาขาหัวหนิ 0 3252 2301-2 สำ� นักงานประกนั สงั คมจงั หวดั ปราจนี บุรี 0 3745 4030-32 - สาขาศรมี หาโพธิ 0 3762 5212-14 63

หนว่ ยงานสงั กัดส�ำนกั งานประกันสังคม หมายเลขโทรศัพท์ ส�ำนักงานประกนั สังคมจงั หวดั ปัตตานี 0 7332 3191-4 สำ� นักงานประกันสังคมจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 0 3533 6252 - สาขาอทุ ยั 0 3580 0813-5 สำ� นกั งานประกันสงั คมจงั หวัดพะเยา 0 5448 4100 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวดั พงั งา 0 7641 4208-10 ส�ำนักงานประกนั สังคมจงั หวัดพทั ลุง 0 7462 1447-8 ส�ำนกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั พจิ ิตร 0 5661 2934, 0 5661 3290 ส�ำนกั งานประกนั สงั คมจังหวดั พิษณุโลก 0 5524 5020, 0 5525 2960 - สาขาวังทอง 0 5531 2637 สำ� นกั งานประกนั สังคมจงั หวัดเพชรบรุ ี 0 3242 7195, 0 3242 6509 - สาขาชะอ�ำ 0 3247 2770, 0 3247 2771 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวัดเพชรบูรณ์ 0 5673 6226-30 - สาขาหลม่ สัก 0 5671 3716-18 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดแพร่ 0 5452 2231-2 - สาขาลอง 0 5458 3412-5 ส�ำนักงานประกันสังคมจงั หวดั ภเู ก็ต 0 7622 2837 - สาขากะทู้ 0 7654 0571-74 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั มหาสารคาม 0 4397 1322-24 สำ� นกั งานประกนั สังคมจงั หวดั มกุ ดาหาร 0 4261 2287, 0 4261 4430-1 สำ� นกั งานประกันสงั คมจังหวัดแม่ฮ่องสอน 0 5361 2599, 0 5361 2144 ส�ำนักงานประกนั สังคมจงั หวัดยโสธร 0 4571 2184 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจังหวัดยะลา 0 7327 4482-4 สำ� นักงานประกันสงั คมจังหวัดรอ้ ยเอด็ 0 4351 3452, 0 4351 5452 - สาขาโพนทอง 0 4357 1748-50 64

หน่วยงานสงั กัดส�ำนักงานประกันสงั คม หมายเลขโทรศัพท์ ส�ำนักงานประกันสงั คมจงั หวดั ระนอง 0 7786 2036 ส�ำนักงานประกนั สังคมจงั หวัดระยอง 0 3861 0170-3 - สาขาปลวกแดง 0 3802 7852-9 สำ� นักงานประกนั สงั คมจังหวัดราชบรุ ี 0 3231 9854 - สาขาบ้านโปง่ 0 3222 3069 สำ� นกั งานประกนั สังคมจังหวัดลพบรุ ี 0 3641 2923, 0 3642 1670 - สาขาชัยบาดาล 0 3646 2117 ส�ำนักงานประกันสงั คมจงั หวดั ลำ� ปาง 0 5426 5018-21 - สาขาเถิน 0 5429 2191 ส�ำนักงานประกนั สังคมจังหวดั ล�ำพูน 0 5352 5596-8 - สาขาบ้านโฮง่ 0 5398 0596 ส�ำนกั งานประกันสงั คมจังหวัดเลย 0 4281 2430, 0 4281 2613 สำ� นกั งานประกันสังคมจังหวัดศรีสะเกษ 0 4561 3172-3 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจังหวดั สกลนคร 0 4271 2662, 0 4271 2663 - สาขาสว่างแดนดนิ 0 4277 6833 ส�ำนักงานประกันสงั คมจงั หวดั สงขลา 0 7430 0550 - สาขาหาดใหญ่ 0 7455 9600-4 - สาขาสะเดา 0 7424 1317, 0 7424 1319 ส�ำนักงานประกันสงั คมจังหวัดสตลู 0 7472 1353, 0 7471 2332 สำ� นกั งานประกันสงั คมจงั หวัดสมทุ รปราการ 0 2755 6249-57 - สาขาบางพลี 0 2175 2430-37 - สาขาบางเสาธง 0 2706 7769-76 - สาขาพระประแดง 0 2425 8314-15 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดสมทุ รสงคราม 0 3471 5541, 0 3471 6181 65

หนว่ ยงานสังกดั ส�ำนกั งานประกันสังคม หมายเลขโทรศพั ท์ ส�ำนกั งานประกันสังคมจังหวดั สมทุ รสาคร 0 3441 2452-5 - สาขากระทุ่มแบน 0 3447 0279-82 สำ� นักงานประกันสงั คมจังหวัดสระแก้ว 0 3742 5070-3 - สาขาอรญั ประเทศ 0 3723 3113 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจงั หวัดสระบุรี 0 3622 3066 - สาขาหนองแค 0 3637 2009-10 สำ� นกั งานประกนั สังคมจงั หวดั สงิ หบ์ ุรี 0 3650 7205 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจงั หวัดสโุ ขทยั 0 5562 0427-8 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจังหวดั สุพรรณบุรี 0 3553 5389-91 - สาขาสามชกุ 0 3557 1251-2 ส�ำนกั งานประกนั สังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี 0 7728 2283, 0 7728 9194 - สาขาเกาะสมุย 0 7742 0697, 0 7742 6104-5 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดสรุ ินทร์ 0 4415 3037-38 - สาขาศขี รภูมิ 0 4456 0380-1 ส�ำนกั งานประกันสังคมจงั หวัดหนองคาย 0 4242 1122, 0 4242 0969 สำ� นักงานประกนั สงั คมจงั หวดั หนองบัวลำ� ภู 0 4231 6751-4 ส�ำนักงานประกนั สงั คมจังหวดั อา่ งทอง 0 3562 6088, 0 3562 5146 สำ� นักงานประกันสงั คมจงั หวัดอำ� นาจเจริญ 0 4552 3047 สำ� นกั งานประกนั สงั คมจังหวดั อุดรธานี 0 4232 5996 - สาขากมุ ภวาปี 0 4233 4855, 0 4233 4588 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดอตุ รดิตถ์ 0 5543 1964-7 ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวดั อุทัยธานี 0 5697 0133-6 สำ� นักงานประกันสงั คมจังหวดั อบุ ลราชธานี 0 4524 5436 - สาขาเดชอุดม 0 4536 2325 66

สแกน QR Code เพ่ือรับชมสทิ ธิประโยชน์ต่างๆ และรับขา่ วสารใหมๆ่ ของสำ� นักงานประกนั สงั คม ชมคลิป สิทธิประโยชน์ 7 กรณี ชมเนื้อหา สิทธิประโยชน์มาตรา 40 Add Facebook SSO รับข่าวสารสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ชมสิทธิประโยชน์อื่นๆ ทาง YouTube SSO

Êͺ¶ÒÁ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·èÕ ÊÒ´‹Ç¹ 1506 ã˺Œ Ã¡Ô ÒõÅÍ´ 24 ªÑèÇâÁ§ www.sso.go.th ¾ÁÔ ¾à ÁÍè× : ÊÔ§ËÒ¤Á 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook