ขนมไทย พ้ืนบา้ น
ขนมชัน้ เปน็ ขนมโบราณทใี่ ชใ้ นงานพธิ มี งคล โดยมคี วามเชอ่ื แบบไทยวา่ จะต้องหยอด ขนมใหไ้ ด้ 9 ช้นั จงึ จะเปน็ ศริ มิ งคลเจรญิ กา้ วหนา้ แกเ่ จา้ ภาพสที พ่ี บบอ่ ยคอื สีเขียวจากใบเตย และสีนา้ เงนิ จากดอกอญั ชนั เราจะพบขนมชนั้ ไดใ้ นประเทศตา่ งๆ ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่น ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ประวตั ขิ องขนมชนั้ สามารถหาในเวบ็ ไซตภ์ าษาไทยแทบไมเ่ จอ ขอ้ มลู เลย แต่สามารถเจอในข้อมลู ภาษาองั กฤษของขนมชน้ั ประเทศมาเลเซยี มาว่า ขนม Kueh Lapis หรอื ขนมชนั้ ในภาษามาเลย์ ขนมชน้ั นยิ มในชว่ งเทศกาลตรษุ จนี ฮารรี ายอ ในมาเลเซยี สงิ คโปร์ เวบ็ ไซตข์ องมาเลเซยี เขยี นวา่ รบั ขนมชนดิ นม้ี าจากอนิ โดนเี ซยี เปน็ อทิ ธพิ ลของชาวดชั ต์ หรือเนเธอรแ์ ลนด์
ทองหยบิ เปน็ ขนมโปรตุเกสท่เี ผยแพร่ในประเทศไทยในสมัยกรุงศรอี ยุธยาโดย ทา้ วทองกีบมา้ จนเปน็ ที่แพรห่ ลายมาจนถงึ ปจั จุบนั ท้าจากไขแ่ ดงตีให้จนฟู ก่อนน้าไป หยอดลงในน้าเช่อื มเดือดเพอ่ื ท้าใหส้ ุก เม่อื สกุ แลว้ จึงน้ามาจบั จีบ ใสถ่ ้วยตะไล ปัจจบุ ัน มักใช้เป็นของหวานในงานมงคลต่าง ๆ เชน่ งานมงคลสมรส งานขน้ึ บา้ นใหม่ ฯลฯ
ทองหยอดเปน็ ขนมจากประเทศโปรตเุ กสมีถิน่ ก้าเนิดจากเมอื งอเวโรเป็นเมอื งชายฝัง่ ทางตะวันตกเฉยี งเหนอื ของประเทศโปรตเุ กสทองหยอด เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาโดยท้าวทองกีบม้าในสมรั ชั กาล ของสมเด็จพระนารายณม์ หาราช เม่ือปี พุทธศักราช ๒๒๐๑ และไดถ้ ่ายทอดวิธี ทา้ ขนมให้กับคนไทยมาจนถงึ ปจั จุบัน ขนมไทย “ทองหยอด” เป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่นของชาวต้าบลบ้านกมุ่ ซ่งึ เกิดข้นึ จากการรวมตัวของคนในชมุ ชนเมอ่ื ประมาณ ๗๐ ปที ผี่ ่านมา โดยได้รวบรวมบรรดาญาตๆิ พี่ ปา้ นา้ อา ตั้งเปน็ กลุ่มไปช่วยงาน ตามงานมงคลและงานประเพณตี ่างๆ โดยทางกลมุ่ จะมคี วาม ช้านาญในเร่อื งของขนมไทยทกุ ชนดิ โดยเฉพาะทองหยอดนับได้วา่ เปน็ ทนี่ ิยม ภายในหมู่บ้านและต้าบลใกลเ้ คยี งวา่ มีความอรอ่ ย สวยงาม คคู่ วรกับงานมงคล
ฝอยทอง (โปรตเุ กส: fios de ovos) เปน็ ขนมโปรตเุ กส ลักษณะเปน็ เส้นฝอยๆ สีทอง ท้าจาก ไขแ่ ดงของไขเ่ ปด็ เคีย่ วในนา้ เดอื ดและนา้ ตาลทราย ชาวโปรตเุ กสใชร้ บั ประทานกบั ขนมปงั กบั อาหารมอ้ื หลักจา้ พวกเนอ้ื สตั ว์ และใชร้ บั ประทานกบั ขนมเคก้ โดยมกี า้ เนดิ จากเมอื งอาไวโร่ (โปรตเุ กส: Aveiro) เมอื งชายฝง่ั ทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของประเทศ โปรตุเกส
กล้วยบวชชีเปน็ ขนมหวานไทยชนิด เหน่งึ สว่ นประกอบหลกั ของกลว้ ยบวชชีประกอบดว้ ย กล้วย น้าว้า มะพร้าวหรอื น้ากะทิ ในสมัยกอ่ นคนไทยนยิ มใชก้ ะทิ เปน็ ส่วนประกอบของอาหารจึงท้าใหเ้ กิดเมนนู ้ี ปัจจุบนั สามารถใช้กล้วยไขแ่ ทนได้ ชาวอีสานสมัยกอ่ นนิยมท้ากลว้ ย บวชชเี พอ่ื รบั ประทานกันภายในครอบครวั หลังจากทา้ งาน การเกษตร ท้าไร่อยา่ งเหนด็ เหนอ่ื ยโดยใช้วัตถุดบิ จากกล้วย ภายในบ้านของตนเอง นอกจากนีย้ งั น้ากลว้ ยบวดชีไปทา้ บญุ ที่ วดั ใช้รบั แขกทีม่ าบา้ น งานขนึ้ บ้านใหม่หรอื ตามประเพณีต่าง สาเหตทุ ชี่ ่อื กล้วยบวชชี เพราะสจี ะค่อนขา้ งขาว จงึ เปรียบได้ กบั เคร่ืองแต่งกายของชี
ขนมเปี ยกปูน จดั เปน็ อาหารท่คี นในสมัยกอ่ นได้คดิ ประดษิ ฐข์ น้ึ โดยดดั แปลงมาจากขนมกวนหรือกาลาแม แต่ไม่ มีการใส่กะททิ ีม่ ชี อ่ื วา่ ขนมเปียกปูน ก็เพราะส่วนผสมไทย ชนิดน้มี ีนา้ ปูนใส เป็นสน่ ประกอบส้าคญั อยดู่ ้วย เปน็ ขนมไทย โบราณอีกชิดหน่ึงทีย่ งั หาทานได้ในปัจจบุ ันขนมจะมีลักษณะ นิม่ ๆมมี ะพรา้ วขดู ฝอยโรยหนา้ สขี นมจะเป็นสดี า้ ซ่ึงคนในสมยั โบราณใช้ภูมิปญั ญาในการหาสีดา้ จากธรรมชาติโดยใช้กาบมะ พรา้ มเผา แต่ในปจั จบุ ันมกี ารดัดแปลงสูตร จากขนมเปียก ปูนสดี ้ามาเปน็ มีสเี ขียวโดยใช้น้าใบเตยเปน็ สว่ นผสมแทนกาบ มะพร้ามเผา
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: