Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ แนวการดำเนินการลดการบ้าน-

หนังสือ แนวการดำเนินการลดการบ้าน-

Published by siamlaem, 2020-10-06 06:24:54

Description: หนังสือ แนวการดำเนินการลดการบ้าน-

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินงานตามนโยบาย ลดการบา้ น ลดการสอบ และเพิ่มการเรยี นรู้ ความเปน็ มา กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายลดการบ้าน ลดการสอบ เพ่ิมการเรียนรู้ โดยปรับลด หรือบูรณาการ การส่ังการบ้าน โดยให้การบ้านเป็นสว่ นหนึ่งของการเรียนรู้ รวมท้งั กาหนดแนวทางท่ีเหมาะสมในการประเมินตาม เน้อื หาและธรรมชาติวิชา เช่น การวดั ผลผ่านการทากิจกรรม การปฏบิ ตั ิงานของเด็ก หรือประเมนิ จากผลงาน เพ่ือ ทดแทนการทดสอบ มุ่งเน้นการประเมินเพ่ือพัฒนานักเรียน สอดคล้องกับการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เพ่ือ เพ่ิมการเรยี นรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานจงึ จัดทาแนวทางการลดการบา้ น ลดการสอบ และ เพ่มิ การเรยี นรู้ รายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ นิยามศัพท์ การบ้าน คือ ภาระงานที่ครูมอบหมายให้นักเรียนปฏิบัติเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนปกติ เพ่ือฝึกฝน ทักษะให้เกิดความชานาญ หรือความคล่องแคล่ว ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจและ ประสบการณ์ รวมท้ังเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนบทเรียนต่อไป เช่น แบบฝึกหดั การทางานบ้าน การอ่าน หนังสือ การทารายงาน โครงงาน เปน็ ต้น การลดการบ้าน หมายถึง การลดปริมาณภาระงานของนักเรียน โดยมอบหมายภาระงานตาม ความจาเป็น และความเหมาะสมทั้งในด้านการพัฒนาทักษะท่ีจาเป็น วัย และธรรมชาติของนักเรียน เพื่อให้ นกั เรยี นมีเวลาในการเรียนรแู้ ละคน้ หาจดุ มุ่งหมายของตนเองเพ่ิมขน้ึ การสอบ คือ การใช้เคร่ืองมือหรือวิธีการอันมีระบบในการตรวจสอบคุณลกั ษณะ หรือพฤติกรรม ของนักเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตร หรือจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ว่าได้ก้าวหน้าหรือ พัฒนาไปเพียงใด ซ่ึงเป็นเป้าหมายการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับนักเรียน เช่น การทาแบบทดสอบ การซักถาม การสัมภาษณ์ การตรวจการบ้าน การสังเกตพฤติกรรม การประเมินตามสภาพจริง การใช้ แฟม้ สะสมงาน การตรวจรอ่ งรอยหลักฐาน และการเขา้ ร่วมกิจกรรมทงั้ ในและนอกสถานศึกษา เป็นตน้ การลดการสอบ หมายถึง การลดการประเมินด้วยแบบทดสอบ เปล่ียนเป็นการประเมินระหว่างเรียน ดว้ ยวิธีการอนื่ ๆ ท่ีไมส่ รา้ งความเครียดใหก้ บั เดก็ พัฒนาการเรียนรู้ของนกั เรียนอยา่ งเหมาะสม การเพ่ิมการเรียนรู้ หมายถึง การกาหนดแนวทางร่วมกันของครู ในการลดส่ิงที่ไม่เอื้อต่อ การเรียนรู้ สร้างการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด การแสวงหาความรู้ เน้นให้นักเรียนปฏิบัติผ่านสถานการณ์จริง หรือบทบาทสมมติ ที่นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้จากการเรียนรู้ด้วยกระบวนการที่ครูร่วมกันวางแผน เป็นอย่างดี เน้นการบูรณาการเนื้อหาหรือรายวิชา เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนเชื่อมโยงองค์ความรู้ เป็นการเรียนรู้ อยา่ งมีความหมาย จนกลายเป็นสมรรถนะในตวั นกั เรียน หลกั การลดการบ้าน ลดการสอบ และเพมิ่ การเรียนรู้ หลักการลดการบา้ น ๑. ลดการบ้าน/ภาระงานท่ีครูมอบหมายให้นักเรียนทานอกห้องเรียนหรือท่ีบ้าน โดยเน้น ให้นกั เรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมให้เสร็จในห้องเรยี น ๒. มอบหมายการบ้านเฉพาะวิชาท่ีเป็นทักษะที่จาเป็น เช่น ภาษาไทย คณิตศาสตร์ โดยสามารถ ใหก้ ารบา้ นใหเ้ หมาะสมไดเ้ ท่าท่จี าเปน็ โดยเนน้ การบา้ นทส่ี ่งเสริมการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเปน็ ๓. บูรณาการการบ้านท้ังภายในรายวิชาเดียวกันและข้ามรายวิชา โดยให้เป็นชิ้นงาน/ภาระงานเดียว ตามความเหมาะสมของธรรมชาติวชิ า

2 หลกั การลดการสอบ ๑. ลดการใช้ข้อสอบในการประเมินคุณภาพผู้เรียนระหว่างเรียน โดยปรับเปลี่ยนวิธีการ ใหเ้ หมาะสมตามธรรมชาติวชิ า ๒. ปรับเปลี่ยนเป็นการประเมินในรูปแบบอื่นท่ีหลากหลาย เช่น สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ในห้องเรียน การตอบคาถาม การสัมภาษณ์ การให้ข้อมูลย้อนกลับ การตรวจสอบร่องรอยหลักฐานหรือ กจิ กรรมทน่ี กั เรียนไดป้ ฏบิ ตั ทิ งั้ ในและนอกห้องเรยี น เปน็ ตน้ หลักการเพิ่มการเรียนรู้ ๑. ปรับกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติผ่านสถานการณ์จริง หรือบทบาทสมมติ ๒. ส่งเสริมกระบวนการคดิ การแสวงหาความรู้ ๓. ลดบทบาทการสอนของครูในห้องเรียน โดยเพ่ิมเวลาให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง มีการถกแถลง และอภิปรายกันมากขึ้น แนวปฏิบตั กิ ารลดการบา้ น ลดการสอบ และเพม่ิ การเรียนรู้ ๑. มอบหมายการบ้านให้เหมาะสมเท่าที่จาเป็นตามจุดเน้นการเรียนรู้ เพ่ือให้การบ้าน มีความสาคัญและฝึกหรือทบทวนอย่างมีเป้าหมาย รวมทั้งกาหนดแนวทางการตรวจสอบผลการเรียนรู้จาก พฤติกรรมหรือความสามารถท่ีนกั เรียนแสดงออกวา่ มีและหรือใช้ความร้/ู ทักษะในการร่วมกิจกรรม ทางานหรือ ลงมือปฏบิ ัติงาน เพอื่ ทดแทนการสอบดว้ ยแบบทดสอบอย่างเหมาะสม และตามความจาเป็น ๒. ตรวจสอบปริมาณการบ้านของนักเรียนรายห้องเรียน เพื่อให้การมอบหมายการบ้าน มคี วามเหมาะสมกบั ระยะเวลาทใี่ ช้ทาการบ้านของนักเรียนแตล่ ะวัย ๓. บูรณาการเน้ือหาการเรียนรู้ท่ีใกล้เคียงกันทั้งภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้และระหว่าง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ เพื่อให้นักเรยี นมเี วลาในการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามความสนใจมากข้นึ ๔. วางแผนกาหนดช่วงเวลาให้การบ้านและการสอบ เป็นรายสัปดาห์ หรือรายเดือน เพื่อ หลีกเลี่ยงความทับซ้อน ทั้งด้านปริมาณและระยะเวลาท่ีใช้ในการทาการบ้าน การสอบ ตลอดจนพิจารณา ความเหมาะสมตามพฒั นาการของนักเรยี นแต่ละชว่ งวยั ๕. ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความเชื่อมโยงและต่อเน่ืองกันระหว่างช่วงเวลา ที่นักเรียนเรียนรู้ท่ีโรงเรียนและบ้าน ตัวอย่างเช่น เนื้อหาท่ีเป็นแนวคิดหรือหลักการ จาเป็นต้องใช้การทา ความเข้าใจและการอธิบายเพิ่ม ควรเป็นช่วงเวลาท่ีเด็กเรียนในห้องเรียน จากนั้นมอบหมายให้เด็กปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่องที่บ้าน การบ้านที่มอบหมายควรต่อเนื่องกับเรื่องท่ีเรียนมาแลว้ ซ่ึงนักเรียนสามารถ เรยี นร้แู ละทบทวนไดด้ ้วยตัวเอง และมคี วามจาเป็นตอ่ การเรียนรูข้ องนักเรยี น ๖. ลดจานวนคร้ังของการสอบระหว่างเรียน ประเมินเท่าที่จาเป็น โดยเน้นการประเมินเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หากจาเป็นต้องมีการใช้ข้อสอบในการทดสอบคุณภาพผู้เรียน ให้เน้น ข้อสอบวัดทักษะการคิดขั้นสูงท่ีประกอบด้วยสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้ กระบวนการ/ทักษะ มีข้อคาถามท่ีย่ัวยุให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสินใจ และคิดสร้างสรรค์ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน เขยี นแสดงเหตุผล แนวคิด หรือหลักการตามความเหมาะสมในแตล่ ะระดับช้ัน ๗. จดั เตรยี มแหลง่ เรยี นรู้ที่หลากหลายสาหรับนักเรยี นศึกษาค้นคว้า โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยกุ ตใ์ ช้ ๘. ส่งเสริมให้นักเรียนคัดสรรผลงานที่แสดงถึงพัฒนาการและสมรรถนะของนักเรียน ใส่ลงใน แฟ้มสะสมผลงาน ตามจุดมุ่งหมาย ได้แก่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ โดยอาจดาเนินการในรูปแบบ สือ่ ดจิ ิทัล เช่น วดี ทิ ัศน์ ภาพถ่าย เปน็ ต้น ๙. ให้ผบู้ ริหารสถานศึกษากากับ ติดตามการใหก้ ารบา้ นของครูอย่างสม่าเสมอ และตอ่ เน่ือง ๑๐. ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากากับ ติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษา ให้เปน็ ไปตามแนวปฏิบตั ิการลดการบ้าน ลดการสอบ และเพม่ิ การเรียนรู้

3 กำรมอบหมำยภำระงำน ป.๑-๓ เนน้ กำรอำ่ น กำรบ้ำน ในรำยวชิ ำปกติ กำรเขยี น กำรคิดคำนวณ เชงิ บรู ณำกำร ภำระงำนทำจบในห้องเรยี น ๒ ลด ๑ เพ่มิ ลดการบ้าน กำรมอบหมำยภำระงำน แบบบูรณำกำร บูรณำกำรเนอื้ หำสำระ ร่วมกนั วางแผน เรียนครบ จบในช้ันเรยี น ภำยในรำยวิชำเดยี วกนั กาหนดช่วงเวลา มอบหมำยภำระงำน ปรมิ าณการบา้ น เท่ำทจ่ี ำเปน็ ตำมจุดเน้น บูรณำกำรขำ้ มรำยวิชำ กำรเรียนรู้ หรอื และการสอบ บูรณำกำร ออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ลดการสอบ ลดกำรทดสอบ ประเมนิ ด้วยวธิ กี ำร ภำระงำน คัดสรรเข้ำแฟม้ ใหเ้ ชอ่ื มโยงกัน ระหวำ่ งเรยี น ทเ่ี หมำะสม เช่น ควรทำ สะสมผลงำน ลดจำนวนครง้ั ของ เปลยี่ นเปน็ กำรประเมิน ซักถำม สังเกต ในหอ้ งเรยี น จดั เตรียม กำรสอบ เนน้ กำรประเมนิ ทห่ี ลำกหลำย ตรวจผลงำน แต่ถ้ำทำ ตำม แหลง่ เรียนรสู้ าหรบั เพ่อื ปรับปรงุ และพฒั นำ ประเมินภำคปฏิบตั ิ นอกหอ้ งเรยี น จุดม่งุ หมำย คน้ ควา้ ท่หี ลากหลาย นักเรียน (กำรศกึ ษำตอ่ คณุ ภำพผเู้ รียน สำมำรถ รว่ มกับ ทำเองได้ หรือ การนาเทคโนโลยี นกั เรียนมีสว่ นรว่ ม กำรประกอบ สารสนเทศมา ในกำรกำหนด อำชีพ) ประยกุ ต์ใช้ สิง่ ท่ีเรียนรตู้ ำมสมควร เพ่มิ การเรยี นรู้ (Co-designing) Problem-based Learning Project-based Learning ปรับกระบวนกำรเรยี น ปรบั เปล่ียนเปน็ กำรสอนทเี่ นน้ ให้นกั เรียน การจดั การเรยี นรู้ Open Approach ปฏิบตั ิผำ่ นสถำนกำรณ์จรงิ Inquiry แบบ Active หรือบทบำทสมมติ Learning STEM / STEAM ส่งเสรมิ กระบวนกำรคิด รปู แบบอน่ื ๆ กำรแสวงหำควำมรู้ เพิ่มเวลำให้นักเรียนได้ เรียนรูด้ ้วยตนเอง แผนภาพสรปุ แนวทางการดาเนินงานตามนโยบายลดการบ้าน ลดการสอบ และเพ่ิมการเรียนรู้ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook