Gibberellin (GA) Bioassay
ผลของ GA3 ต่อความยาวช่อ และขนาดของผลองุ่น ชนิดไม่มีเมลด็
ผลของ GA3 ต่อความยาวช่อ และ ขนาดของผลอง่นุ ชนิดไม่มีเมลด็
การค้นพบ ฮอร์โมนพชื ชนิดท่ี 44. กรดแอบไซซิค (abscisic acid หรือ ABA) ค้นพบจาก การศึกษาสารเร่งกระบวนการร่วงของใบท่เี รียกว่า abscission และ เมอื่ มกี ารทาให้บริสุทธิพบว่าเป็ นสาร ตวั เดยี วกนั กบั สารยบั ย้งั การเจริญของตา (bud dormancy-inducing substances) ทเี่ รียกกนั ว่า dormin และสารยบั ย้งั การยดื ตวั ของ coleoptile โดย auxin (IAA) ทเ่ี รียกว่า growth inhibitor ชื่อ abscissic acid หรือ ABA เป็ นที่ยอมรับกนั ในปี 1967
แหล่งที่สร้าง และ หนา้ ท่ีสาคญั ของ ABAแหล่งทส่ี ังเคราะห์ ในพชื ช้ันสูง คอื มกี ารสังเคราะห์ได้ท้งั ที่ บริเวณ ลาต้น ราก ใบ และ ทผี่ ล เป็ นฮอร์โมนทตี่ ่างจาก 3 ตวั แรก คอื เป็ นสารชนิดเดยี วคอื abscisic acidหน้าทสี่ าคญั ของABA เริ่มต้นคดิ ว่าทาหน้าทเ่ี กยี่ วกบั การร่วงของใบ และการยบั ย้งั การเจริญของตา แต่ในปัจจุบันพบว่าเกย่ี วกบั สองขบวนการนี้ น้อย การหน้าทห่ี ลขั อง ABA คอื ยบั ย้งั การเจริญ หรือ ยบั ย้งั การทางานของฮอร์โมนชนิดอน่ื ๆ - ยบั ย้งั การงอกของเมลด็ กระตุ้นการปิ ดของปากใบเมอ่ื ขาดนา้
การค้นพบ ฮอร์โมนพชื ชนิดท่ี 55. เอทลิ นี (ethylene) เป็ นทที่ ราบกนั มานานแล้วว่า ผลไม้สุก หรือ ผลไม้ทเี่ น่าเสีย จะมผี ลไปเร่งให้ผลไม้อนื่ สุกเร็วขนึ้ ซึ่ง พบว่าเกดิ จากการปล่อยสารระเหยบางชนิดออกมา และ ในปี 1934 R. Gane เป็ นผู้พสิ ูจน์ว่า สารนีค้ อื เอทลิ นี (C2H4) ต่อมาพบว่า นอกจากจะมผี ลในการกระตุ้นการสุกของผลไม้ แล้ว ยงั มผี ลต่อพชื ในแง่อนื่ ๆ อกี หลายอย่าง เช่น การร่วง ของใบ การออกดอกของสับปะรด การเพม่ิ ปริมาณของนา้ ยางพารา เป็ นต้น เป็ นฮอร์โมนชนิดเดยี วท่เี ป็ นก๊าซ
แหล่งทสี่ ร้าง และ หน้าที่สาคญั ของ เอทลิ นี (C2H4)แหล่งทส่ี ังเคราะห์ ในพชื ช้ันสูง คอื เนือ้ เยอื่ ผลไม้ทสี่ ุก ใบแก่ และ ดอกหน้าทสี่ าคญั ของเอทลิ นี กระตุ้นการสุกของผลไม้ - กระตุ้นการร่วงของใบ กระตุ้นการออกดอก - ยบั ย้งั การยดื ตัวของลาต้น ยบั ย้งั หรือ กระตุ้นการออกราก ใบ หรือ ดอก แล้วแต่ชนิด ของพชื และ มผี ลต่ออกี หลายๆ ขบวนการของพชื ท่ีเกย่ี วกบั ความแก่ (Aging or Senescence) โดยทาหน้าทร่ี ่วมกบั hormone ชนิด อน่ื ๆ
เอทลิ นี กระตุ้นการออกดอกของสับปะรด
เอทลิ นี กบั การสุกของผลไม้
เอทลิ นี กบั การสุกของผลไม้
Climateric & non-climateric Respiration
Climateric VS Non-climateric Fruitsกล้วย ส้ มมะม่วง มะนาวมะละกอ ลนิ้ จ่ีแอปเปิ ล สับปะรดสาลี่ มะเขอื เทศมะเขอื เทศ องุ่น
อที ฟี อน (Ethephon) เอทิลนี สังเคราะห์เนื่องจาก เอทลิ นี เป็ นก๊าซ ทาให้การใช้ไม่สะดวก ใน หลายกรณี จงึ มกี ารสังเคราะห์สารชื่อ อที ฟี อน (Ethephon) ซ่ึงคอื สาร 2-chloroethyl phosphonic acid ทเ่ี ป็ นสารกงึ่ แขง็ ทส่ี ลายตัวให้ก๊าซเอทลิ นี ออกมา ใช้แทน โดยมชี ่ือทางการค้าแตกต่างกนั ออกไป เช่นอเี ทรล (Ethrel) ,อเี ทรล ลาเทก็ ซ์ (Ethrel latex), ซีฟา (Cepha) หรือ อโี ซฟอน (Esophon) เป็ นต้น
อที ีฟอน (Ethephon) เอทิลนี สังเคราะห์การใช้ เอทลิ นี หรือ เอทลิ นี สังเคราะห์ ปัจจุบนั ใช้กนั อย่างกว้างขวาง ในการ บ่มผลไม้ให้สุกเร็วขนึ้ และ พร้อมกนั การเร่งดอกสับปะรดให้ออกพร้อมกนั การเร่งสีขององุ่น และ มะเขอื เทศ เป็ นต้นในบางกรณี อาจใช้ ถ่านก๊าซ (Calcium Carbide) ซ่ึง ปล่อย ก๊าซอะเซทลิ นี (Acetylene) บ่มผลไม้แทนได้ แต่ไม่ดเี ท่า
ฮอร์โมนของพชื ทร่ี อการค้นพบ ?1. Florigen ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอกที่ เกดิ จาก ช่วงแสง (Photoperiodism)2. Vernalin ฮอร์โมน กระตุ้นให้ออกดอก จากอุณหภูมติ า่ (Vernalization)
Florigen ฮอร์โมนของพชื ทร่ี อการค้นพบ ?
การตอบสนอง ต่อช่วงแสง(Photoperiod)ต่อการออกดอกผ่าน Florigen ฮอร์โมน หรือไม่ ?
Phytochromes as Photoreceptors
Phytochrome Regulation of Seed Germination
Defensive Response To Herbivore
ข้อแตกต่างระหว่าง ฮอร์โมนพชื กบั ฮอร์โมนสัตว์1. แหล่งสังเคราะห์ในพชื ไม่แน่นอน เหมอื นในสัตว์2. ตาแหน่งการทางานในพชื ไม่แน่นอน และ ไม่จาเป็ นต้อง เป็ นคนละทก่ี บั แหล่งสร้าง3. การทางานโดยความเข้มข้นของฮอร์โมน ไม่ชัดเจน4. การทางานของฮอร์โมนพชื แต่ละตวั มหี ลายอย่าง และ มกั ทางานร่วมกบั กบั ฮอร์โมนชนิดอน่ื ๆ ด้วยเสมอ* ดงั น้ันบางคนจงึ ไม่อยากเรียกว่า ฮอร์โมนพชื ( Plant Hormones) แต่เรียกว่า สารควบคุมการเติบโต ( Plant Growth Regulators หรือ Substances ) แทน
Search