สรปุ ผลการดำเนินงาน โครงการ การพฒั นาศักยภาพดา้ นเทคโนโลยี วนั ท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ สถานที่ โซน IT ศูนยภ์ าษา ห้องภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag ศนู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space กาญจนบรุ ี ณ หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั กาญจนบุรี ตำบลบ้านเหนือ อำเภอเมอื งกาญจนบุรี จงั หวัดกาญจนบรุ ี โดย นางสาวสุภาภรณ์ หวงั เลิศพาณิชย์ บรรณารกั ษป์ ฏบิ ตั กิ าร สังกัด ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งกาญจนบุรี สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จงั หวัดกาญจนบุรี สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สรุปผลการดำเนินโครงการ ชื่อโครงการ การพัฒนาศกั ยภาพด้านเทคโนโลยี ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวสุภาภรณ์ หวงั เลศิ พาณชิ ย์ ระยะเวลาและสถานทด่ี ำเนนิ การ วันท่ี 17 มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ โซน IT ศูนย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อใหน้ กั ศกึ ษามีความรู้ และทักษะด้านเทคโนโลยีเพือ่ ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ความสอดคลอ้ ง นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ขอ้ ๑ ดา้ นการจัดการเรยี นรู้คุณภาพ 1.6 สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลกั สูตรการเรียนรใู้ นระบบออนไลน์ ดว้ ยตนเองครบวงจร ตง้ั แตก่ ารลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่อื จบหลกั สตู ร ท้ังการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและ ขยายโอกาสในการเรยี นรู้ให้กบั กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเรยี นรู้ได้สะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการ ของผเู้ รยี น ข้อ ๒ ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิต ท่ีเนน้ การพฒั นาทกั ษะท่จี ำเปน็ สำหรับแต่ละ ชว่ งวยั และการจัดการศึกษาและการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกบั แต่ละ กลุ่มเป้าหมายและบรบิ ทพ้ืนท่ี 2.8 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทลั และทกั ษะด้านภาษา ให้กบั บุคลากร และผเู้ รียน กศน.เพ่อื รองรับการพฒั นาประเทศ รวมทั้งจดั ทำกรอบสมรรถนะดจิ ิทัล (Digital Competency) สำหรบั ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 2.10 ส่งเสริมและสร้างนวตั กรรมของผเู้ รียน กศน. ข้อ 3 ดา้ นองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้คณุ ภาพ 3.5 ส่งเสริมและสนบั สนุนการสรา้ งพ้นื ท่ีการเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/Co-Learning Space เพอ่ื การสร้างนิเวศการเรยี นรู้ให้เกิดขึน้ สังคม กล่มุ เป้าหมาย นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองกาญนบุรี จำนวน 13 คน
ตวั ช้วี ัดโครงการและค่าเปา้ หมาย 1) รอ้ ยละความพงึ พอใจผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ร้อยละ 61.53 งบประมาณ 910 บาท ๕๖๐ บาท งบประมาณท่ขี ออนุมตั ิ งบประมาณทใี่ ชจ้ รงิ องคค์ วามรทู้ ่ีได้ การประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมเพ่อื การปฏิบัตงิ าน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ปญั หา/อปุ สรรค กลมุ่ ผู้เรียนมีทกั ษะในการใช้คอมพวิ เตอร์ท่ีแตกต่างกัน การนำเอาผลประเมินไปพัฒนา/ปรบั ปรงุ /แกไ้ ข โดยมแี ผนการปรบั ปรงุ ดังนี้ สร้างกลุม่ ผู้เรยี นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย ลงชอื่ ............................................................ ผ้รู ายงาน ( นางสาวสภุ าภรณ์ หวังเลิศพาณิชย์ )
บทที่ ๑ บทนำ ปัจจุบัน “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้เข้ามามีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนา ประเทศ โดยช่วย ขับเคลื่อนให้ประเทศกาวไปสู่เศรษฐกิจและสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ อีกทั้งยังมีส่วนทําให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในปัจจุบันมีความ สะดวกสบายมากข้ึน ทําให้คนใน สังคมมีการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเรว็ มีการทาํ กิจกรรมหลายส่ิงหลายอย่างรว่ มกันได้ การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ด้านวิศวกรรม ด้านสถาปัตยกรรม และด้านการศึกษา เป็นต้น ซ่ึงกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร และกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่จะให้ประชาชนทุกคนมีความเสมอ ภาคเท่าเทียม ในการเข้าถึง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารโดยเฉพาะการพฒั นาความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารด้านการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งมโี ครงสร้าง พื้นฐานที่เพียงพอ ในการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีการนําไปใช้เพื่อการ บริหารจัดการทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพและเอ้อื ใหป้ ระชาชนทวั ไปสามารถเข้าใช้บริการทางการศกึ ษาไดอ้ ยา่ ง ท่ัวถึง ในยุคสังคมโลกาภิวัตน์นี้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีความจําเป็นต่อการ ดําเนิน ชีวิตประจําวันเป็นอย่างสูง อาจเรียกได้ว่าเป็นปัจจัยพ้ืนฐานท่ีมนุษย์ทุกคนควรมีและ เรียนรู้ไว้ เนื่องจากการติดต่อ การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ล้วนแต่ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นส่ือผ่านระหว่างกันและกัน อีกท้ังยังสามารถ นําไปใช้กับ ระบบทางการศึกษาได้เป็นอย่างดีรวมไปถึงองค์กรต่างๆ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เพราะมีความ สะดวกสบาย รวดเร็ว ง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งของข้อมูลข่าวสารที่ต้องการในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน มากยิ่งข้ึน
๑. ชือ่ โครงการ การพฒั นาศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยี ๒. สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนินงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ขอ้ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ 1.6 สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนร้ใู นระบบออนไลน์ ดว้ ยตนเองครบวงจร ตั้งแตก่ ารลงทะเบียนจนการประเมินผลเม่อื จบหลักสตู ร ทง้ั การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและ ขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กบั กลุ่มเปา้ หมายที่สามารถเรียนรู้ได้สะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการ ของผเู้ รยี น ข้อ ๒ ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิต ท่เี นน้ การพฒั นาทกั ษะทจี่ ำเปน็ สำหรบั แต่ละชว่ งวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแตล่ ะกลุม่ เป้าหมายและ บรบิ ทพนื้ ที่ 2.8 สง่ เสรมิ การพฒั นาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษา ให้กับบุคลากร และผเู้ รยี น กศน.เพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศ รวมท้ังจัดทำกรอบสมรรถนะดจิ ทิ ัล (Digital Competency) สำหรับครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 2.10 สง่ เสริมและสรา้ งนวตั กรรมของผู้เรียน กศน. ขอ้ 3 ดา้ นองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนร้คู ุณภาพ 3.5 สง่ เสริมและสนบั สนุนการสร้างพน้ื ท่ีการเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/Co-Learning Space เพื่อการสรา้ งนิเวศการเรียนรู้ใหเ้ กดิ ข้ึนสงั คม ๓. หลักการและเหตผุ ล สำนักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ตระหนักถึงความสำคัญของการพฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต ไดม้ งุ่ มั่นขับเคลอ่ื นภารกิจตาม หลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการ บริหารจัดการท้ังในเร่ืองหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ ทรัพยากรด้านการจดั การศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย การเรียนรู้ตลอดชีวิตนับว่ามี ความสำคัญ และสามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน ผูเ้ รียนสามารถเลือกเรยี น และเรยี นรตู้ าม ความถนัด และความสนใจ นอกจากน้นั ยังทำให้เรารูส้ กึ ว่ามีคณุ คา่ ในตนเอง โดยม่งุ ไปยังแนวคดิ และ เป้าหมายท่ีสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้กับตนเอง เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตได้อย่างต่อเน่ืองตลอด ชวี ติ
สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้โอนการจัดสรรงบประมาณ ประจำปี พ.ศ.2565 แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับ การศึกษาข้นั ฐาน งบเงนิ อดุ หนนุ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน ภาคเรียนที่ 1/2565 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้ของบประมาณเพ่ือการจัดกิจกรรมคุณภาพ ผูเ้ รียนให้กับนกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี จำนวน 13 คน โดยมคี รู กศน.ตำบลเป็นครูผูส้ อน เพ่ือให้นักศึกษา นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ ด้าน เทคโนโลยีให้กับผู้เรียน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี จึงได้จัดทำการพัฒนาศักยภาพด้าน เทคโนโลยี ขึ้น ๔. วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้นกั ศกึ ษามีความรู้ และทักษะดา้ นเทคโนโลยีเพอื่ ใช้ในชีวติ ประจำวัน ๕. เป้าหมาย ๕.๑ เชงิ ปริมาณ นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมอื งกาญนบรุ ี จำนวน 13 คน นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองกาญจนบุรี จำนวน ๓ คน นักศึกษา กศน.ตำบลบ้านเหนือ จำนวน ๑ คน นกั ศึกษา กศน.ตำบลบ้านใต้ จำนวน ๕ คน นักศกึ ษา กศน.ตำบลปากแพรก จำนวน ๑ คน นักศกึ ษา กศน.ตำบลท่ามะขาม จำนวน ๑ คน นักศกึ ษา กศน.ตำบลแกง่ เส้ยี น จำนวน ๑ คน นักศึกษา กศน.ตำบลหนองบัว จำนวน ๑ คน ๕.๒ เชงิ คุณภาพ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน เทคโนโลยีให้นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งกาญจนบรุ ี เพ่ือประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน
๖. วธิ ีดำเนินการ วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย กจิ กรรมหลกั 1. P (Plan) จัดทำแผนการจัด ๑. เพอื่ วางแผนให้ 1. รว่ มประชมุ ก กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการดำเนินการตาม จดั ทำแผนกจิ กรร พัฒนาคุณภาพ - ประสานครผู ู้สอนและจดั ทำ ระยะเวลาท่ีกำหนด ผู้เรียน หลักสูตรการเรยี นรู้ และ 2. เพอ่ื ดำเนนิ การจัด 2. ครผู ู้สอน 3. ผู้นเิ ทศกิจกรร กำหนดการสอน โครงการ กจิ กรรมตาม - ขออนุญาตจัดทำโครงการ แผน การใช้จ่ายเงิน 2. D (Do) จัดโครงการการพฒั นา งบประมาณ ศักยภาพดา้ นเทคโนโลยี 3. เพอื่ จัดทำแผน 3. (Check) ข้นั ตอนการตรวจสอบ การสอน - ขนั้ ตรวจสอบ - การนิเทศกิจกรรม - ประเมนิ ผลโครงการ - สรุปผล/รายงานผล ๔. (Action) ขน้ั ปรับปรงุ แกไ้ ข นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข 4. การประเมินพึงพอใจ ต่อการเข้ารว่ มโครงการ การรายงานผลเมื่อเสรจ็ ส้นิ โครงการ
ผูร้ บั ผิดชอบ พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดำเนนิ การ (บาท) การ กลุม่ งานแผนและ วนั ที่ 17 มถิ ุนายน รม งบประมาณ ห้องประชุม 2565 จำนวนเงนิ งบประมาณ อ.รักษส์ ดุ า พรานเจริญ Co-Working 910 บาท อ.ภทั รานษิ ฐ์ หนขู าว Zone ( เกา้ ร้อยสิบ และ บาทถ้วน) รม หอ้ งสมุด ประชาชน จังหวดั กาญจนบุรี โซน IT ศนู ย์ ภาษา ห้อง ภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag
7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณ ประจำปี พ.ศ.2565 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ ฐาน งบเงินอุดหนุน กิจกรรม ค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรยี น ภาคเรียนท่ี 1/2565 เป็นจำนวนเงิน 910 บาท (เก้าร้อยสิบบาทถ้วน) งบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการจัด กจิ กรรม ดงั น้ี - ค่าอาหารและเครอ่ื งดม่ื จำนวน 13 คน มื้อละ 70 บาท เปน็ จำนวนเงิน 910 บาท (เก้าร้อยสิบบาทถว้ น) ๘. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ กจิ กรรมหลัก (ต.ค.-ธ.ค. ๖4) (ม.ค.-มี.ค. ๖5) (เม.ย.-ม.ิ ย. ๖5) (ก.ค.-ส.ค ๖5) การจดั การเรยี นการสอนดา้ น 910 บาท เทคโนโลยี เรอื่ งโปรแกรม Mega World รวมเงนิ 910 บาท ๙. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสุภาภรณ์ หวงั เลศิ พาณชิ ย์ บรรณารกั ษป์ ฏิบัตกิ าร ๑๐. เครอื ข่าย - ๑๑. โครงการ/กิจกรรมที่เก่ยี วข้อง ศนู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบ Co – Learning Space กาญจนบรุ ี ๑๒. ผลลพั ธ์ (outcome) นกั ศึกษาทีเ่ ข้ารว่ มโครงการสามารถใช้โปรแกรมเพือ่ ประยกุ ต์ใช้ในการเรียนของนกั ศึกษาได้ ๑๓. ตัวช้วี ดั ความสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชว้ี ัดผลผลิต (Output) นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และสามารถใช้โปรแกรมได้ 13.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcome) รอ้ ยละ 80 ของผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจโดยรวมในระดับดีข้ึนไป
บทที่ ๒ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง หลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติการศึกษาตลอดชีวิต เหตุผล เพ่ือให้การ ปฏริ ปู การศกึ ษาและรัฐต้องด าเนนิ การการศกึ ษาตลอดชีวิตใหแ้ ก่ประชาชนทกุ ชว่ งวัยของประเทศให้ เปน็ คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ มีความเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตน มคี วามรบั ผิดชอบ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด าเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้เท่า ทัน การเปลีย่ นแปลงของภูมิสังคม ประเทศและสากล สามารถระดมทรัพยากรและบุคคลเพ่ือความ เปน็ หนุ้ สว่ นในการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ เพ่ือชีวิต สังคม ความมั่นคง ความม่ังค่ัง ของชาติอย่างยั่งยืน พัฒนาประเทศ อย่างต่อเน่ือง โดยรัฐมีหน้าที่ด าเนินการ ก ากับ ส่งเสริม สนบั สนุนความร่วมมอื รูปแบบต่างๆ และสร้างแรงจงู ใจใน การจัดบริการทางการศึกษาตลอดชวี ิตของ ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและผู้รับบริการ ตามแนวทางประชารัฐเพ่ือให้ การศึกษาตลอดชีวิตมี คณุ ภาพได้มาตรฐานสากลและเสริมสร้างความมั่นคงตามนโยบายของชาตไิ ด้ รวมทั้งประชาชน มีสทิ ธิ จัดการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยบรู ณาการการศกึ ษาทุกรปู แบบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งท่เี หมาะสมตาม ความต้องการและความจ าเป็นของผูร้ บั บริการ เพอ่ื น าไปสู่การไดร้ ับโอกาสและความท่ัวถึงในการจัด การศึกษา ตลอดชีวิตตามความต้องการของประชาชนทกุ ช่วงวัยในประเทศ ใหร้ ฐั บาลและทุกภาคส่วน ตอ้ งปฏบิ ตั ิอยา่ งต่อเนอ่ื ง จงึ จ าเปน็ ต้องตราพระราชบัญญตั ินี้ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติน้ี “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า กระบวนการจัดการ ศึกษาที่ผสมผสานระหว่างการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ทุก รูปแบบเพ่ือให้ประชาชนทุกช่วงวยั ท่ีไมส่ ามารถเขา้ รับ การศกึ ษาในระบบ มีความเช่ียวชาญตามความ ถนัดของตน มีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต ให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอต่อการด ารงชีวิต ประกอบอาชีพ และ สามารถรู้เท่าทัน ปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อม สังคม ท่ีเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสม “กระบวนการจัดการเรียนรู้ใน ชุมชน” หมายความว่า การบูรณาการระหว่างการดำรงชีวิต การทำงาน และการเรียนรู้ ทั้งท่ีเป็น ทางการและไม่เป็นทางการ ด้วยการใช้องค์ความรู้หรือภูมิปัญญาในชุมชน ร่วมกับเทคโนโลยีและ นวตั กรรมท่ีเหมาะสมจากภายนอกอย่างผสมกลมกลืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม และใช้ ชุมชนเป็น ฐาน เพ่ือเปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตที่พอเพียงตามวถิ ีชมุ ชนและสามารถปรับตวั ไดท้ นั กับสภาพ การเปล่ียนแปลงของสังคมโลก ๓ “การเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมายความว่า การเปล่ียนแปลงและ พัฒนาที่เกิดขนึ้ ในบคุ คลอนั เป็นผล มาจากการไดร้ ับความรทู้ ักษะ หรอื ประสบการณ์ และเจตคติอยา่ ง ต่อเน่ืองทุกช่วงวัยของชีวิต “ผู้รับบริการ” หมายความว่า ประชาชนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการอย่าง ต่อเนือ่ ง เพอื่ ให้ไดร้ ับ การศกึ ษาตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัตนิ
นโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจำปงบประมาณ พ.ศ.256๕ ยุทธศาสตรชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกำหนดแผนแมบทประเด็นการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดชวง ชีวิตโดยมีแผนยอยที่เกี่ยวของกับการใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการ ขบั เคล่อื นไดแก แผนยอยประเดน็ การพฒั นาการ เรยี นรู และแผนยอยประเด็นการพฒั นาศกั ยภาพคน ตลอดชวงชีวิต ท่ีมุงเนนการสรางสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษย การพัฒนาเด็กต้ังแตชวงการต้ังครรภจนถึงปฐมวัย การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรุน การพัฒนาและ ยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถงึ การสงเสริมศักยภาพวัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ท่ี ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย ประกอบกับ แผนการปฏิรูป ประเทศดานการศึกษา นโยบายรัฐบาลท้ังในสวนนโยบายหลักดานการปฏิรูป กระบวนการเรยี นรู และการพัฒนาศกั ยภาพ คนตลอดชวงชีวิต และนโยบายเรงดวนเรื่องการเตรียม คนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหงชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดบั ชาติ วาดวยความม่นั คง แหงชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะ ไดรับ การพฒั นาการเรียนรูใหเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมคี วามพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศสูความม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยนื และกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจุดเนน ประ จำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพื่อเปน เข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขบั เคลอื่ นการดำเนินงานใหบรรลตุ ามวัตถุประสงคของแผนตาง ๆ ดงั กลาว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงม่ันขับเคล่ือนภารกิจหลัก ตามแผนพฒั นาประเทศ และนโยบาย และจดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทีค่ ำนึงถงึ หลักการบริหาร จัดการท้ังในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร การมุงเนนผลสัมฤทธ์ิ และปฏิบัตกิ ารดานขอมลู ขาวสารการสรางบรรยา กาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการจัดการศกึ ษาอยางมีคณุ ภาพ โดย เนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และ การศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การจัดการเรียนรูคุณภาพ การสราง สมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการ คุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำ ทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพ และเพิ่มประสิทธภิ าพการใหบรกิ ารสำหรับทุกกลุมเปาหมาย และสรางความพึงพอใจ ใหกับผูรับรกิ าร โดยไดกำหนดนโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ดังนี้
หลักการ กศน. เพ่ือประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคุณภาพ” นโยบายและจุดเนนการ ดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดานการจัดการเรยี นรูคุณภาพ 1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอันเกยี่ วเน่อื งจากราชวงศ 1.2 ขับเคลอื่ นการจดั การเรยี นรูท่ีสนองตอบยทุ ธศาสตรชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว าการ และรฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สงเสริมการจดั การศึกษาเพอื่ เสริมสรางความม่นั คง การสรางความเขาใจที่ถกู ตอง ใน การปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูท่ีปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ อดุ มการณ ความยึดม่นั ในสถาบนั หลกั ของชาติ การเรียนรปู ระวตั ิศาสตรของชาติและทองถนิ่ และหน าทคี่ วามเปนพลเมืองที่เขมแขง็ รวมถึงการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมตางๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ท้ังหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานและหลกั สูตรการศึกษาตอเนอื่ ง ใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคลองกับบริบท ท่ีเปลี่ยนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับ บริการ รวมถึงปรับลดความหลากหลาย และความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษา สำหรบั กลุมเปาหมายบนพื้นทีส่ งู พน้ื ท่พี เิ ศษและพน้ื ทช่ี ายแดน รวมท้งั กลุมชาติพนั ธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผู เรียน สามารถเขาถึงการประเมนิ ผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสำคญั กับ การเทยี บระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พฒั นาระบบ การประเมินสมรรถนะผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การ ประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจายอำนาจ ไปยังพนื้ ที่ในการวดั และประเมินผลการเรยี นรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเอง ครบวงจร ตั้งแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษา ตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเปนการสรางและขยาย โอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายทีส่ ามารถเรียนรู ไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของ ผเู รยี น 1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรยี นรขู องสำนกั งาน กศน. ตลอดจน พฒั นาสอ่ื การเรยี นรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังสือ่ การเรยี นรูท่ีเปนส่ือ ท่ีถกู ตองตามกฎหมาย งายตอการสืบคนและนำไปใชในการจัดการเรียนรู 1.8 เรงดำเนนิ การเรอ่ื ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน วยกิต เพื่อการสรางโอกาสในการศกึ ษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทั้งสงเสริมการวิจัยเพื่อเปนฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2. ดานการสรางสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ทีเ่ นนการพัฒนาทกั ษะท่จี ำเปนสำหรบั แตละชวงวัย และการจัดการศกึ ษาและการเรียนรูทเี่ หมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพนื้ ท่ี 2.2 พฒั นาหลักสตู รอาชพี ระยะสน้ั ทเ่ี นน New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคลองกับ บรบิ ท พ้ืนที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมายเชน ผูพกิ ารผูสูงอายุความตองการ ของตลาดแรงงาน และกลุม อาชีพใหมทีร่ องรบั DisruptiveTechnology 2.3 ประสานการทำงานรวมกับศูนยใหคำปรึกษาการจัดตั้งธรุ กิจ(ศูนย Start-up) ของ อาชวี ศกึ ษา จัดอบรมหลกั สตู รวชิ าชีพระยะส้นั ฐานสมรรถนะ ในทกั ษะอนาคต (Future Skills) ใหกบั แรงงานท่ีกลบั ภูมิลำเนาในชวง สถานการณCOVID - 19 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ท่ีเนน “สงเสริม ความรู สรางอาชพี เพิ่มรายได และมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี” ใหมคี ุณภาพมาตรฐาน เปนทย่ี อมรับของตลาด ตอยอดภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชา สัมพนั ธและชองทางการจำหนาย 2.5 สงเสรมิ การจัดการศึกษาของผูสูงอายุเพ่ือใหเปน Active Ageing WorkforceและมีLife skill ในการดำรงชีวิตท่เี หมาะกับชวงวยั 2.6 สงเสริมการจดั การเรยี นรูเพอื่ เตรยี มความพรอม/การปฏิบัตติ วั สำหรับสตรีต้ังครรภ และ จดั กจิ กรรมการเรียนรูสำหรบั แมและเดก็ ใหเหมาะสมกับบรบิ ทของชมุ ชนและชวงวยั 2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาท่ีพัฒนาทักษะที่จำเปนสำหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผพู กิ าร ออทสิ ตกิ เด็กเรรอน และผูดอยโอกาสอนื่ ๆ 2.8 สงเสริมการพัฒนาทกั ษะดิจิทลั และทักษะดานภาษา ใหกบั บุคลากรและผูเรยี น กศน. เพือ่ รองรบั การพฒั นาประเทศรวมทงั้ จัดทำกรอบสมรรถนะดจิ ิทัล (Digital Competency)สำหรับครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 2.9 สงเสรมิ ใหความรูดานการเงนิ และการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสราง วนิ ยั ทางการเงินใหกบั บคุ ลากรและผูเรียน กศน. 2.10 สงเสรมิ การสรางนวัตกรรมของผูเรียน กศน. 2.11 สราง อาสาสมคั ร กศน. เพือ่ เปนเครอื ขายในการสงเสริม สนบั สนุนการจัดการศกึ ษา ตลอดชีวติ ในชุมชน 2.12 สงเสรมิ การสรางและพัฒนานวตั กรรมของบุคลากร กศน. รวมท้งั รวบรวมและเผยแพร เพ่ือใหหนวยงาน / สถานศึกษา นำไปใชในการพฒั นากระบวนการเรียนรูรวมกนั 3. ดานองคกร สถานศึกษา และแหลงเรียนรูคณุ ภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนาที่ของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบนั การศกึ ษา และพัฒนาตอเน่ืองสิรินธร สถานศึกษาขึ้นตรง ศนู ยฝกและพฒั นาราษฎรไทย บริเวณชายแดน เพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพ ในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตในพน้ื ที่ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนยการเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟาหลวง” (ศศช.) ใหมีความพรอมเพอื่ เปนพืน้ ท่ีการเรียนรตู ลอดชวี ติ ที่สำคัญของชุมชน
3.3 ปรบั รปู แบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ท่ีเนน Library Delivery เพ่ือเพ่ิมอัตรากา รอาน และการรหู นังสอื ของประชาชน 3.4 ใหบริการวทิ ยาศาสตรเชิงรกุ Science @homeโดยใชเทคโนโลยีเปนเครอื่ งมอื นำวิทยา ศาสตร สชู ีวติ ประจำวนั ในทกุ ครอบครวั 3.5 สงเสริมและสนับสนุนการสรางพืน้ ที่การเรียนรใู นรปู แบบ Public Learning Space/ Co- learning Spaceเพือ่ การสรางนเิ วศการเรยี นรูใหเกดิ ขน้ึ สงั คม 3.6 สงเสรมิ และสนับสนนุ การดำเนินงานของกลมุ กศน.จังหวดั ใหมีประสิทธิภาพ 4. ดานการบริหารจดั การคุณภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาท โครงสรางของหนวยงานเพื่อรองรับการเปลีย่ นแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสง่ั และขอบงั คับตาง ๆ ใหมคี วามทันสมัย เอือ้ ตอการบริ หาร จัดการ และการจัดการเรียนรู เชน การปรับหลักเกณฑคาใชจายในการจัดหลักสูตรการศึกษาต อเน่ือง 4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากำลัง รวมท้ังกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนำคนเขาสูตำแหนง การยาย โอน และการเล่ือนระดับ 4.4 สงเสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดบั ใหมคี วามรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงใหตรง กับ สายงาน และทักษะทีจ่ ำเปนในการจัดการศึกษาและการเรียนรู 4.5 เสริมสรางขวัญและกำลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน ประกาศ เกยี รติคุณ การมอบโล /วุฒิบัตร 4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุม เหมาะสม เชน การปรบั คาใชจายในการจดั การศึกษาของผูพิการ เด็กปฐมวัย 4.7 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอยางเป นระบบ เชน ขอมูล การรายงานผลการดำเนินงาน ขอมูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบและ เดก็ ออกกลางคัน เด็กเรรอน ผพู กิ าร 4.8 สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมอื ในการบริหารจัดการอยางเต็มรูปแบบ 4.9 สงเสรมิ พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐสูระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพ และความโปรงใสการดำเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.10 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรับ ประชาชน
บทท่ี ๓ วธิ กี ารดำเนินการ วิธกี ารดำเนินการ 1. P (Plan) จดั ทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน - ประสานครูผู้สอนและจดั ทำหลักสตู รการเรยี นรู้ และกำหนดการสอน - ขออนุญาตจดั ทำโครงการ 2. D (Do) จัดโครงการการพัฒนาศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยี 3. (Check) ขั้นตอนการตรวจสอบ - ขนั้ ตรวจสอบ - การนิเทศกจิ กรรม - ประเมนิ ผลโครงการ - สรุปผล/รายงานผล ๔. (Action) ข้ันปรับปรงุ แก้ไขนำผลการประเมนิ มาปรับปรุงแก้ไข ๕. สรุปและประเมินผล แบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อการใช้บริการศูนยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ กศน.ปีงบประมาณ 2565 หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดกาญจนบรุ ี
บทท่ี ๔ สรปุ ผลการดำเนินการ ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลตอบแบบสอบถามของนกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งกาญจนบรุ ีเข้ารว่ มโครงการ การพัฒนาศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยี ความพึงพอใจต่อการใช้บริการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ปีงบประมาณ 2565 หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี 1.1 จำนวนและรอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถามจำนวนตามเพศ จากตารางที่ ๑.๑ มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 8 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม สว่ นใหญเ่ ป็นเพศชาย คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.5 เป็นเพศหญิงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.5 1.2 จำนวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจำนวนอายุ
จากตารางท่ี ๑.2 มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 8 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่อายุระหวา่ ง 15-30 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 100 1.3 จำนวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามจำนวนวฒุ ิการศึกษา จากตารางท่ี ๑.3 มผี ู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 8 คน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ คดิ เป็นร้อยละ 62.5 และระดับชนั้ ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 37.5 1.4 ระดับความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม รายการ รอ้ ยละความพึงพอใจ นอ้ ยที่สดุ การจดั พ้นื ท่บี รกิ ารโซนตา่ ง ๆ 0 ดมี าก ดี ปานกลาง น้อย การจดั อุปกรณแ์ ละส่งิ อำนวย 0 ความสะดวก 71 0 0 การบรกิ ารสือ่ ส่ิงพิมพ์ / ส่อื 87.50 12.50 0 อิเล็กทรอนกิ ส์ การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 53 0 0 0 62.50 37.50 การจัดบรรยากาศท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ 0 44 0 0 50.00 50.00 44 0 0 50.00 50.00 26 0 0 25.00 75.00
รายการ ร้อยละความพึงพอใจ นอ้ ยที่สุด ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย 0 ระดับความพงึ พอใจในภาพรวม 26 0 0 0 25.00 75.00 35 0 0 37.50 62.50 จากตารางที่ 1.4 พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมในภาพรวมอยู่ใน ระดับดีรอ้ ยละ 62.5 เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ขอ้ ทมี่ ีคา่ รอ้ ยละความพึงพอใจระดับดมี ากข้ึนไป สงู สดุ คือ การจัดพ้ืนทบี่ ริการโซนต่างๆ ร้อยละ 87.50 รองลงมา คอื การจัดอุปกรณ์และสงิ่ อำนวย ความสะดวก ร้อยละ 62.5 ตามลำดับ 1.5 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมของผู้เขา้ รับบริการโซนกจิ กรรม จากตารางที่ 1.5 พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจต่อการเข้ารับบริการโซน IT ศูนย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag และโซนพักผ่อน (Relax Zone) มากที่สุดคิด เป็นร้อยละ 88.9 รองลงมาคือโซนส่งเสริมการอ่าน ค้นคว้าข้อมูล และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ (Learning Zone) คิดเป็นร้อยละ 44.4 และรองลงมา โซนกิจกรรม (Activities Zone) คิดเป็น ร้อยละ 22.2
ภาพประกอบ โซน IT ศูนย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag
โครงการการพัฒนาศกั ยภาพด้านเทคโนโลยี วันท่ี 17 มิถุนายน 2565 ณ หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดกาญจนบุรี โซน IT ศูนย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ ( Multimadia Zone and Languag
ตวั อยา่ งการสรา้ งชิ้นงานของผู้เรยี น
การลงทะเบียนออนไลน์ คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรียน
แบบทดสอบหลงั เรียน รปู แบบออนไลน์
ภาคผนวก
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: