Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาการอ่านและการเขียนคำราชาศัพท์โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนม.2

การพัฒนาการอ่านและการเขียนคำราชาศัพท์โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนม.2

Published by Monthakarn Athena, 2022-03-09 05:51:11

Description: การพัฒนาการอ่านและการเขียนคำราชาศัพท์โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนม.2

Search

Read the Text Version

ชื่องานวิจัย การพัฒนาการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพทโ์ ดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะของนักเรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ ชือ่ ผู้วิจยั นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล หน่วยงาน โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ บทคดั ย่อ การศึกษาวิจัยในครง้ั น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 และเพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 44 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ คือ แบบฝึกทกั ษะอ่าน และการเขียนคาราชาศัพท์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทดลองใช้แบบกลุ่มเดียวท่ีมีการวัด กอ่ นและหลงั การทดลอง สถติ ิทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ใช้คา่ เฉลย่ี และคา่ รอ้ ยละ จากผลการศึกษาพบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.095 /81.14 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ต้ังไว้ และผู้เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเรือ่ งคาราชาศพั ทส์ งู ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 81.14 ผลที่ได้จากการศึกษาในคร้ังนี้ ได้แบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนมี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเร่อื งคาราชาศัพทส์ งู ขนึ้

สารบญั บทท่ี 1 เรอ่ื ง หนา้ บทท่ี 2 บทคัดย่อ บทที่ 3 บทนา 1 2 1.1 ความสาคญั และความเปน็ มาของปัญหา 2 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 3 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 3 1.4 สมมุติฐานการวิจัย 3 1.5 นิยามศพั ท์เฉพาะ 1.6 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 4 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง 7 2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 8 2.2 หลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 16 2.3 แนวการจัดการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระภาษาไทย 2.4 การจัดการเรียนรูต้ ามแนวปฏิรปู การศกึ ษา 19 27 ทเ่ี น้นเปน็ ผู้เรียนสาคญั 30 2.5 การสรา้ งแบบฝกึ ทักษะ 2.6 หลักจิตวทิ ยาทเี่ ก่ียวข้องกับการสรา้ งแบบฝกึ 35 2.7 งานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง 35 วิธดาเนินการ 36 3.1 กล่มุ เป้าหมาย 38 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั 39 3.3 การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่อื งมอื 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.5 การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถิตทิ ี่ใช้

สารบัญ บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 41 บทท่ี 5 4.1 สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 41 4.2 การวเิ คราะห์ข้อมูล 41 4.3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 44 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44 5.1 วัตถปุ ระสงค์ในการวิจยั 44 5.2 สมมุตฐิ านการวิจัย 44 5.3 กลุ่มเปา้ หมาย5rt 45 5.4 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั 45 5.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 46 5.6 อภิปรายผล 47 5.7 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก การวิเคราะหข์ อ้ มลู ภาคผนวก ข แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ภาคผนวก ค แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขียนคาราชาศพั ท์ รายช่ือผ้เู ชี่ยวชาญ ประวัติย่อผู้วิจยั

สารบัญตาราง เรอ่ื ง หน้า ตารางท่ี 1 แสดงแบบแผนการทดลอง 37 ตารางที่ 2 แสดงคะแนนเฉลยี่ และคา่ ร้อยละเพ่ือหาประสิทธภิ าพ 44 ของแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและเขยี นคาควบกล้า ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ตารางที่ 3 แสดงคะแนนเฉลี่ยและคา่ ร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ 45 ทดสอบหลงั เรยี น

ภาคผนวก ภาคผนวก ก การวเิ คราะห์ข้อมลู ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ภาคผนวก ค แบบฝึกทักษะการเขียนคาทม่ี ตี ัวการนั ต์

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความสาคญั และความเป็นมาของปญั หา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 บัญญัติ ตาม มาตรา 6 การจัดการศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไปเพ่ือพัฒนาคนให้ให้เปน็ มนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ ท้งั รา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา 23 การจัดการ ศึกษา…ต้องเน้นความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษา (4) ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้อง…และ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ การจดั การศึกษาต้องเปน็ ไปเพ่อื พฒั นา คนไทย ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข เปิดโอกาส ให้สังคม มีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเน่ือง(สานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหง่ ชาติ 2542 : ข) สถานศกึ ษาจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่มี ุ่งเน้นการฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น ผสมผสานความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดลุ กัน ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม ท่ดี ีงามและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทกุ กลุ่มสาระ การเรียนรู้อานวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการการเรยี นรู้ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผู้เรียน จดั การเรยี นรู้ ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ทส่ี มบูรณ์ เปน็ คนดี มีความสขุ และมคี วามเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึง กาหนดจุดหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐาน การเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ ๒. มีความคิด สรา้ งสรรค์ ใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น รัก การอ่าน รกั การเขยี น และรักการคน้ คว้า

ผูศ้ ึกษาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้กล่มุ สาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่าทักษะท้ังสี่ทจ่ี ะต้อง ฝึกควบคู่กันไปคือ ฟัง พูด อ่านและเขียน ทักษะที่เป็นปัญหามากท่ีสุดคือ ทักษะการอ่าน โดยเฉพาะคาท่ี นามาฝกึ ทักษะการอ่านมากทสี่ ุดคือคาราชาศพั ท์ ผูว้ ิจยั มองเห็นความสาคัญท่ีจะได้รบั การแก้ไข จึงสร้างส่ือ นวัตกรรม มาฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์มาจดั กิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้เรียน ภาษาไทยอยา่ งมคี วามสุขและครูไดพ้ ฒั นาเรยี นการสอนภาษาไทยให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้นึ 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1.2.1 เพ่อื สร้างแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 1.2.2 เพื่อพฒั นาทักษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ของนักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 1.3 ขอบเขตของการวจิ ัย 1.3.1. กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใชน้ วัตกรรม คอื นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/7 จานวน 44 คน 1.3.2 เน้อื หาทใี่ ชใ้ นการทดลองไดแ้ ก่ การอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ 1.3.3. ระยะเวลาในการทดลอง ภาคเรยี นที่ 1/2564 ใช้เวลา 10 ชวั่ โมง ในชั่วโมงภาษาไทย วันละ 1 ชัว่ โมง สปั ดาห์ละ 3 วัน 1.3.4 ตัวแปรที่ศกึ ษา 1.3.4.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคาราชาศพั ท์ 1.3.4.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการอา่ นและการเขียนคาราชาศัพท์

1.4 สมมตุ ฐิ านของการวจิ ัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการฝึกทักษะการอ่านและการเขียน คาราชาศัพท์ โดยใช้ แบบฝึกทกั ษะ มีพัฒนาการอา่ นและการเขียนคาราชาศัพทจ์ ากการทดสอบหลังเรยี นสงู ขน้ึ 1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1.5.1 แบบฝึกทกั ษะ คือ ส่ือการเรียนการสอนท่ีใช้ฝกึ ทักษะ กบั ผ้เู รียนเพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งเกิดความชานาญในเร่ืองน้นั ๆ 1.5.2 แบบทดสอบ คือ แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อทดสอบนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ก่อนและหลังทดลองใชแ้ บบฝกึ ทักษะ 1.5.3 การอ่าน เป็นกระบวนการสื่อสารระหว่างผู้อ่าน โดยการอ่านตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ โดยใช้ความคิด ความรู้สึก ความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เขียน เป็นแนวทางในการรับสารเพื่อให้ตรง กบั การสือ่ สารของผอู้ า่ น 1.5.4 คาราชาศัพท์ คือ ถ้อยคาท่ีใช้กับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้าข้ึนไป แต่บางตารารวมถึงถ้อยคาที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ และถ้อยคาสุภาพที่ใช้กับคนท่ัวไปด้วย คาราชาศัพท์เป็น วฒั นธรรมทางภาษาและมวี ธิ ีใช้ถอ้ ยคาตามฐานะของบุคคล มที ั้งทใ่ี ช้เป็นคานาม คาสรรพนาม และคากริยา 1.6 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 1.6.1. ได้แบบฝึกทักษะการพัฒนาการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ ที่ผ่านการพฒั นาและหา ประสิทธิภาพจากผเู้ ชี่ยวชาญเรยี บรอ้ ยแล้ว 1.6.2. โรงเรียนมีแนวทางในการจัดทาแบบฝึกทักษะการพัฒนาการอ่านและการเขียนคาราชา ศพั ทพ์ ัฒนาชั้นอน่ื ๆ 1.6.3. โรงเรียนสามารถนาแนวทางน้ีไปส่งเสริมให้ครคู นอื่น ๆ ได้นาไปพัฒนากลุ่มสาระอื่นๆได้ ตามมาตรฐานวิชาชพี

บทท่ี 2 เอกสารและผลงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง เอกสารและผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม การพัฒนากระบวนการเรียนรู้สาระ ภาษาไทย โดยสร้างแบบทดสอบวัดความรู้ความสามารถก่อนเรียน-หลังเรียนและสร้างแบบฝึกทักษะการ เขียนคาราชาศัพท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย ได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามหัวข้อตอ่ ไปน้ี 2.1 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 (หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา) 2.2 หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 2.3 แนวทางการจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 2.4 การจดั การเรียนรตู้ ามแนวปฏิรูปการศึกษาท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 2.4.1 หลักการและแนวคดิ ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ท่เี น้น ผู้เรยี นเป็นสาคญั 2.4.2 หลักการเรียนรู้ทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี น 2.4.3 ข้อดีของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ 2.4.4 แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 2.4.5 กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 2.5 การสร้างแบบฝึกทักษะ 2.6 หลักจติ วิทยา ทฤษฎีและแนวคดิ ที่เกีย่ วข้องกบั การสรา้ งแบบฝึก 2.7 งานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างแบบฝึกทกั ษะ 2.8 งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง 2.1 พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 (หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา) มาตรา 22 การจดั การศึกษาต้องยดึ หลกั วา่ ผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือวา่ ผ้เู รยี นมีความสาคญั ทีส่ ุด กระบวนการจัดการศกึ ษา ต้องส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ

มาตรา 23 การจัดการศึกษา ท้งั การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอ้ งเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะ ระดับการศกึ ษาในเร่ืองต่อไปนี้ (1) ความร้เู รื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพนั ธข์ องตนเองกบั สงั คม ไดแ้ ก่ ครอบครวั ชมุ ชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกย่ี วกับประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาของสงั คมไทยและระบบการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (2) ความรู้และทักษะดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมท้ังความรู้ ความเขา้ ใจและประสบการณ์ เรือ่ งการจัดการ การบารงุ รกั ษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอย่างสมดุล ยงั่ ยืน (3) ความร้เู ก่ียวกับศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม การกฬี า ภมู ิปัญญาไทย และ การประยุกต์ใช้ภมู ปิ ญั ญา (4) ความรู้ และทักษะด้านคณติ ศาสตร์ และดา้ นภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอยา่ งถูกต้อง (5) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชวี ิตอยา่ งมคี วามสุข มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องดาเนินการดังต่อไปน้ี (1) จัดเน้อื หาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของผ้เู รยี น โดยคานงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (2) ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือ ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณจ์ ริง ฝกึ การปฏบิ ัตใิ ห้ทาได้ คิดเป็น และทาเป็น รกั การอ่านและเกดิ การใฝ่รูอ้ ย่างตอ่ เนื่อง (4) จดั การเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรดู้ า้ นตา่ ง ๆ อยา่ งได้สดั ส่วนสมดลุ กัน รวมทงั้ ปลูกฝงั คุณธรรม คา่ นยิ มทด่ี งี ามและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (5) ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื การเรียน และอานวย ความสะดวกเพอื่ ให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใชก้ ารวจิ ัยเป็นสว่ นหนงึ่ ของ กระบวนการเรยี นรู้ ทั้งน้ี ผูส้ อนและผเู้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั จากสือ่ การเรียนการสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ (6) จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กิดข้ึนได้ทุกเวลาทกุ สถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝา่ ย เพ่ือรว่ มกันพัฒนาผู้เรียนตามศกั ยภาพ มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดาเนนิ งานและการจัดตั้งแหล่งการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ทุกรปู แบบได้แก่

ห้องสมดุ ประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์การกฬี าและนนั ทนาการ แหล่งข้อมูล และแหลง่ การเรยี นรู้อื่นอยา่ งพอเพยี งและมี ประสิทธภิ าพ มาตรา 26 ใหส้ ถานศึกษาจัดการประเมนิ ผ้เู รียนโดยพจิ ารณาจากพฒั นาการของผู้เรียน ความ ประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน การร่วมกจิ กรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการ สอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั และรูปแบบการศึกษา ใหส้ ถานศกึ ษาใช้วิธกี ารที่หลากหลายใน การจดั สรรโอกาส การเข้าศึกษาตอ่ และใหน้ าผลการประเมนิ ผู้เรยี นตามวรรคหนึง่ มาใช้ประกอบการ พิจารณาดว้ ย มาตรา 27 ใหค้ ณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เพ่ือความเป็นไทย ความเป็นพลเมอื งที่ดขี องชาติ การดารงชวี ติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือ การศกึ ษาต่อใหส้ ถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานมหี น้าที่จดั ทาสาระของหลกั สตู รตามวัตถปุ ระสงค์ในวรรคหนึ่งในสว่ น ทีเ่ กย่ี วกบั สภาพปัญหาในชมุ ชนและสังคม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พ่อื เปน็ สมาชิกทด่ี ี ของครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทง้ั หลักสตู รการศึกษาสาหรบั บคุ คลตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ต้องมลี ักษณะหลากหลาย ทงั้ น้ี ให้จดั ตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั โดยมงุ่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของบคุ คลใหเ้ หมาะสมแกว่ ัย และศกั ยภาพ สาระของหลักสูตร ท้ังท่ีเป็นวิชาการ และวิชาชีพตอ้ งมุ่งพฒั นาคนให้มคี วามสมดลุ ทัง้ ดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดงี ามและ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม สาหรับหลกั สูตรการศึกษาระดบั อุดมศึกษา นอกจากคณุ ลักษณะในวรรคหนึ่ง และวรรคสองแลว้ ยังมีความมงุ่ หมายเฉพาะท่ีจะพฒั นาวชิ าการ วชิ าชพี ช้ันสูงและการค้นควา้ วจิ ยั เพื่อ พฒั นาองค์ความรู้และพฒั นาสังคม มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกบั บุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก์ ารชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ส่งเสริมความเข้มแขง็ ของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ภายในชมุ ชน เพือ่ ใหช้ มุ ชนมีการจัดการศึกษา อบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และรูจ้ กั เลอื กสรรภูมปิ ัญญาและวิทยาการต่าง ๆ เพอ่ื พัฒนา ชุมชนให้สอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความตอ้ งการ รวมท้ังหาวธิ ีการสนบั สนุนให้มกี ารแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การพฒั นาระหว่างชุมชน มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนทีม่ ีประสิทธภิ าพ รวมทงั้ การส่งเสรมิ ให้ ผ้สู อนสามารถวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรียน ในแตล่ ะระดบั การศึกษา

2.2 หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานสาระภาษาไทย กาหนดสาระและมาตรฐาน การเรียนรู้ สาระภาษาไทย เป็นเกณฑ์ในการกาหนดคุณภาพของผู้เรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งกาหนดไว้เฉพาะส่วนที่จาเป็น สาหรับเป็นพื้นฐานในการดารงชีวิตให้มีคุณภาพ สาหรับสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนา เพม่ิ เติมได้ สาระและมาตรฐานมรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ สาระที่ ๑ : การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ ไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวสิ ยั ทศั น์ในการดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสัยรักการอา่ น สาระที่ ๒ : การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงาน การศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สาระที่ ๓ : การฟัง การดูและการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความร้สู กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระท่ี ๔ : หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท ๔.๑ :เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติ ของชาติ มาตรฐาน ท ๔.๒ :สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลกั ษณะนิสยั บคุ ลิกภาพ และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งภาษากับวัฒนธรรม อาชพี สงั คม และ ชวี ติ ประจาวัน

สาระท่ี ๕ : วรรณคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ :เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง 2.3 แนวการจัดการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทย เป็นเอกลกั ษณป์ ระจาชาติ เป็นสมบตั ขิ องวัฒนธรรมทก่ี ่อให้เกดิ การสื่อสารความสัมพันธ์อันดีงามในสังคม เป็นประโยชน์ในการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนให้เท่าทันการ เปลีย่ นแปลง ท้งั ยงั เป็นส่อื ที่แสดงถงึ ภูมปิ ัญญาของบรรพบุรษุ ท่สี บื ทอดกันมา ภาษาไทยจงึ เปน็ สมบตั ขิ องชาติ ทีค่ วรแกก่ ารเรียนรู้ เพอื่ ให้ภาษาไทยธารงอยูอ่ ยา่ งมคี ณุ คา่ การสอนภาษาไทย จะประสบผลสาเร็จได้ดีหรือไม่ ข้ึนอยู่กับบทบาทของผู้สอน ซ่ึงจะต้องเป็นผู้มี ความรู้ ความสามารถ มกี ารปรับเปล่ียนพฤติกรรมจากการเปน็ ผู้บอก ให้เปน็ บทบาทของผู้จดั ประสบการณ์ การเรียนรทู้ ม่ี ีความหมาย นัน่ คอื ทาอยา่ งไรจงึ จะให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจถึงคุณคา่ และประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั อันไดแ้ ก่ (1) การเรียนร้ภู าษาไทยเป็นประโยชน์ต่อการติดต่อส่ือสาร การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสาร ในการปฏบิ ตั งิ าน การประสานงาน ประสานความร่วมมือ (2) เป็นการสร้างโอกาสการเรยี นรู้ เป็นพ้ืนฐานในการศึกษาวิทยาการ แขนงการตา่ ง ๆ การสืบค้น ขอ้ มลู การค้นควา้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ก้าวทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง (3) เป็นการเสริมสร้างวัฒนธรรม คุณธรรม ความดีงาม ตลอดจนบุคลิกภาพให้เกิดขึ้นในตนเอง และสงั คม (4) เป็นการพัฒนากระบวนการคดิ การสร้างองคค์ วามรู้ เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ (5) เปน็ การเสรมิ สรา้ งความงดงามในชวี ติ ช่ืนชม ภูมิใจในภาษาไทย คุณคา่ วรรณคดี ความเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติไทย การจัดการเรียนรูท้ ่ีมคี วามหมาย ครผู สู้ อนจะตอ้ งศึกษาวเิ คราะหส์ าระและ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรูช้ ่วงช้ัน จัดทาสาระการเรยี นรู้ช่วง ชั้น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี และจัดทาคาอธิบายรายวิชา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ก่อนจัดทา แผนการจัดการเรียนรู้ ผสู้ อนควรดาเนินการโดย (1) เลอื กรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ศึกษารูปแบบ เพื่อการจัดกิจกรรม ท่ีเหมาะสมกับเน้ือหาสาระ วุฒิภาวะของผู้เรียน ความสามารถในการเรียนรู้ ความแตก-ต่างระหว่างบุคคล รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้มีหลายประการ เช่น การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการกลุ่มสมั พันธ์ การจัดการเรียนรู้

เพือ่ พฒั นาความคดิ การบูรณาการ การสอนด้วยแผนความคดิ หรือแผนภาพ โครงเรอ่ื ง เป็นตน้ (2) พฒั นาหรอื คดิ คน้ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยครูผสู้ อนสามารถ เชือ่ มโยงความรูป้ ระสบการณ์ในการปฏิบัตงิ าน สภาพปญั หาท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรยี น นาสิ่งเหล่านีม้ าเป็นปัจจัยใน การคิดค้นรูปแบบการจัดกิจกรรม ทดลองใช้ปรับปรุงแก้ไขจนได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมี คุณภาพและควรเผยแพร่เพอ่ื เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา (3) การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีคานึงถึงการนาความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ จริง เชน่ การศึกษาค้นควา้ หาความรู้จากแหล่งความรู้ หอ้ งสมดุ สื่อเทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้ ตา่ ง ๆ ทัง้ ในทอ้ งถ่นิ และแหล่งอืน่ การเรยี บเรียง การจดั ทารายงาน การสอื่ สาร การสัมภาษณ์ การแสดงผลงาน เป็นต้น เพราะสิ่งเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และการประกอบ อาชีพในอนาคต (4) การจดั กระบวนการเรียนรกู้ ลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยควรจัดให้มี รูปแบบหลากหลายและปรับใช้ไดใ้ นแตล่ ะกิจกรรม รวมท้ังเหมาะสมกับคุณลักษณะของผูเ้ รียน ตามแนวทาง การจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียน ดี เก่ง และมีสุข โดยเฉพาะกระบวนการเรียนรู้เฉพาะ (Specific Learning) ของภาษาไทย ซ่ึงเป็นกระบวนการตามธรรมชาติของภาษาไทย ท่ีใช้ในการเรียนรู้ทาให้ผู้เรียน เข้าใจถึงหลักการ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และระเบียบวิธีการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กระบวนการเรียนรู้ เฉพาะดังกล่าวท่คี รูผสู้ อนควรนามาใช้ ได้แก่ 1. กระบวนการสือ่ ความ 2. ทกั ษะทางภาษาหรือกระบวนการทางภาษา 3. กระบวนการอา่ น 4. กระบวนการพูด 5. กระบวนการเขียน 6. กระบวนการดหู รอื พนิ จิ 7. กระบวนการคิดวเิ คราะหเ์ ชิงตรรกะ กระบวนการเรยี นรู้ดงั กล่าวเหลา่ นจ้ี ะเป็นเคร่ืองมือและวิธีการอันสาคัญ ของหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ในการปลูกฝังบุคลิกภาพ (Character) คุณลักษณะ อันพึงประสงคข์ องผู้เรยี นกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ใหเ้ กิดข้นึ ได้ คณุ ลกั ษณะสาคัญทีจ่ ะปรากฏ เช่น

1. มีความมน่ั ใจในการใช้ภาษา 2. มีเหตุผล 3. มีประสทิ ธภิ าพในการสื่อความ 4. มีวิจารณญาณในการใช้ภาษา 5. มคี วามสุนทรยี ภาพในการใช้ภาษา 6. ใช้ภาษาไทยด้วยความระมดั ระวังใหถ้ ูกตอ้ ง 7. มีความคิดสร้างสรรค์ในการประยุกต์ใช้ภาษาในชีวิตประจาวัน 8. รักและเหน็ คณุ คา่ ในการเรียนรู้ภาษไทย 9. มนี ิสัยรักการอา่ น การเขยี น 10. มมี ารยาทในการฟัง การพดู 11. ใช้ภาษาอย่างมคี ุณธรรม จริยธรรม และรับผดิ ชอบ 12. อนรุ ักษภ์ าษาในฐานะสมบตั ทิ างวัฒนธรรมฯลฯ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู้ท่ีมีความหมายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สถานศึกษาต้องมุ่ง ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนวปฏิรปู การเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เลือกใช้รูปแบบกระบวนการเรียนรู้การจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสม มีความหมาย พัฒนาความคิด ทักษะ ความสามารถ ความถนัดของผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ใช้เทคนิคการจัดการเรียน การสอนท่เี น้นกระบวนการเฉพาะกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยและกระบวนการอ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาคุณภาพด้านภาษาไทยของผู้เรียนให้ บรรลุจุดหมายของหลักสตู ร 2.3.1 หลกั การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 โดยทว่ั ไปจะดาเนินการเช่นเดยี วกบั กลมุ่ สาระอื่น ๆ ดงั น้ี 1. ประเมินและตดั สนิ ผลการเรยี นรูเ้ ป็นรายกลุ่ม กลุ่มสาระการเรยี นรู้/รายวิชาทเี่ พม่ิ เติม 2. ประเมนิ โดยยดึ ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั ของกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 3. ประเมินด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เนน้ การประเมินตามสภาพจรงิ 4. ตอ้ งมีการประเมินผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั ทุกข้อ 5. การผา่ นเกณฑก์ ารประเมินกล่มุ สาระการเรียนรู้ต้องมผี ลการประเมนิ ผล การเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ผา่ นเกณฑข์ ้นั ตา่ ทกุ ขอ้

6. จดั ซอ่ มเสรมิ ผู้เรียนทีไ่ ม่ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ และประเมนิ หลงั การซ่อมเสริม 7. ผูเ้ รยี นต้องเรยี นซ้าในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ทีท่ าการซอ่ มเสรมิ และไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน 2.3.2 หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรียนภาษาไทยมีเปา้ หมายสาคัญเพ่ือนาผลการประเมนิ ไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังที่กาหนดไว้ โดยนาผลการ ประเมินไปปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน นาไปปรับปรุงแก้ไขการจัดกระบวนการ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมท้ังนาผลไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสาเร็จของผู้เรียน การ ดาเนินการวัดและประเมินผลดังกล่าว สถานศึกษาต้องดาเนินการทั้งในระดับชั้นเรียนและในระดับ สถานศึกษา การท่ีจะดาเนินการวัดและประเมินผลภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพ ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพไปใช้ ตามวัตถุประสงค์ของการประเมนิ มหี ลักการทีส่ าคัญดงั น้ี (1) การประเมนิ ผลท่มี ปี ระสทิ ธิภาพตอ้ งสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของผูเ้ รียน ภาษาไทยเปน็ วิชาทกั ษะ ดังนัน้ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้จู งึ เน้นการพัฒนา ทักษะตามกระบวนการเรียนรู้และควบคู่ไปกับการวัดและประเมินผล ครูผู้สอนต้องประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนตง้ั แต่ตน้ จนจบการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรยี น โดยตรวจสอบความรเู้ ป็นระยะสม่าเสมอมิใชก่ าร วดั และประเมนิ ผลหลังจบการเรียนรู้ เพียงคร้ังเดียว การประเมินเพ่ือตรวจสอบความรู้พ้ืนฐานการประเมินระหว่างเรียนต้องประเมินหลาย ๆ คร้ัง หลายกิจกรรม และการประเมินเมื่อจบบทเรียน เพ่ือให้ได้ข้อมูลของผู้เรียนที่ถูกต้อง ชัดเจน แสดงถึง ก้าวหน้า จุดเด่น จุดด้อย ข้อบกพร่องที่ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริม ปรับปรุง พัฒนา และดาเนินการได้ ทันทว่ งที จะเปน็ การประเมิน ที่สามารถส่งเสริมการเรียนรู้แกผ่ เู้ รยี นไดเ้ ป็นอยา่ งดี (2) การประเมินผลต้องใชข้ อ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลทีห่ ลากหลาย การประเมนิ ท่ีนาข้อมูลจากแหล่งข้อมลู หลาย ๆ แหล่ง หรอื จากการวดั หลาย ๆ คร้ัง หลาย ๆ วิธี มาสังเคราะห์สรุป จะไดข้ อ้ มลู ทีส่ รุปได้ หรือเป็นสภาพจริงมากกว่าข้อมูลการประเมินจากแหลง่ เดียว เช่น การประเมินการอ่านออกเสียงของผู้เรียนจากการอ่านคร้ังเดียว จากบทอ่านบทเดียว ไม่อาจสรุปได้อย่าง แท้จรงิ ว่า ผู้เรียนมี ความสามารถในการอ่านออกเสียงในระดับใดจะต้องประเมิน หรอื สังเกตจากการ อ่านหลายครั้งจากการอ่านบทอ่านที่หลากหลายออกไป แล้วจึงนามาสรุปจึงจะเชื่อได้ว่า ผู้เรียนมี ความสามารถในระดับใด

(3) การประเมินต้องมีความเที่ยงตรง เชอ่ื ถอื ได้ และมคี วามเปน็ ธรรม เครื่องมือที่ใช้ประเมินผลการเรียนรู้มีความสาคัญที่จะทาให้ผลการเรียนรู้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ ครผู ู้สอนจึงต้องพยายามใชเ้ ครือ่ งมือท่ีมีคณุ ภาพ และใช้เคร่อื งมอื ให้ถูกต้องเหมาะสม เคร่ืองมือท่ีดีมีคุณสมบัติ คือ ความเที่ยงตรง และมีความเช่ือมั่นสูง ความเที่ยงตรง ของเครอื่ งมือเป็นผลเนอ่ื งมาจากการใช้เคร่ืองมือวดั ผลการเรยี นรู้ ท่ีสามารถวัดส่ิงที่ต้องการวัดได้อย่างตรงตามสภาพจริง เช่น ต้องการทราบระดับความสามารถในการพูด ของผู้เรียน ต้องใช้วิธีการสังเกตการณ์พูดของผู้เรียนตามสภาพจริง หากใช้เคร่ืองมือประเมินการพูดของ ผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเขียนตอบความรู้เกี่ยวกับการพูด ข้อเขียนดังกล่าวไม่สามรถสะท้อนความสามารถใน การพูดของผู้เรียนได้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น การออกเสียงตามอักขรวิธี บุคลิกภาพในการพูด ลีลาการพูด ฯลฯ การประเมินดังกล่าวย่อมขาดประสิทธิภาพในการประเมิน ในด้านความเช่ือมั่น หมายถึง ความ เชอ่ื ถือได้ของผลการประเมินที่ได้ เคร่อื งมือท่ีมคี วามเชื่อมั่นจะมี ผลการประเมนิ อยู่ในระดับคงท่ี ไม่ ว่าจะเป็นการประเมินท่ีผู้ประเมินคนเดียวหรือ หลายคน วิธีการท่ีจะทาให้ผลการประเมินมีความเช่ือถือ ได้มากขึ้น คือ การกาหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจนและเหมาะสม สาหรับความเป็นธรรมเป็นการเปิด โอกาส ให้ผู้เรียนทุกคนได้แสดงความสามารถได้เต็มที่ และเท่าเทียมกัน พร้อมท้ังการประเมินนั้น สอดคล้องกับส่ิงที่ผู้เรียนได้เรยี นรู้ เช่น ประเมินการเขียนกลอนสุภาพ ผ้เู รียนต้องผา่ นการเรียนรู้การเขียน กลอนสภุ าพมาแลว้ เป็นตน้ 2.3.3 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การวัดและประเมนิ ผลกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย จดั ไดเ้ ปน็ 3 ระดับ คือ 1) การวัดและประเมินผลระดับช้นั เรียน 2) การวดั และประเมนิ ผลระดบั สถานศกึ ษา 3) การวัดและประเมินผลระดับชาติ 1) การวดั และประเมินผลระดับชน้ั เรียน การวัดและประเมนิ ผลในระดบั น้ี เป็นการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนระหว่างเรียน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้าด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ ค่านยิ มอันพึงประสงคจ์ ากการร่วมกิจกรรมการเรยี นการสอน หรือกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนกจิ กรรมต่าง ๆ ผล จากการประเมินในระดับน้ี ผู้เก่ียวข้องสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนกระบวนการเรียนรู้และใช้ ประกอบในการตัดสิผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในดา้ นตา่ ง ๆ ของผู้เรียนประกอบด้วย

(1) การประเมนิ ก่อนเรียน เพือ่ ตรวจสอบขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรียนสาหรบั นาไปจัดเตรยี มกิจกรรม การเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับพน้ื ฐานและคุณลักษณะของผู้เรยี น มี 2 ลกั ษณะ คือ 1) การประเมนิ ความพรอ้ มพนื้ ฐานของผ้เู รียนเพื่อตรวจสอบ ความรู้ทักษะความพร้อมต่าง ๆ ที่เป็นพื้นฐานของเร่ืองใหม่ที่จะเรียน โดยใช้วิธที ี่เหมาะสม และนาผลมาใช้ ปรับปรุง ส่งเสรมิ หรือเตรยี มตัวผเู้ รยี นใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะเรียน มีแนวดาเนนิ การดงั นี้ 1) วเิ คราะห์ความรู้ ทักษะ และพนื้ ฐานของเร่อื งท่ีจะเรยี น 2) เลอื กวธิ ีการ/จัดทาเคร่ืองมือประเมนิ ทเ่ี หมาะสม มปี ระสิทธิภาพ 3) ดาเนินการประเมนิ ความรแู้ ละทกั ษะของผเู้ รียน 4) นาผลการประเมินไปใช้ตามวตั ถุประสงค์ 2) การประเมนิ ความรอบรใู้ นเร่อื งทจ่ี ะประเมิน เพ่อื ตรวจสอบ ว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะในเรื่องท่ีจะเรียนมากน้อยเพียงใดสาหรับใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น ในการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี นแต่ละคน มีแนวปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1) วิเคราะหค์ วามรู้ ทกั ษะของเร่ืองทีผ่ ้เู รยี นต้องร้หู รอื ที่จะสอน 2) เลอื กวธิ ีการ/เครอื่ งมือประเมิน 3) ประเมนิ ผ้เู รยี นดว้ ยวิธีการและเครือ่ งมือท่ีกาหนดก่อน จัดการเรยี นรู้ (2) การประเมนิ ระหวา่ งเรียน เปน็ การประเมินเพ่ือมงุ่ ตรวจสอบพัฒนาการของผ้เู รียนวา่ บรรลุ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน การจัดการ เรียนรู้รวมทัง้ อาจนาไปใช้เป็นสว่ นหนง่ึ ของการสรุปผล การเรียนรู้ แนวทางการปฏิบตั ใิ นการประเมนิ ระหว่างเรยี นอาจดาเนนิ การ ดงั น้ี 1) วางแผนการสอนและการประเมินระหว่างเรียนให้สอดคล้อง แผนการจัดการ เรยี นรคู้ วรระบภุ าระงานทจ่ี ะทาใหผ้ ู้เรียนบรรลผุ ลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั

2) เลอื กวธิ ีประเมินทีส่ อดคล้องกับภาระงาน หรือกิจกรรมหลัก ท่ีกาหนดใหผ้ ู้เรียนปฏบิ ัติ วิธีการท่ีเหมาะสมในการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากสิง่ ท่ผี ู้เรียน ได้แสดงให้เห็นวา่ มีความรู้ ทกั ษะ และความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อันผลจากการเรียนรู้ตามท่ีจัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ วิธีการท่ีสามารถ เลอื กใชไ้ ด้ เช่น การประเมนิ จากการส่อื สารส่วนบุคคล โดยการสนทนาเพ่ือประเมินความรู้ การอ่านบันทึก เหตุการณ์ของผู้เรียน การประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินจากกิจกรรมหรืองานท่ีมอบหมายให้ปฏิบัติ ซึง่ จะต้องกาหนดภาระงานและเกณฑ์ให้คะแนน (Rubrics) อยา่ งชดั เจน การประเมินจากสภาพจริง การประเมนิ โดยแฟ้มสะสมงาน เปน็ ตน้ 1) กาหนดสัดสว่ นการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นกบั การประเมินผล ปลายภาคเรียนหรือปลายภาค โดยควรกาหนดให้นาหลักสาคัญการประเมิน ระหว่างเรยี นมากกว่าปลายปี หรอื ปลายภาค เนื่องจากการประเมินระหว่างเรียนสามารถ นาผลมาพัฒนา ปรับปรงุ แก้ไขในการจัดการ เรยี นรูใ้ ห้กบั ผู้เรียนไดท้ ันท่วงที และต้องนาผลระหว่างเรียนไปใช้ในการตัดสินผลปลายปดี ้วย ทั้งน้ีจะเปน็ ไป ตามระเบยี บสถานศกึ ษาเป็นผูก้ าหนด 4) จดั ทาเอกสารบันทึกข้อมูลการประเมนิ หรือสารสนเทศ ของผ้เู รียนระหว่างเรียนเป็น ระบบชัดเจน เพ่ือเป็นแหล่งข้อมูลในการปรับปรุง ส่งเสริมผู้เรียน และใช้เป็นหลักฐานในการส่ือสาร ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ของผู้เรียน (3) การประเมนิ สรุปผลการเรียนหลงั เรียน การประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินผู้เรียนเมื่อจบ เรื่องท่ีเรียน เพื่อตรวจสอบว่า ผู้เรียนเกิดจากการเรียนรู้ตามผลการเรียนทค่ี าดหวังหรอื ไม่นาไปเปรียบเทียบกบั การประเมนิ ก่อนเรยี น เป็น การศกึ ษาพฒั นาการหรือความก้าวหน้าของผ้เู รยี น แล้วนามาแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาโดยเฉพาะอย่างย่ิง ในแนวทางของการจดั ทาวิจัยในชัน้ เรยี น แนวปฏิบตั ิในการประเมินผล หลังเรียนอาจดาเนนิ การไดด้ ังน้ี 1) วางแผนการประเมนิ โดยกาหนดเป้าหมายในการตรวจสอบ วธิ ีการ และเครื่องมือทจ่ี ะ ใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกับแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และ การประเมนิ ก่อนเรียน 2) ประเมินผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ และนาข้อมูลไปใช้ ในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา ผู้เรียนให้บรรลผุ ลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง หรอื จุดประสงค์ ของการเรียน 3) ปรบั ปรุง แก้ไขวิธีเรยี นของผู้เรียนใหม้ ีประสทิ ธิภาพยิ่งขึน้ 4) ปรับปรุง แกไ้ ข และพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 2) การวัดและประเมนิ ผลระดบั สถานศึกษา

การประเมินผลการเรียนรู้ในระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบ ความก้าวหน้าของผู้เรียนเป็นรายปีและรายช่วงชั้น สถานศึกษาจะนาข้อมูลจาการประเมินไปใช้ในการ ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และนาไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนรู้ รายกลุ่มสาระ และตัดสินการเลื่อนช่วงช้นั ของผู้เรียน การดาเนินการประเมินผลระดับสถานศึกษาในกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มแี นวปฏิบตั ดิ ังน้ี (1) กาหนดผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวังรายปีของกลมุ่ สาระ การเรยี นรตู้ ามหลัดสตู รสถานศึกษาใหช้ ัดเจน (2) กาหนดเกณฑ์สาหรับตัดสินประเมินการผ่านผลการเรียนรู้ ท่ีคาดหวังเป็น รายข้อโดยเน้นเกณฑเ์ ชิงคุณภาพ (3) กาหนดเกณฑ์การประเมินให้ระดับผลการเรียนรู้ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ รายปี (4) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างเรียน (การประเมินระดับชั้นเรียน) เพื่อสะสม ผลการเรียน ส่วนหนึง่ สาหรับประกอบการสรปุ ผลประเมินผลในระดบั สถานศึกษา (5) ประเมนิ ผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นร้รู ายปเี ม่ือสน้ิ ปี (6) ประเมินสรุปตัดสินผลการเรียนรู้รายปี และการผ่านช่วงช้ันตามเกณฑ์ที่ กาหนด 3) การวัดและประเมินผลระดบั ชาติ การประเมนิ ผลระดบั ชาติ เป็นการประเมินคุณภาพ ทางการศึกษาในระดบั ชาติของผเู้ รียนทกุ คนในปีสุดทา้ ยของแตล่ ะช่วงชั้น คอื ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิการจะกาหนดให้มีการประเมินในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆตามความจาเป็น เป็นรายปี ข้อมูลจาการประเมินจะนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา และคุณภาพการศึกษาในระดับชาติ สาหรับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ เปน็ เครอ่ื งมือในการเรียนรู้ มีความจาเป็นท่ีผูเ้ รียนตอ้ งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะทางภาษา จึง เป็น กลุ่มสาระพ้ืนฐานท่ีจะได้รับการประเมิน ทุกปี สาหรับแนวปฏิบัติในการประเมินดังน้ี สถานศึกษา ต้องจัดให้ผู้เรียนเข้ารับการประเมินและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถในการประเมินอย่างเต็ม ศกั ยภาพ เพอ่ื จะได้ขอ้ มูลทางคุณภาพท่ีเป็นจรงิ และเป็นประโยชนอ์ ย่างแทจ้ ริง

2.4 การจดั การเรียนรูต้ ามแนวปฏิรปู การศกึ ษาท่เี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ การจัดการเรยี นรู้ตามแนวปฏิรูปการศกึ ษาท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ นกั การศึกษาไทย มแี นวคิดเกยี่ วกับการจดั ประสบการณเ์ รยี นร้ทู เี่ นน้ ผเู้ รียน ปน็ สาคญั ไวด้ งั น้ี ดร.สงบ ลักษณะ กล่าวถึงการจัดการเรียนการสอนที่ควรจะเปน็ ไว้วา่ ควรเป็นการเรยี นการสอน ทีน่ ักเรียนได้รับการยอมรับนบั ถอื ในการเป็นเอกตั บคุ คล ไดเ้ รียนวธิ ีทีเ่ หมาะสมกับความสามารถ ได้เรยี นสิ่ง ท่ีตนสนใจ ต้องการมีประโยชน์ ได้ปฏิบัติตาม กระบวนการเพื่อการเรียนรู้ ได้รับการเอาใจใส่ ประเมิน และชว่ ยเหลอื เปน็ รายบุคคล และไดร้ ับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และสาเรจ็ ตามอตั ภาพ ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์ อธิบายไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร หมายถึงกระบวรการ ใด ๆ ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ เช่นกระบวนการกลุ่มทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กระบวนการ สรา้ งความตระหนกั กระบวนการสร้างเจตคติ ฯลฯ การจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีหลักการและแนวคิด ข้อดี แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อจัดประสบการณ์เรียนรู้ท่ีเน้น ผเู้ รยี นเป็นสาคญั 2.4.1 หลักการและแนวคดิ ในการจัดประสบการณ์เรียนร้ทู ี่เน้นผเู้ รียน เป็นสาคัญ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2541) : 50 – 52 ได้กล่าวว่า จากปรัชญาการศึกษาท่ีเน้นความสาคัญ ของผู้เรียน จนถึงทฤษฎีการเรียนรกู้ ลุ่มหลัก ๆ และทฤษฎีการเรียนรู้ที่ประยุกต์สู่การจัดการเรียนการสอน ท่ีเสนอข้างต้นจะเห็นได้ว่า แนวคิด การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ได้ พัฒนาอย่างต่อเนื่องยาวนาน และม่ันคง จนเป็นภาพท่ีเด่นชัดในปัจจุบันว่า แนวทางนี้เป็นยุทธศาสตร์หลัก ท่ีจะนาพาการจัดการศึกษาไปสู่เป้าหมาย น่ัน คือ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะเฉพาะที่เหมาะสม สาหรบั การเปน็ ประชากรยุคโลกาภวิ ตั น์ 2.4.2 หลกั การเรียนรทู้ ีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นศนู ย์กลางของการเรยี น (1) การเรียนเป็นกระบวนการท่ีควรเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวา ดังนั้นผู้เรียนจึงควรมีบทบาท รบั ผดิ ชอบต่อการเรยี นรขู้ องตน และมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี น การสอน (2) การเรียนรเู้ กดิ ข้นึ ไดจ้ ากแหล่งต่าง ๆ กัน มิใช่จากแหลง่ ใดแหล่งหนงึ่ เพียง แหล่งเดียว ประสบการณ์ความรสู้ กึ นึกคิดของแต่ละบุคคล ถอื ว่าเป็นแหล่งการเรียนรู้ ที่สาคญั (3) การเรยี นรทู้ ่ดี ตี ้องเปน็ การเรยี นรู้ท่ีเกิดจากความเข้าใจ จึงจะช่วยให้ ผู้เรียนจดจาและสามารถใช้การเรียนรู้นั้นให้เป็นประโยชน์ได้ การเรียนรู้ท่ีผู้เรียน เป็นผู้ค้นพบด้วยตนเอง น้ัน มีส่วนทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจลกึ ซ้ึงและจดจาได้ดี

(4) การเรยี นรกู้ ระบวนการเรียนรู้น้นั มคี วามสาคญั หากผ้เู รียนเขา้ ใจ และมีทักษะในเรื่องน้ีแล้ว จะสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ และคาตอบต่างๆ ที่ตน ตอ้ งการ (5) การเรียนรูท้ ม่ี คี วามหมายแก่ผเู้ รียน คอื การเรียนรู้ทสี่ ามารถ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั 2.4.3 ข้อดีของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ในการจัดประสบการณ์ หรือกจิ กรรมการเรยี นรู้ หากครผู สู้ อนหรอื ผทู้ ี่เกยี่ วข้องยดึ หลักการแนวคิดดงั ทไ่ี ด้กล่าวมา การเรียนรู้ของผ้เู รียนจะเปน็ ไปอยา่ ง มปี ระสิทธิภาพผลเน่อื งจาก (1) ผเู้ รียนมีโอกาสพัฒนาศกั ยภาพของตน เพราะผ้เู รยี นแต่ละคน ตา่ งก็มคี วามคิด ความเห็น ประสบการณ์ และความชานาญด้านต่าง ๆ ติดตวั มาด้วยกันทุกคน จะมากน้อย ต่างกัน การท่ีผู้เรียนได้มีโอกาสร่วมแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น แลกเปล่ียนประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน จะเปน็ สิ่งสาคญั ต่อพวกเขามาก (2) ผู้เรียนมโี อกาสไดใ้ ชป้ ระสบการณท์ ีเ่ รยี นมากอ่ นแล้ว เพราะ การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นศูนยก์ ลางน้นั กจิ กรรมท่จี ดั ในลักษณะปลายเปดิ จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบในการเติมรายละเอียดลงไป ดังนั้น กรอบแนวคิดอันเดียวกัน อาจจะมีรายละเอียดแตกตา่ งหลากหลายวิธี เม่ือผ้คู ิดอยตู่ ่างกลุ่มกนั ทาให้ค้นพบสงิ่ ใหม่ ๆ ขึ้นอกี ได้ (3) ผ้เู รียนใหค้ วามสนใจในบทเรยี นมากข้นึ เพราะผเู้ รียนจะต้อง ปฏบิ ัติกจิ กรรมท่คี รูมอบหมายและสนใจอยากจะรวู้ ่าตนจะต้องทาอะไรบา้ ง เพราะไมร่ ตู้ ัวล่วงหน้ามาก่อน (4) ด้านเน้ือหาวิชาหรอื ประสบการณต์ ่างกัน ดงั นน้ั ในขณะรว่ มทา กิจกรรมด้วยกัน ผู้เรียนแต่ละคนจะต้องตั้งใจฟังว่าเพื่อนพูดว่าอะไร สามารถช่วยสอนหรือแลกเปลี่ยน ความรู้กันได้ ในด้านการทางานร่วมกนั ผเู้ รียนสามารถดึงความรตู้ ่าง ๆ ทม่ี ีอยู่มารวมกนั ได้ (5) ผู้เรียนมีความสามัคคกี นั ในกลมุ่ เพราะในการทางานรวมกลุ่มกนั ทกุ คนจะต้องชว่ ยกนั ทาเพือ่ ให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย ดังน้ันผเู้ รยี นจะต้องชว่ ยกันทาไม่ใช่แขง่ ขันกนั 2.4.4 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั วัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (2542 : 91-92) ได้กล่าวถงึ การจัดกจิ กรรม การเรยี นการสอนไวด้ ังน้ี กิจกรรมการเรียนการสอน คือ สภาพการเรียนท่ีกาหนดเพ่ือนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายหรือ จุดประสงค์การเรียนการสอนที่กาหนดการออกแบบกจิ กรรม

การเรียนการสอนท่เี หมาะสม สอดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา และสภาพแวดล้อม การเรียนรู้ ด้านตา่ ง ๆ จึงเป็นความสามารถและทักษะของครูมืออาชีพ ในการจัดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธผิ ล 2.4.5 กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หรือเป็นศูนย์กลาง คือ กิจกรรมท่ีมี ลักษณะดงั น้ี 1) ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนไดค้ ้นพบและสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง (Construct) โดยคน้ ควา้ หาความรจู้ ากแหล่งตา่ ง ๆ ทาความเข้าใจ และสรา้ งความของสาระขอ้ ความรู้ให้แก่ตนเอง ค้นพบ ขอ้ ความรูด้ ้วยตนเอง 2) ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นได้คดิ ทา และแสดงออก (Performance) เพือ่ แกป้ ญั หาหรือสรา้ งผลงาน 3) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนหรือกลุ่ม (Interaction) ได้เรียนรู้จากกัน แลกเปล่ียนข้อมลู ความรู้ ความคดิ และประสบการณแ์ กก่ ันและกันใหม้ ากที่สดุ เท่าทีจ่ ะทาได้ 4) ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนรูแ้ ละปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีข้นั ตอนหรอื เปน็ กระบวนการ (Process) 5) ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนมีผลงานจากการปฏิบัติ (Product) 6) ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในการประเมินตนเองและเพือ่ น (Assessment) 7) สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดน้ าความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ (Application) 2.5 การสร้างแบบฝึกทักษะ การสร้างแบบฝึกทักษะส่งิ ควรทราบคือ ความหมายและความสาคัญของแบบฝึก ลักษณะของแบบ ฝกึ ที่ดี จุดประสงค์การเรยี นรู้กับการสร้างแบบฝึก สว่ นประกอบของแบบฝึก รูปแบบข้นั ตอนการสร้างและ ประโยชนข์ องแบบฝึกทกั ษะ 2.5.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝึก แบบฝึก หรือแบบฝึกหัด หรือแบบฝึกเสริมทักษะ เป็นส่ือการเรียนประเภทหนึ่งสาหรับให้ นักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเพ่ิมขึ้น ส่วนใหญ่หนังสือเรียนจะมีแบบฝึกหัด อย่ทู ้ายบทเรยี น ในบางวชิ าแบบฝกึ หัด จะมลี กั ษณะเปน็ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ (สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ. 2537 ) ขจรี ัตน์ หงษ์ประสงค์ (2534) กล่าวว่า แบบฝึกเป็นอุปกรณ์การเรียนการสอนอยา่ งหน่ึง ที่ครูใช้ฝึกทักษะ หลังจากท่ีนักเรียนได้เรียนเนื้อหาจากแบบเรียนแล้ว โดยสร้างข้ึนเพ่ือเสริมทักษะให้แก่

นกั เรียน มีลักษณะเป็นแบบฝกึ หัดท่ีมีกิจกรรมให้นักเรียนกระทา โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาความสามารถ ของนักเรยี น ศศิธร สุทธแิ พทย์ (2517) กลา่ ววา่ แบบฝกึ หดั เป็นสงิ่ จาเป็นอยา่ งยิ่ง ครูต้องให้แบบฝึกหัดท่ีเหมาะสม เพ่ือฝึกหลังจากท่ีได้เรียนเน้ือหาจากแบบเรียนไปแล้ว ให้มีความรู้ กว้างขวาง จึงถือว่าแบบฝึกหัดเป็นอุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างหนึ่ง ซึ่งครูสามารถนาไปใช้ประกอบ กจิ กรรมการสอนไดเ้ ปน็ อย่างดี ช่วยใหก้ ารเรยี นการสอนของครปู ระสบผลสาเรจ็ วรสุดา บุญยไวโรจน์ (2536) กล่าวว่า แบบฝึกหัด เป็นส่ือการสอนที่จัดทาขึ้นเพ่ือให้ ผู้เรียนได้ศึกษา ทาความเข้าใจ ฝึกฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้อง และเกิดทักษะในเร่ืองใดเร่ือ งหน่ึง นอกจากนั้นแบบฝึกหัดยังเป็นเครื่องช่วยบ่งชี้ให้ครูทราบว่าผู้เรียนหรือผู้ใช้แบบฝึกหัดมีความรู้ ความเข้าใจ ในบทเรยี นและสามารถนาความรู้น้ัน ไปใชไ้ ดม้ ากน้อยเพียงใด ผเู้ รียนมีจุดเด่นท่คี วรส่งเสริมหรือมจี ุดด้อย ที่ควรปรับปรุงแก้ไข ตรงไหน อย่างไร แบบฝึกหัดจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีครูทุกคนใช้ในการตรวจสอบ ความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะของนักเรียนในวิชาต่าง ๆ สงบ ลักษณะ (2536) กล่าวว่า ชดุ แบบ ฝึกเปน็ สื่อใช้ฝึกทักษะการคิด การวเิ คราะห์ การแก้ปัญหา และการปฏิบัติของนักเรียน นิยมใชใ้ นกลุ่มทักษะ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานและพน้ื ฐานอาชีพ จากความเห็นของนกั วชิ าการดังกล่าว ดังน้นั แบบฝกึ จงึ มคี วามสาคญั ต่อผู้เรียน ไมน่ อ้ ย ในการทีจ่ ะ ช่วยเสริมสร้างทักษะให้กับผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจได้เร็วข้ึน ชัดเจนขึ้น กว้างขวางขึ้น ทาให้การ สอนของครู และการเรยี นของนักเรยี นประสบ-ผลสาเรจ็ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.5.2 ลักษณะของแบบฝกึ ท่ดี ี มผี ู้กลา่ วถึงลกั ษณะของแบบฝกึ ท่ีดี ดงั น้ี นิตยา ฤทธิโยธี (2520) กล่าวว่า ลกั ษณะของแบบฝกึ ทดี่ ี ควรประกอบดว้ ย 1) เก่ียวขอ้ งกับเรือ่ งที่เรยี นมาแล้ว 2) เหมาะสมกับระดบั วัย หรือความสามารถของนกั เรียน 3) มคี าช้ีแจงส้นั ๆ ท่ีชว่ ยใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวิธที าใหง้ ่าย 4) ใชเ้ วลาทีเ่ หมาะสม 5) เปน็ ส่ิงทีน่ า่ สนใจและทา้ ทายให้แสดงความสามารถ ศศธิ ร สุทธิแพทย์ (2517) ได้กล่าวถึงลักษณะของแบบฝกึ ไว้ ดังน้ี 1) ใชห้ ลกั จติ วิทยา 2) สานวนภาษาไทย 3) ใหค้ วามหมายต่อชีวติ

4) คิดไดเ้ รว็ และสนกุ 5) ปลุกความสนใจ 6) เหมาะสมกบั วัยและความสามารถ 7) อาจศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเอง การสรา้ งแบบฝึกทกั ษะส่งิ ควรทราบคอื จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้กบั การสร้าง แบบฝกึ ส่วนประกอบของแบบฝึก รปู แบบและขัน้ ตอนการสร้าง 2.5.3 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรกู้ ับการสร้างแบบฝกึ การสร้างแบบฝึกต้องยึดจุดประสงค์ของการเรียนรู้เป็นลาดับ เพราะจุดประสงค์การเรียน คือ เป้าหมายสดุ ท้ายที่ตอ้ งการให้ผเู้ รียนได้หรือเป็น ดังนนั้ การนาจดุ ประสงค์มาเปน็ เครื่องนาทาง จึงเป็นสิ่ง ทถี่ กู ต้อง หากจะกล่าวถึงการแบ่งชนดิ ของจุดประสงคท์ างการเรยี น สามารถ แบ่งไดต้ ามลักษณะของพฤติกรรม คอื (1) พฤตกิ รรมทางด้านพทุ ธิพสิ ยั (2) พฤติกรรมทางด้านจติ พสิ ยั (3) พฤติกรรมทางดา้ นทักษะพสิ ัย การใช้คาสั่งในแบบฝึก จึงควรคานึงถึงพฤติกรรมท่ีจะนาไปสู่จุดประสงค์ในแต่ละด้านด้วย จึงขอนาพฤติกรรมซึ่งเป็นคากริยาท่ีบ่งถึงการกระทาอันจะนาไปสู่จุดประสงค์ในแต่ละด้าน เสนอไว้เพื่อ นาไปใช้ประกอบในการสร้างแบบฝกึ (1) พฤตกิ รรมด้านพุทธิพิสัย วิชัย วงษใ์ หญ่ (2537) ได้กล่าวว่า เป็นกิจกรรมทางสมอง ซึ่ง บลูม (Bloom) และคณะได้จาแนกไว้ 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ีต่าสุดถึง สงู สดุ คากริยาทส่ี ามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นระดับตา่ ง ๆ ของการกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นทางด้านความรู้ มีดังนี้ 1) ความรูค้ วามจา 2) ความเขา้ ใจ 3) การประยุกตใ์ ช้ 4) การวเิ คราะห์ 5) กาสงั เคราะห์ 6) การประเมนิ คา่

(2) พฤติกรรมทางด้านจิตพิสัย เป็นเรื่องเกี่ยวกับทัศนคติ ความสนใจคุณค่าการพัฒนา ความซาบซ้ึงและการปรับปรุงตัว การเขียนจุดประสงค์การเรียนทางด้านเจตคติ เพ่ือให้สามารถสังเกตและ วัดได้อย่างชัดเจน เปน็ ส่งิ ท่ที าได้ค่อนข้างยาก เพราะพฤติกรรมบางอยา่ งของด้านนี้มคี วามซับซ้อนคลุมเครือ ที่จะแสดงออกมาให้สังเกตและวัดได้อย่างตรงกัน แต่อย่างไรก็ตาม จุดประสงค์การเรียนด้านจิตพิสัยนี้ ก็ สามารถจะวัดและสังเกตได้โดยวิธีการโน้มน้าว (approach tendercies) ซ่ึงหมายถึง การแสดงจิตพิสัย ต่อสิ่งใดส่ิงหนึ่ง หรือในสถานการณ์ใดสถานการณ์หน่ึง คากริยาต่างๆ ซ่ึงสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ ระบจุ ดุ ประสงค์การเรยี นรู้ มดี งั น้ี 1) การรบั รู้ 2) การตอบสนอง 3) การเกิดคุณคา่ 4) การจัดระบบคุณคา่ หรอื รวบรวมพนิ จิ 5) การประเมนิ คุณค่า (3) พฤตกิ รรมทางดา้ นทักษะพิสยั เป็นเร่อื งเก่ียวกับกจิ กรรม ทางกล้ามเน้ือ และระบบประสาทกล้ามเน้อื ซ่ึงฟรสี แมน (Fleishman) ได้วิเคราะห์องค์ประกอบเกี่ยวกับ ความสามารถในการใช้กล้ามเนอื้ สรปุ ไดอ้ งค์ประกอบ 11 ประการ คอื 1) ความสามารถในการใชก้ ลา้ มเนอื้ ส่วนเล็กในการทางาน เปน็ ความสามารถในการกระทาสงิ่ ของที่เล็กละเอียด โดยการใช้กล้ามเน้อื ทล่ี ะเอยี ด ทางมอื และเทา้ ทาการควบคุมเคลื่อนไหวและทาได้อยา่ งรวดเรว็ 2) ความสามารถในการประสานระหวา่ งกลา้ มเน้ือใหญก่ ับกลา้ มเนื้อเลก็ 3) ความสามารถในการตอบสนองต่อส่ิงเร้าได้อย่างถูกต้อง คือรู้จักเลือกปฏิบัติ หรือกระทาได้ อย่างตรงตอ่ ภาวะนั้น ๆ 4) สามารถตอบสนองส่งิ เรา้ ท่ีปรากฏได้รวดเร็วทนั ที 5) ความสามารถในการเคลื่อนไหวแขนไดร้ วดเรว็ ทันที 6) ความสามารถในการควบคุมอัตราการทางานของกล้ามเนื้อได้ถูกต้อง รวดเร็วทุกขณะท่ี เปล่ยี นไป 7) ความสามารถในการควบคุมการเคลอ่ื นไหวของมือและแขนให้สามารถทางานได้อยา่ งมีทักษะ 8) ความสามารถในการควบคุมการทางานของนิว้ มอื ให้ทางานไดอ้ ย่างมที ักษะ 9) ความสามารถท่ีใชม้ ือและแขนได้อย่างแน่นอนแมน่ ยา เทีย่ งตรง 10) ความสามารถในการหมุนขอ้ มือไดอ้ ย่างรวดเร็ว 11) ความสามารถในการคาดคะเนได้อยา่ งตรงเป้าหมาย

2.5.4 ส่วนประกอบของแบบฝกึ 1) ค่มู ือการใชแ้ บบฝึก เป็นเอกสารสาคัญประกอบการใชแ้ บบฝึกว่า ใช้เพื่ออะไร และมีวิธีการใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่อมเสริม ควรประกอบด้วย - ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบุว่าในแบบฝึกชุดนี้ มีแบบฝึกท้ังหมดกี่ชุด อะไรบ้าง และมีสว่ นประกอบอนื่ ๆ หรอื ไม่ เช่น แบบทดสอบ หรือแบบบนั ทึกผลการประเมนิ - สิ่งที่ครูหรือนักเรียนต้องเตรียม (ถ้ามี) จะเป็นการบอกให้ครูหรือนักเรียนเตรียมตัวให้ พรอ้ มล่วงหน้าก่อนเรียน - จดุ ประสงคใ์ นการใชแ้ บบฝกึ - ข้ันตอนในการใช้ บอกข้ันตอนตามลาดับการใช้ และอาจเขียนในรูปของแนวการสอน หรอื แผนการสอน จะชดั เจนยง่ิ ข้ึน - เฉลยแบบฝึกในแต่ละชุด 2) แบบฝกึ เป็นส่อื ทีส่ ร้างข้ึนเพ่อื ให้ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะ เพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรทู้ ถ่ี าวร ควรมอี งคป์ ระกอบดังน้ี - ช่ือชุดฝึกในแตล่ ะชุดยอ่ ย - จุดประสงค์ - คาสง่ั - ตวั อย่าง - ชุดฝกึ - ภาพประกอบ - ข้อทดสอบก่อนและหลังเรยี น - แบบประเมินบนั ทึกผลการใช้ 2.5.5 รูปแบบของการสรา้ งแบบฝึก การสร้างแบบฝึก รูปแบบก็เป็นสิ่งสาคัญในการท่ีจะจูงใจให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ แบบ ฝึกจึงควรมีรปู แบบท่ีหลากหลาย มิใช่ใช้แบบเดียวจะเกิดความจาเจ น่าเบอื่ หน่ายไม่ท้าทายใหอ้ ยากรู้อยาก ลอง จึงขอเสนอรูปแบบของแบบฝึกที่เป็นหลักใหญ่ไว้ก่อน ส่วนผู้สร้างจะนาไปประยุกต์ใช้ปรับเปล่ียน รูปแบบอืน่ ๆ ก็แล้วแต่เทคนคิ ของแต่ละคน ซ่งึ จะเรียงลาดบั จากง่ายไปหายาก ดงั นี้

1) แบบถูกผดิ 2) แบบจับคู่ 3) แบบเติมคาหรือขอ้ ความ 4) แบบหลายตวั เลอื ก 2.5.6 ข้นั ตอนการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ 1) ศึกษาปัญหาและความต้องการ โดยศึกษาจากการผ่านจุดประสงค์ การเรียนรู้และ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน หากเป็นไปได้ ควรศึกษาความตอ่ เนื่อง ของปัญหาในทุกระดบั ช้ัน 2) วิเคราะห์เน้ือหาหรือทักษะท่ีเป็นปัญหา ออกเป็นเน้ือหาหรือทักษะย่อย ๆ เพ่ือใช้ใน การสร้างแบบทดสอบและแบบฝกึ หัด 3) พจิ ารณาวัตถปุ ระสงค์ รปู แบบ และข้ันตอนการใช้แบบฝกึ เชน่ จะนาแบบฝกึ ไปใช้อยา่ งไร ในแตล่ ะชดุ จะประกอบไปดว้ ยอะไรบ้าง 4) สรา้ งแบบทดสอบ ซ่ึงอาจมแี บบทดสอบเชิงสารวจ แบบทดสอบ เพ่ือวินิจฉัยข้อบกพร่อง แบบทดสอบความก้าวหน้าเฉพาะเร่ือง เฉพาะตอนแบบทดสอบท่ีสร้างจะต้อง สอดคล้องกับเนื้อหาหรอื ทกั ษะท่ีวเิ คราะห์ไว้ใน ข้อท่ี 2 5) สร้างแบบฝึกหัด เพ่ือใช้พัฒนาทักษะย่อยแต่ละทักษะ แต่ละบัตรจะมีคาถามย่อยให้ นักเรยี น การกาหนดรปู แบบ ขนาดของบัตร พจิ ารณาตามความเหมาะสม 6) สร้างแบบอ้างอิง เพ่ือใช้อธิบายคาตอบหรอื แนวทางการตอบแต่ละเรื่อง การสร้างบัตร อ้างอิงน้ี อาจทาเพมิ่ เตมิ เมอื่ ได้นาบตั รฝกึ หัดไปทดลองใช้แลว้ 7) สรา้ งแบบบันทึกความกา้ วหน้า เพ่ือใชบ้ ันทกึ ผลการทดสอบหรือ ผลการเรียน โดยจัดทาเป็นตอน เป็นเรื่อง เพ่ือให้เห็นความเจริญก้าวหน้าเป็นระยะ ๆ สอดคล้องกับ แบบทดสอบความกา้ วหน้า 8) นาแบบฝึกไปทดลองใช้ เพ่ือหาข้อบกพร่องคุณภาพแบบฝึก และคุณภาพของ แบบทดสอบ 9) ปรับปรุงแก้ไข 10) รวบรวมเป็นชดุ จัดทาคาชแี้ จง คมู่ ือการใช้ และสารบัญเพ่ือใชป้ ระโยชน์ต่อไป ข้ันตอนการสร้างแบบฝึก จะคล้ายคลึงกับการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทอ่ืน ๆ ซึ่งมี รายละเอียด ดังน้ี

1) วเิ คราะหป์ ญั หาและสาเหตจุ ากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เช่น - ปญั หาทเี่ กิดข้นึ ในขณะทาการสอน - ปญั หาการผ่านจุดประสงคข์ องนักเรียน - ผลจากการสังเกตพฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงค์ - ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 2) ศึกษารายละเอยี ดในหลักสตู ร เพอ่ื วิเคราะห์เนอ้ื หา จุดประสงค์ แตล่ ะกิจกรรม 3) พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือกเน้ือหา ในส่วนที่จะสร้างแบบฝกึ น้นั ว่าจะทาเรอ่ื งใดบ้าง กาหนดเปน็ โครงเรอ่ื งไว้ 4) ศึกษารูปแบบของการสรา้ งแบบฝกึ จากเอกสารตัวอย่าง 5) ออกแบบชดุ ฝกึ แต่ละชดุ ให้มรี ปู แบบทหี่ ลากหลาย น่าสนใจ 6) ลงมือสร้างแบบฝกึ ในแต่ละชุด พร้อมทั้งขอ้ ทดสอบก่อนและหลังเรียนให้สอดคล้องกับ เน้ือหา และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 7) ส่งใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ 8) ทาไปทดลองใช้ แลว้ บนั ทกึ ผลเพือ่ นามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขสว่ นทีบ่ กพร่อง 9) ปรบั ปรุงจนมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ทตี่ ง้ั ไว้ 10) นาไปใช้จริงและเผยแพรต่ ่อไป 2.5.7 ประโยชนข์ องแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (2537) ได้กล่าวถงึ ประโยชน์ของแบบ ฝกึ เสริมทักษะ ดงั นี้ 1) เป็นส่วนเพมิ่ เติม หรือเสรมิ หนังสือเรียน 2) ช่วยเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีข้ึน แต่ท้ังน้ีจะต้องอาศัยการส่งเสริมและความเอาใจ ใส่จากครูผู้สอนดว้ ย 3) ช่วยในเรือ่ งความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพราะการท่ีให้นักเรยี น ทาแบบฝกึ หัดที่เหมะสมกับความสามารถของเขาจะช่วยให้นกั เรียนประสบความสาเรจ็ 4) แบบฝกึ ช่วยเสรมิ ทักษะทางภาษาคงทน 5) การให้นักเรียนทาแบบฝึก ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือจุดบกพร่องของนักเรียนได้ ชัดเจน ซ่ึงจะช่วยใหค้ รดู าเนินการปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหานน้ั ๆ ไดท้ ันท่วงที

6) แบบฝึกท่ีจัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้ครปู ระหยัดแรงงาน และเวลาในการที่จะ เตรียมการสร้างแบบฝึก นักเรียนไม่ต้องเสียเวลาในการคดั ลอกแบบฝึก ทาให้มีเวลาและโอกาสได้ฝึกฝนมาก ขน้ึ อดลุ ย์ ภูปล้ืม (2539) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ ดงั นี้ 1) ชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเขา้ ใจบทเรยี นไดด้ ขี ้นึ 2) ช่วยใหจ้ ดจาเน้อื หา และคาศพั ท์ตา่ ง ๆ ไดค้ งทน 3) ทาให้เกิดความสนกุ สนานในขณะเรยี น 4) ทาให้ทราบความก้าวหน้าของตนเอง 5) สามารถนาแบบฝึกหัดมาทบทวนเนือ้ หาเดิมดว้ ยตนเองได้ 6) ทาให้ทราบข้อบกพร่องของนักเรียน 7) ทาใหค้ รปู ระหยดั เวลา 8) ทาให้นกั เรยี นสามารถนาภาษาไปใชส้ ่ือสารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รชั นี ศรีไพรวรรณ (2517) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของแบบฝึก ไว้ว่า 1) ทาให้เขา้ ใจบทเรียนดีขน้ึ เพราะเปน็ เครอ่ื งอานวยประโยชน์ ในการเรียนรู้ 2) ทาใหค้ รทู ราบความเขา้ ใจของนกั เรียนท่มี ตี ่อบทเรียน 3) ฝึกให้เดก็ มคี วามเชอ่ื มน่ั และสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้ 4) ฝึกให้เด็กทางานตามลาพัง โดยมคี วามรับผดิ ชอบในงาน ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย จากประโยชน์ของแบบฝึกท่ีกล่าวมา สรุปไดว้ ่า แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธภิ าพ ช่วยทาให้นักเรียน ประสบผลสาเร็จในการฝึกทักษะ ได้เป็นอย่างดี แบบฝึกเปรียบเสมือนผู้ช่วยท่ีสาคัญของครู ทาให้ครูลด ภาระการสอนลงได้ ทาให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามความสามารถของตน เพ่ือความมั่นใจในการเรียนได้เป็น อยา่ งดี 2.6 หลกั จิตวทิ ยา ทฤษฎแี ละแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การสรา้ งแบบฝึก การศึกษาในเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู้ เป็นสิ่งท่ีผู้สร้างแบบฝึกมิควรละเลย เพราะการเรียนรู้จะ เกิดขึ้นได้ต้องข้ึนอยู่กับปรากฏการณ์ของจิต และพฤติกรรมท่ีตอบสนองนานาประการ โดยอาศัย กระบวนการท่ีเหมาะสมและเป็นวิธีท่ีดีท่ีสุด การศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้จากข้อมูลท่ีนักจิตวิทยาได้ทาการ คน้ พบ และทดลองไวแ้ ล้วสาหรับการสร้างแบบฝึกในสว่ นทมี่ ีความสมั พนั ธ์กันดังนี้

2.6.1 ทฤษฎกี ารลองผิดลองถูกของ ธอรน์ ไดค์ ซง่ึ ไดส้ รุปเป็นกฎเกณฑ์ การเรยี นรู้ ดงั นี้ 1) กฎความพรอ้ ม หมายถึง การเรยี นร้จู ะเกิดข้ึนเมื่อบคุ คลพร้อมท่ีจะกระทา 2) กฎผลที่ได้รับ หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเพราะบุคคลกระทาซ้า และย่ิงทามาก ความชานาญจะเกดิ ขนึ้ ไดง้ ่าย ไพบูลย์ เทวรกั ษ์ (2540) ได้กล่าวถึงกฎการฝกึ หัดไว้ว่า การฝึกหดั ให้บุคคล ทากจิ กรรมต่าง ๆ น้ัน ผู้ฝึกจะต้องควบคุมและจัดสภาพการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของตนเอง บุคคลจะถูกกาหนดลักษณะ พฤตกิ รรมที่แสดงออก ดังนั้น ผู้สร้างแบบฝึกจึงจะต้องกาหนดกิจกรรมตลอดจนคาสั่งต่าง ๆ ในแบบฝึก ให้ผู้ฝึกได้แสดง พฤตกิ รรมสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ทีผ่ ู้สรา้ งต้องการ 2.6.2 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ่งมีความเช่ือว่าสามารถควบคุมบุคคลให้ทาตาม ความประสงค์ หรือแนวทางท่ีกาหนดได้โดยไม่ต้องคานึงถึงความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลผู้นั้นว่าจะรู้สึกนึก คิดอย่างไร โดยมีการเสริมแรงเป็นตัวการ เม่ือบุคคลตอบสนองการเร้าของส่ิงเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาท่ี เหมาะสม สิ่งเร้านัน้ จะรกั ษาระดับหรือเพม่ิ การตอบสนองใหเ้ ข้มขึน้ 2.6.3 วิธีการสอนของกาเย่ ซึ่งมีความเห็นว่า การเรียนรู้มีลาดับขั้นและผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ เนื้อหาทง่ี า่ ยไปหายาก พรรณี ช.เจนจิต (2538) ไดก้ ลา่ วถงึ แนวคดิ ของกาเย่ ไว้ดังน้ี การเรียนรู้มีลาดับข้ัน ดังน้ันก่อนท่ีจะสอนเด็กแก้ปัญหาได้นั้น เด็กจะต้องเรียนรู้ความคิดรวบ ยอด หรือกฎเกณฑ์มาก่อน ซึ่งในการสอนให้เด็กได้ความคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑ์นั้น จะทาให้เด็กเป็นผู้ สรุปความคิดรวบยอดด้วยตนเองแทนท่คี รู จะเปน็ ผ้บู อก การสร้างแบบฝึกจงึ ควรคานึงถงึ การฝกึ ตามลาดบั ขนั้ จากง่ายไปหายาก 2.6.4 แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนว่า มีความแตกต่างกัน ผู้เรียน สามารถเรยี นรู้เนอ้ื หาในหน่วยย่อยตา่ ง ๆ ไดโ้ ดยใช้เวลาเรยี นท่แี ตกตา่ งกนั ดังน้ันการสร้างแบบฝึกจึงต้องมีการกาหนดเงื่อนไขที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสามารถผ่านลาดับ ข้ันตอนของทุกหน่วยการเรียนได้ถ้านักเรียนได้เรียนตามอัตราการเรียนของตน ก็จะทาให้นักเรียนประสบ ความสาเรจ็ ไดม้ ากขน้ึ

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2522) ได้แนะนาหลักจิตวิทยาที่ควรนามาสร้าง แบบฝกึ พอสรปุ ได้ดังน้ี 1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เก่ียวกับการฝึกหัด ซึ่งสอดคลอ้ งกบั การทดลองของ วัตสัน (Watson) น่ันคือส่ิงใดกต็ ามท่ีมีการฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ยิ่งทาใหผ้ ู้ฝึกคล่องแคลว่ สามารถทาได้ ดี ในทางตรงข้ามสิ่งใดก็ตามที่ไม่ได้รับการฝึก ทอดท้ิงไปนานแล้ว ย่อมทาได้ไม่ดีเหมือนเดิม ต่อเมื่อมีการ ฝึกฝนหรือกระทาซา้ กจ็ ะชว่ ยให้เกิดทักษะเพมิ่ ข้นึ 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ครูควรคานึงว่านักเรียนแต่ละคนมีความรู้ ความถนัด ความสามารถและความสนใจทต่ี ่างกนั ฉะนั้นในการสร้างแบบฝกึ จึงควรพจิ ารณาถึงความเหมาะสม ไม่ยากหรือง่ายเกินไป และควรมหี ลายแบบ 3. การจูงใจผู้เรียน สามารถทาได้โดยจัดแบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพื่อดึงดูดความสนใจของ ผู้เรียน เป็นการกระตุ้นให้ติดตามต่อไป และทาให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการทาแบบฝึก นอกจากนั้น การใชแ้ บบฝึกส้ัน ๆ จะชว่ ยไมใ่ หผ้ ู้เรียนเบ่อื หน่าย 4. การนาส่ิงทมี่ คี วามหมายต่อชีวิตและการเรียนรู้มาให้นักเรียนได้ทดลอง ทาภาษาทใ่ี ช้พดู ใช้เขยี น ในชีวิตประจาวัน ทาให้ผู้เรียนได้เรียนและทาแบบฝึกในสิ่งที่ใกล้ตัว นอกจากจาได้แม่นยาแล้ว นักเรียนยัง สามารถนาหลกั และความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปใช้ประโยชนอ์ ีกดว้ ย นอกจากนี้ พรรณี ชูทัย (2522) ไดเ้ สนอการนาหลกั จิตวทิ ยาการศกึ ษามาใช้ ในการสรา้ งแบบฝึก พอสรปุ ได้ดังนี้ 1. การสาธิตและการอธบิ ายแนะนา เรมิ่ แรกควรบอกใหน้ กั เรยี นทราบวา่ จะทาอยา่ งไร ชแ้ี จงใหเ้ ห็นความสาคญั ของส่ิงท่ีจะเรยี นน้นั เพอ่ื เร้าใหเ้ ด็กเกดิ ความสนใจ 2. ใหเ้ ดก็ ได้มโี อกาสฝึกทันทีหลังจากการสาธิต และส่งิ ท่ีต้องคานึงถึงกค็ อื การทาซ้าและการเสรมิ แรง ควรใหโ้ อกาสเด็กได้ฝึกซา้ ๆ และควรให้ได้รับการเสริมแรงอย่างทว่ั ถึง 3. ในขณะทฝี่ ึกหดั ควรมกี ารใหค้ าแนะนาเพอ่ื ใหเ้ ด็กได้ฝกึ ทักษะนั้น ๆ ไดด้ ้วยตนเอง 4. ใหค้ าแนะนาทอ่ี ยูใ่ นบรรยากาศที่สบาย ๆ ครผู ู้สอนตอ้ งใจเย็น ไมด่ ุ บรรยากาศไม่ตรึงเครยี ด จะ ยวั่ ยุให้เดก็ เกิดความพยายามท่จี ะฝึก 5. สิ่งท่ีจะทาให้ผู้เรียนพบปัญหายุ่งยากในการฝึกทักษะใหม่ คือการที่ทักษะเก่าของผู้เรียนจะมา รบกวนการเรียนทักษะใหม่ ซ่ึงควรแก้ไขด้วยการอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจว่า ทักษะใหม่ที่จะฝึกฝนนั้นจะมี

วธิ กี ารของมนั เอง ซึง่ ต่างไปจากวิธกี ารของทกั ษะเกา่ และพยายามกระตุน้ นักเรยี นให้ระลกึ อยา่ งเสมอว่า เขา กาลงั เรียนทักษะใหม่ หลักจิตวิทยาดังกล่าว ผู้ศึกษาค้นคว้านามาเป็นแนวทางในการสร้างแบบฝึกให้น่าสนใจ เหมาะสม กับวัย ความสามารถและความถนดั ของนกั เรยี น เพื่อให้การเรยี น การสอนสนกุ สนาน นกั เรียนมคี วามพอใจทจี่ ะเรียนและประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น 2.6 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การสรา้ งแบบฝึกทักษะ งานวิจัยในประเทศ งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวกับการสอนแบบมงุ่ ประสบการณ์ภาษา ประภาพันธ์ุ นิลอรุณ (2530) ศึกษาเปรียบเทียบความพร้อมการเรียนภาษาไทยเด็กปฐมวัยใน ท้องถิ่นท่ีมีปัญหาทางภาษา ที่เรียนโดยวิธีมุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนตามแผนการจัดประสบการณ์ กลุม่ ตัวอย่าง คือ นักเรยี นชัน้ เด็กเลก็ โรงเรยี น บ้านสังขละและโรงเรียนคมวิทยาคาร อาเภอสงั ขละ จงั หวดั สุรินทร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2530 ผลการศกึ ษาพบว่า เดก็ ปฐมวยั ทีเ่ รยี นโดยวธิ ีมงุ่ ประสบการณ์ภาษา มีความพร้อมทางการเรียนภาษาไทยสูงกวา่ เด็กปฐมวัยทเี่ รียนตามแผนการจัดประสบการณ์ชนั้ เด็กเลก็ อย่าง มีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่ .01 มัลลิกา ภักดีณรงค์ (2531) เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน การเขียน และทัศนคติต่อการ เรียนภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ในจังหวัดนครราช-สีมาท่ีได้รับการสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษากับการสอนปกติ กลุ่มตัวอย่างนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2531 โรงเรียน วัดโคกพรมต้ังตรงจิต 7 อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จานวน 50 คน ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการวิจัย จรัสศรี กิจบัญญัติอนันต์ (2535) เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน การเขียนและทัศนคติต่อ วชิ าภาษาไทยของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 จงั หวดั ขอนแก่น ที่ได้รบั การสอนภาษาไทยแบบม่งุ ประสบการณ์ภาษาและแบบปกติ ผลการศกึ ษาพบวา่ นักเรยี นท่ไี ด้รับการ สอนภาษาไทยแบบม่งุ ประสบการณ์ภาษา มีความเขา้ ใจ ในการอ่าน การเขียนคาและทัศนคติต่อวิชาภาษาไทยสูงกว่านักเรียน ที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ สมชาย กระจายศรี (2536) ที่ศึกษาเปรียบเทียบความสามารถใน

การใช้ภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ในจังหวัดสุรินทร์ ที่สอนด้วยวิธีสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษา กับสอนด้วยวิธีสอนปกตติ ามคมู่ ือครู ที่พบว่า นักเรยี นท่ีได้รับการสอนด้วยวธิ ีสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษามีความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน สูงกว่านักเรยี นทไ่ี ด้รบั การสอนด้วยวธิ สี อนปกติตามคู่มอื ครู ชิญโญ โครบุตร (2535) เปรยี บเทียบความเขา้ ใจในการอ่าน ความสามารถ ในการเขียนคา และพฤตกิ รรมกลา้ แสดงออกในชัน้ เรียน ของนกั เรยี นไทยกระโซ่ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตอาเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร ที่ได้รับการสอนโดยวิธีแบบมุ่งประสบการณ์ ภาษากับวิธีสอนปกติ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนไทย กระโซ่ ได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษามี ความเข้าใจในการอ่าน ความสามารถ ในการเขยี นคา และมพี ฤติกรรมกลา้ แสดงออกในช้ันเรียนสูงกว่านกั เรียนไทยกระโซ่ ทไ่ี ดร้ ับการสอนแบบปกติ สุธีพร ปาคะดี (2531) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทาง การอ่าน การเขียนและ การระลึกสิ่งที่อ่านได้ในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนแบบมุ่ง ประสบการณ์ภาษาและการสอนตามคู่มอื กลุ่มตวั อย่างเป็นนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนสามเสน นอก กรงุ เทพมหานคร จานวน 60 คน ใช้เวลาทดลอง 7 สัปดาห์ ผลการทดลองพบวา่ นักเรยี นท่ีได้รับ การสอนดว้ ยวธิ ี มุ่งประสบการณ์ภาษากับวธิ ีสอนตามคมู่ ือครมู คี วามสามารถทางการอ่านและการเขยี นภาษาอังกฤษแตกตา่ ง กนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .01 และมกี ารระลึกไดใ้ นส่ิงที่อ่านในวิชาภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยกลุ่มท่ีได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ การสอนตามคมู่ ือครู สุรศกั ดิ์ กาญจนการุญ (2531) ได้ทาการเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน การเขียน และความ คงทนถาวรในการเรียนร้ขู องเดก็ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ทพ่ี ูดภาษาเขมร เป็นภาษาแม่ที่ได้รับการสอนโดยวิธมี ุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนแบบปกติ ผลการวิจัย พบว่า ความเขา้ ใจในการอ่านและความสามารถในการเขยี นของนักเรียนท่เี รยี นโดยวิธีมุง่ ประสบการณภ์ าษา กบั วิธีสอนแบบปกติแตกต่างกันอย่างน้อยมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่ี ระดับ .01 โดยกลมุ่ ท่ีได้รับการสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษาสูงกว่ากลุม่ ที่ได้รับการสอนแบบปกติ

งานวจิ ยั ที่เกยี่ วกบั การสรา้ งแบบฝกึ ภูมิศรี จันทร์ดา (2538) ได้ศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะกิจกรรมขั้นตอนที่ 5 ท่ีมีประสิทธิภาพ เร่ือง ฟักทองของนิด ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ผลการทดลองพบว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นมี ประสิทธิภาพ 85.76 /87.22 แสดงว่า แบบฝึกเสริมทักษะท่ีสร้างขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และคะแนนการทดสอบหลังเรยี นสูงกวา่ คะแนนทดสอบก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 บุญรัตน์ มีสมบูรณ์ (2539) ไดส้ ร้างแบบฝกึ ภาษาไทย เรอ่ื งตัวสะกดมาตรา แมก่ น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบา้ นฉาง ในจงั หวดั ระยอง จานวน 50 คน ผลการวจิ ัย พบว่า แบบฝึกสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 90.54/90.05 และคะแนนเฉลี่ยคะแนนสอบหลังทาแบบฝึกหัด มากกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนทาแบบฝึกหัดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 แสดงว่า นักเรียนทา แบบฝกึ หัดนี้แลว้ มคี วามสามารถในการสะกดคาในมาตราแม่กนเพิม่ ข้นึ ยุพาภรณ์ ชาวเชียงขวาง (2535) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเขียนเรียงความโดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนเรียงความ กับการสอนปกติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนชุมชนบ้านเชียงบาน อาเภอ เชียงคา จงั หวัดพะเยา ผลการทดลองพบว่า แบบฝกึ ทักษะการเขียนเรียงความมปี ระสิทธิภาพ 80.11/86.43 เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 ความสามารถการเขียนเรียงความของนักเรียนที่ใช้แบบฝึกกับการ สอนตามปกตแิ ตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ ระดบั .01 อดุลย์ ภูปล้ืม (2539) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกที่จัดคาเป็นกลุ่มคาและแบบฝึกท่ีจัดคา คละคา มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 กลมุ่ ตัวอย่างได้แก่ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนชุมชนสามัคคีราษฎร์ บารงุ อาเภอ หนองกรุงศรี จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ จานวน 60 คน ผลการวิจัยพบว่า แบบฝกึ ท่ีจดั ทาเป็นกลมุ่ คา และแบบฝึกท่ีจัดทาคละคามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธ์ิการเขียนสะกดคา ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกจัดคาเป็นกลุ่มคากับแบบฝึกท่ีจัดทาคละคาแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 โดยนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกที่จัดคาเป็นกลุ่มคา มีผลสัมฤทธิ์การ เขียนสะกดคาสูงกว่านักเรียนทีเ่ รยี นโดยใชแ้ บบฝึกทจ่ี ัดคาคละคา

งานวิจยั ท่เี กย่ี วกับแบบฝกึ สุณี กฤตสัน (2542) ได้ศึกษาการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย กิจกรรมขั้นท่ี 5 เรอื่ ง อ้อย อมย้ิม ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้วยราช สังกัดสานักงานการประถมศึกษาอาเภอ-ห้วยราช สานักงานการประถมศึกษาจังหวัด บุรีรัมย์ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2541 จานวนนักเรียน 25 คน ผลการทดลองพบว่า แบบฝกึ เสริมทักษะ การสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา มีประสิทธิภาพ 95.51/87.47 แสดงว่าแบบฝึกเสรมิ ทักษะมี ประสิทธภิ าพสงู กว่าเกณฑม์ าตรฐาน 80 / 80 ทต่ี ั้งไว้ ไพฑูรย์ แวววงศ์ (2542) ได้ศกึ ษาการทดลองใช้ชดุ ฝกึ ทกั ษะการเขียน เชงิ สรา้ งสรรค์ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา สาหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนบ้านนามูล สานักงานการประถมศึกษาอาเภอกระนวน สานักงานการประถมศึกษาจังหวัด ขอนแก่น ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2541 จานวนนักเรียน 29 คน ผลการทดลอง ปรากฏว่านักเรียนได้ คะแนนก่อนเรียนคิดเปน็ รอ้ ยละ 63.10 และไดค้ ะแนนหลงั เรยี นคิดเป็นร้อยละ 88.97 แสดงว่า ชดุ ฝึกทักษะ การเขยี น เชิงสรา้ งสรรค์ ทาใหน้ ักเรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงขน้ึ งานวิจยั ต่างประเทศ งานวิจยั เกยี่ วกับการสรา้ งแบบฝกึ ชเวนดินเกอร์ (Schwendinger.1977) ได้ศึกษาผลการเขียนสะกดคา ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 6 จานวน 503 คน โดยใช้แบบฝึกหัดทม่ี ีรูปภาพเหมือน ของจริงแบบเขียนตามคาบอก และแบบทดสอบการเขียนสะกดคา ผลการศึกษา พบว่า นักเรยี นที่เรียนโดย ใช้แบบฝึกหัดท่ีมีรูปภาพจริงมีผลสัมฤทธ์ิในการเขียนและสะกดคาสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยไม่ใช้รูป ภาพเหมอื นของจรงิ แมคพิค ( Mcpeake. 1979 ) ได้ศึกษาผลการเรียนจากแบบฝึกอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่เร่ิมศึกษา จนถึงความสามารถในการอ่าน และเพศท่ีมตี อ่ ความสามารถในการสะกดคาของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จากโรงเรียนประถมศึกษาท่ีเมือง Scituate และMassachusetts จานวน 129 คน พบว่า ทุกกลุ่มมี ผลสัมฤทธิ์ในการเขียนสะกดคาสูงขน้ึ ยกเว้นนักเรยี นชายท่มี ีความบกพร่องด้านการอ่าน และพบว่าแบบฝึก ชว่ ยปรับปรงุ ความสามารถในการสะกดคาของนักเรียนทุกคน แต่เวลา 12 สัปดาห์ไมเ่ พียงพอที่จะทาให้เกิด

การถ่ายโยงการเรียนรู้ในการสะกดคาไปสู่คาใหม่ท่ียังไม่ได้ศึกษา และคะแนนของนักเรียนหญิงสูงกว่า นกั เรียนชายอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ นอกจากนก้ี ารอา่ นยงั มีความสมั พนั ธก์ บั ความสามารถในการสะกดคา จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้แบบฝึก สรุปได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะเป็น สอื่ การเรียนการสอนที่สาคัญสาหรับนักเรยี น ช่วยให้ผ้เู รียนมีพฒั นาการทางภาษาได้ดีข้ึน และแบบฝึกเสริม ทกั ษะทาใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรยี นรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง

บทที่ 3 วิธดี าเนินการวจิ ัย การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือฝึกทักษะการอ่านคาราชาศัพท์โดยใช้แบบฝึกทักษะสาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เขตจอมทอง จงั หวัดกรุงเทพ ฯ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ผู้ศึกษาได้ดาเนินการ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1 กลมุ่ เป้าหมาย 3.2 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 3.3 การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพของเครอ่ื งมือ 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ใี ช้ 3.1 กลุม่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เขตจอมทอง จังหวัดกรงุ เทพ ฯ จานวน 44 คน และศึกษาใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 3.2 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย เคร่ืองมอื ท่ีผวู้ ิจยั ใชใ้ นการวิจยั ในครั้งนี้ ประกอบด้วย 3.2.1 นวัตกรรม เป็นแบบฝึกทักษะฝึกทักษะการอ่านและการเขียน คาราชาศัพท์ จานวน 10 แบบฝึกทดลองแบบกลุ่มเดียวท่ีมีการทดสอบก่อนและหลงั การทดลองใชแ้ บบฝึก ดังตารางท่ี 1 ดังนี้ O1 X O2

ความหมายของสัญลกั ษณ์ O1 หมายถงึ การวัดตวั แปรตามกอ่ นการทดลอง (pretest) X หมายถึง การจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ บบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ O2 หมายถงึ การวัดตวั แปรตามหลังการทดลอง และ O2 เปน็ การวดั ดว้ ยเครอื่ งมือวัดอันเดียวกนั มีมาตรวดั อนั เดยี วกัน 3.2.2 เคร่อื งมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล แบบทดสอบวดั ความสามารถฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ โดยใช้ทดสอบ ก่อนการใช้แบบฝึก จานวน 20 ข้อ และเมอื่ ใชแ้ บบฝึกทักษะเสร็จสิ้นแล้วก็ใชแ้ บบทดสอบชุดเดิมทดสอบ หลงั การใช้แบบฝกึ 3.3 การสรา้ งและหาคณุ ภาพของเครื่องมอื 3.3.1. การพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคาราชาศัพท์ ผู้วิจัยได้พัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/7 ดังน้ี 1) ศึกษาหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ของกรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2) ศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จากแนวการจัดสาระ การเรียนรภู้ าษาไทย ของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 3) ศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จากแนวการจัดสาระ การเรยี นรู้ภาษาไทย ของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 4) ศึกษาสาระการเรียนรู้รายปี และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี ช่วงช้ันท่ี 2 (ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6) จากแนวการจัดสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ 5) ศึกษาวิธีการ หลกั การ ทฤษฎี และเทคนคิ วิธกี ารสร้าง แบบฝึกทักษะภาษาไทย จากเอกสาร ต่างๆ และงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง 6) สร้างแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 จานวน 10 แบบฝกึ

7) นาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ท่ีได้รับการพิจารณาทดลองใช้ในการ จัดกิจกรรมเรียนการสอน เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกกับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 โรงเรียน มธั ยมวดั สิงห์ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 44 คน ในภาค เรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 หลังจากทดลองใช้แลว้ หาข้อบกพร่องเพือ่ นามาปรบั ปรงุ แก้ไข 8) นาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ท่ีได้รับการปรับปรุงแก้ไข นามา ทดลองสอนจรงิ โดยใช้คู่กบั แผนการจดั การเรยี นรู้ ใชก้ ับนักเรยี น สปั ดาห์ละ 3 วนั วันละ 1 ช่ัวโมง 9) หลังจากทดลองใช้แบบฝึกทักษะคู่กับแผนการจดั การเรียนรู้เสร็จส้ินแลว้ นาแบบทดสอบชุด เดิมกับก่อนเรียนมาทาการทดสอบหลงั เรียนอีกคร้ัง แล้วนาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพ ของแบบฝึกทักษะ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 หมายถึง คะแนนของกระบวนการเรียนต่อคะแนนสอบ หลงั เรียน 80 ตัวแรก หมายถงึ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของประสิทธภิ าพของการฝกึ 80 ตวั หลงั หมายถงึ คะแนนเฉล่ียร้อยละของการทดสอบหลงั เรยี น 3.3 2. การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีผ่ ้ศู ึกษาสรา้ งข้ึนเองตามลาดบั ดงั น้ี 1) ศึกษาหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระ การเรียนร้ภู าษาไทย ของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2) ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3) ศึกษาแนวการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4) ศึกษาแนวการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษา ตาม พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ 5) ศกึ ษาแนวการจดั การเรียนการสอนทักษะการอ่านและการเขยี น จากการจดั สาระการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของกรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 6) ศึกษาแนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลในช้ันเรยี น กลมุ่ สาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ของสานักนิเทศและพฒั นามาตรฐานการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ 7) ศึกษาหนังสอื ประกอบการเรียนการสอนภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 8) วเิ คราะหห์ ลักสูตร และสาระมาตรฐานการเรยี นรู้ และวิเคราะหน์ กั เรยี นรายบคุ คล

9) เขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยยดึ องคป์ ระกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดกิจกรรมที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เตรียมสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน และวธิ วี ัดและประเมินผลสอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั 10) นาแผนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี ขียนเสร็จแล้ว เสนอต่อผ้เู ช่ยี วชาญชุดเดิมใน ข้อ๗.๑- ๗. 3) ตรวจสอบเสนอแนะในกิจกรรมและความถูกต้องตรงตามเน้ือหา แล้วนามาปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ 11) นาแผนการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปใช้จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมควบคู่กับแบบ ฝึกทักษะ โดยเอาแบบฝึกทักษะเป็นส่ิงสรุปบทเรียนของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ เพราะถ้านักเรียน เข้าใจในการเรียน ช่วงจัดกิจกรรมแล้ว จะสามารถทาแบบฝึกทักษะได้ แล้วนามาใช้กับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 44 คน หลังจากทดลองใช้แล้วหาข้อบกพร่องแล้วนามา ปรับปรงุ แก้ไข 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การศึกษาในคร้งั นี้ผู้ศกึ ษาได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดาเนินการตามข้นั ตอนดังน้ี 3.4.1 ปฐมนิเทศนักเรยี นพรอ้ มช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์ 3.4.2 ทดสอบก่อนเรยี นโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรยี นกบั หลังเรียนนักเรยี นกล่มุ เป้าหมาย 3.4.3 เริ่มดาเนินการจัดกิจกรรการเรียนการสอนมีแบบฝึกทักษะทสี่ ร้างขึ้น จานวน 10 แบบฝึก โดยมีเกณฑ์ การผ่านคอื ใน 20 ข้อนักเรียนตอ้ งได้ 18 ข้อ พรอ้ มประเมนิ การผา่ นเกณฑไ์ ปดว้ ย 3.4.4 เมื่อทดลองใช้แบบฝึกทักษะจนครบทั้ง 10 แบบฝึกแล้วทดสอบ หลังเรียน โดยใช้ แบบทดสอบชุดเดิมกับการสอบก่อนทาการเรียน 3.4.5 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยเครอ่ื งมอื ท่ีจัดทาข้ึน 3.4.6 นาข้อมลู ทไี่ ด้จากการพฒั นาไปวิเคราะห์ผลและทาการแปลผลข้อมูล

3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถติ ทิ ใี่ ช้ 3.5.1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยนาข้อมูลที่ได้มาหาความถ่ีแล้ววิเคราะห์ บรรยายเป็นความเรียง ประกอบตาราง โดยเปรยี บเทียบความแตกตา่ งคะแนนเฉลีย่ ค่าร้อยละ ระหว่างการทดสอบคร้ังแรกกับคร้ังหลังของกลุ่มเป้าหมายและเปรียบเทียบคะแนนการทาแบบ ฝกึ ทักษะกับคะแนนทดสอบหลังเรยี น 3.5.2 สถิตทิ ี่ใช้ 1)หาคา่ เฉล่ีย x = X/N เมื่อ x แทน คะแนนเฉลยี่  X แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด N แทน จานวนนักเรยี นในกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2). คา่ ร้อยละ (Percentage) ใช้สตู ร ศักรินทร์ สวุ รรณโรจน์ และคณะ. (2538) ค่าร้อยละ = XN  100 เมอื่ X แทน คะแนนทไ่ี ด้ N แทน คะแนนเต็ม 3) คา่ ประสิทธิภาพ ใช้สตู ร ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2537) สตู รที่ 1 E1 = X / N  A  100 เมือ่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของแบบฝกึ หดั หรืองาน A แทน คะแนนเกบ็ ของแบบฝึกหดั ทกุ ชนิ้ รวมกัน N แทน จานวนผเู้ รยี น

สตู รท่ี 2 = F/N  B  100 E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์ แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์หลังเรียน เม่อื E2 แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลังเรยี น F แทน จานวนผูเ้ รยี น B N 4) การพิจารณาประสทิ ธภิ าพสื่อ สามารถพจิ ารณาได้ 3 ระดับ สรุ ชัย สิกขาบัณฑติ (2539) ดงั นี้ 4.1 ระดับสูงกว่าเกณฑ์ หมายถึง เม่ือประสิทธิภาพของส่ือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ มี ค่าเกิน 2.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขึ้นไป 4.2 ระดับเท่ากับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ หมายถึงเท่ากับ 2.5 เปอร์เซ็นต์ และต่ากว่าเกณฑ์ แตไ่ มต่ ่ากว่า 2.5 เปอร์เซ็นต์ ถือว่ามปี ระสทิ ธภิ าพยอมรบั ได้ 4.3 ระดับต่ากว่าเกณฑ์ หมายถึง เมื่อประสิทธิภาพของส่ือต่ากว่าเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ คอื ต่ากวา่ 2.5 เปอร์เซน็ ต์ ถือวา่ สือ่ ไม่มีประสทิ ธภิ าพ

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 โรงเรียน มธั ยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 ผูว้ ิจัยศึกษา ไดเ้ สนอผลการ วเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลาดบั ดังน้ี 4.1 สัญลักษณท์ ใ่ี ชใ้ นการนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 4.2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู 4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 4.1 สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผู้ศึกษาได้กาหนดความหมายของสัญลกั ษณ์ทใี่ ชใ้ นการนาเสนอผลของการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดังนี้ N แทน จานวนนักเรียนกลมุ่ ตวั อย่าง x แทน คะแนนเฉลี่ย  X แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด 4.2 การวเิ คราะห์ข้อมลู การวิเคราะหข์ ้อมลู ในครั้งนี้ ผู้ศกึ ษาไดด้ าเนินการวิเคราะหข์ ้อมูล ตามลาดบั ขั้นตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสร้างแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/7 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ตอนท่ี 2 วิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของ กลุ่มเป้าหมาย

4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนท่ี 1 การหาประสิทธิภาพของการฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ผู้รายงานได้ดาเนินการทดลองหาประสิทธภิ าพของ แบบฝึกทักษะ การอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ผลปรากฏดัง ตารางที่ 2 ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยและร้อยละ เพ่ือหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านและ การเขยี นคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/7 แบบฝกึ ทักษะ คะแนนเตม็ x ร้อยละ แบบฝึกทกั ษะชุดท่ี 1 10 7.78 77.80 แบบฝึกทกั ษะชดุ ที่ 2 10 7.83 78.30 แบบฝกึ ทักษะชดุ ท่ี 3 10 8.17 81.70 แบบฝกึ ทกั ษะชดุ ท่ี 4 10 8.22 82.20 แบบฝึกทกั ษะชุดท่ี 5 10 8.22 82.20 แบบฝกึ ทักษะชุดท่ี 6 10 8.39 83.90 แบบฝกึ ทักษะชดุ ท่ี 7 10 8.44 83.90 แบบฝึกทักษะชดุ ที่ 8 10 8.50 85.00 แบบฝกึ ทักษะชดุ ท่ี 9 10 8.94 89.40 แบบฝกึ ทกั ษะชุดท่ี 10 10 9.06 90.60 รวม 100 8.35 83.56 จากตารางท่ี 2 แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 จานวน 10 แบบฝึก มคี ะแนนเฉลีย่ 8.35 คิดเป็นร้อยละ 83.56 ดงั น้ัน แบบฝกึ ทักษะที่สร้างขึ้นมี ประสทิ ธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ที่ต้ังไว้ ตอนที่ 2 วิเคราะหห์ าความแตกตา่ งระหว่างคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรยี นของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ผูว้ ิจยั ได้ดาเนนิ การทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน ผลวเิ คราะหข์ ้อมลู ปรากฏดังในตารางท่ี 3 ดังน้ี

ตารางที่ 3 ตารางแสดงคะแนนเฉลีย่ และค่าร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น คะแนน คะแนนเตม็ X รอ้ ยละ ก่อนเรียน 20 8.72 43.61 หลังเรยี น 20 16.28 81.39 จากตารางที่ 3 ตารางแสดงคะแนนเฉลี่ยและค่ารอ้ ยละของแบบทดสอบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนมีคะแนนเฉล่ีย 8.72 คิดเป็นร้อยละ 43.61 และแบบทดสอบหลังเรียน มี คะแนนเฉลยี่ 16.28 คิดเป็นร้อยละ 81.39 ทาใหน้ ักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเร่ืองการอ่านและการ เขยี นคาราชาศพั ท์ ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/7 ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ตามเกณฑท์ ี่ตัง้ ไว้

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาในครั้งน้ีเพื่อการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ โดยใช้แบบฝึกการอ่าน และการเขยี นคาราชาศพั ท์ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 มขี น้ั ตอนการศึกษาและผลการศกึ ษาสรุปได้ดังนี้ 5.1 วัตถปุ ระสงค์ในการวิจัย 5.1.1. เพอื่ สรา้ งแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ ของนกั เรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 5.1.2. เพ่ือพัฒนาทักษะการอา่ นและการเขยี นคาราชาศัพท์ ของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 5.2 สมมติฐานของการวจิ ยั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 ท่ไี ด้รบั การฝึกทักษะการอ่านและการเขียน คาราชาศัพท์ โดยใช้ แบบฝกึ ทักษะ มีพัฒนาการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ จากการทดสอบหลงั เรยี นสงู ข้ึน 5.3 กลุม่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการทดลองครั้งนี้คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 44 คน 5.4 เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ยั เครื่องมอื ทีผ่ ู้ศกึ ษาใชใ้ นคร้ังน้ี ประกอบดว้ ย 5.4.1 นวตั กรรมคอื แบบฝกึ ทกั ษะฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/7 จานวน 10 แบบฝึก 5.4.2 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบทดสอบวัดทักษะการอ่านและการเขียนคาราชา ศพั ท์ เป็นแบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ

5.5 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผ้รู ายงานทาการวเิ คราะห์ข้อมูลมีผล ดงั น้ี 5.5.1 แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/7 ที่ผู้วจิ ัยสรา้ งข้นึ มีประสิทธภิ าพ 83.56 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 5.5.2 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรื่องทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 สูงข้ึนคิดเป็นร้อยละ 81.39 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 5.6 อภิปรายผล รายงานผลการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ มาพัฒนาทักษะการอ่านและ การเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 44 คน อภิปรายผลได้ ดังนี้ 1) แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ท่ี ผู้วิจัยสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ เท่ากับ ร้อยละ 83.56 หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉล่ียจากการ ทาแบบฝึกทักษะทง้ั 10 แบบฝึก คิดเปน็ ร้อยละ 83.59 และนักเรียน ได้คะแนนเฉล่ยี จากแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ภาคเรียนท่ี 1 คิดเป็นร้อยละ 81.39 แสดงว่า แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ที่ผู้รายงานสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 ซงึ่ เป็นไปตามสมมุตติฐานท่ตี ้ังไวส้ อดคลอ้ งกบั ผลการศึกษาของ กาญจนาพร หอศลิ าชัย ( 2545 : บทคัดย่อ ) พักตร์พิมล ภูมิกอง ( 2546 :บทคัดย่อ ) ท่ีพบว่า แบบฝึกทักษะ ที่สร้างข้ึนมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท้ังนี้อาจเน่ืองมาจากแบบฝึกทักษะท่ีผู้รายงานสร้างข้ึน ได้ผ่าน ขน้ั ตอน กระบวนการสรา้ งอย่างมีระบบ มีการศึกษารายละเอยี ดเกี่ยวกับการสร้างแบบฝึกจากเอกสารและ งานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง ศึกษาหลักสูตร แผนการสอน เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้การ วัดผลและประเมินผล และผ่านการทดสอบจากผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบด้านคุณภาพและความเหมาะสมของ แบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เพ่ือให้มคี วามเหมาะสมมากย่ิงขึ้น สามารถนาไปใช้ในการ สอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

5.7 ขอ้ เสนอแนะ 5.7.1 ควรพัฒนาแบบฝกึ ใหม้ คี ณุ ภาพมากขนึ้ 5.7.2 แบบฝึกทักษะควรผา่ นการหาประสิทธภิ าพ 5.7.3 แบบฝึกทักษะต้องน่าสนใจ มีรูปภาพ สีสันท่ีสดใสประกอบ เพื่อให้นักเรียนอยากสัมผัส อยากฝึกกิจกรรม 5.7.4 ครูควรปรบั กจิ กรรมของแบบฝึกให้สอดคลอ้ งกับเวลา 5.7.5 ครคู วรพัฒนาการเรียนการสอนโดยการทาวจิ ัยทกุ ปี 5.7.6 ผู้บริหารโรงเรยี นควรสง่ เสริมให้ครูทาวจิ ยั ทกุ คนทกุ ปี 5.7.7 โรงเรียนควรมวี ัสดุหรืองบประมาณสนับสนุนผ้วู จิ ัยเพือ่ ให้ขวญั และกาลงั ใจ

บรรณานกุ รม กาญจนาพร หอศิลาชัย. การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น กล่มุ ทักษะ ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ทีไ่ ด้รบั การจัดกิจกรรมแบบ ม่งุ ประสบการณภ์ าษาโดยใชห้ นังสอื เร่ือง ปราสาทเปอื ยน้อยและ เรอ่ื งหนูทาได้. ขอนแก่น. 2545. โกวทิ ประวาลพฤกษ.์ โครงการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน เร่ือง การ พัฒนาคุณภาพครตู ามเกณฑม์ าตรฐานระดับคุณภาพคร(ู NTO ) สู่การจดั การเรยี นการสอนด้วยกระบวนการโดยยดึ ผู้เรียนเป็น ศูนยก์ ลาง. กรุงเทพฯ : สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ, ม.ป.ป. โกวทิ ประวาลพฤกษ์ กมล ภูป่ ระเสริฐ และสงบ ลักษณะ. การพัฒนาผลงาน ทางวชิ าการ. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์ส่งเสริมวชิ าการ,ม.ป.ป. ขจรี ัตน์ หงสป์ ระสงค.์ การสรา้ งแบบฝึกการเขยี นคาพ้องสาหรับนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4. ปริญญานิพนธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑิต. มหาวิยาลยั เกษตรศาสตร.์ อดั สาเนา, 2543 คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาต,ิ สานักงาน. คมู่ ืออบรมครูแนวการใช้ หลักสูตรประถมศกึ ษา พุทธศกั ราช 2521(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533) และกิจกรรมการเรียนการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1–2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว, 2534. _______. สานักงานนิเทศการพัฒนา มาตรฐานการศกึ ษา. แนวทางการวดั และ ประเมินผลในชั้นเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สตู ร การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ องค์การรบั สง่ สินคา้ และพัสดภุ ัณฑ.์ 2545. นิตยา ฤทธิโ์ ยธ.ี การทาและการใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ. กรุงเทพฯ : หนว่ ย ศึกษานเิ ทศก์ กรมสามัญศึกษา, 2520. บุญรัตน์ มสี มบูรณ.์ การฝกึ เสรมิ ทักษะภาษาไทย เรอ่ื งตวั สะกดมาตราแมก่ น สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. ชลบุรี : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒบางแสน, 2539. พรรณี ช. เจนจิต. จติ วทิ ยาการเรยี นการสอน. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 4. กรงุ เทพ ฯ :