Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore article_20191015133936

Description: article_20191015133936

Search

Read the Text Version

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ๕. พระท่ีน่งั เหราประกอบ ช่อื สุวรรณเหรา ยาว ๑๗ วา ๒ ศอก กำ� ลัง ๖ ศอก ๕ น้ิว ๖. พระทนี่ งั่ กราบ ชอื่ สุดสายตา พระวเิ ศษเทยี นส่วยมาศ เมืองจนั ทบรุ ี ตัดไม้มาศยาว ๑ เส้นเศษ ถวาย ๑ ลำ� โปรดใหห้ ลาวเป็นเรอื ยาวตลอดทั้งโคน ๑ เส้น ๓ วา กำ� ลงั ๕ ศอก ๑ คืบ ๕ นว้ิ ๗. พระที่น่ังรอง ช่ือ กลีบสมุทร เมืองไชยา ตัดไม้มาศถวาย โปรดให้หลาวเป็นเรือยาว ๑๕ วา ๒ ศอก กำ� ลัง ๕ ศอก ๕ นวิ้ ๘. พระทีน่ ั่งกราบ ชอื่ ขจรกรุง เมอื งไชยาตัดไมม้ าศถวาย โปรดใหห้ ลาวเป็นเรือยาว ๑๕ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๕ นวิ้ ก�ำลัง ๕ ศอก ๙. พระทนี่ ง่ั กราบ ชอ่ื รุ้งประสานสาย ยาว ๑๖ วา ๘ นิ้ว กำ� ลงั ๔ ศอก ๑ คืบ ๓ นิ้ว ๑๐. พระท่นี ง่ั กราบ ชอื่ ชายลมหวล ยาว ๑๖ วา ๒ ศอก กำ� ลงั ๔ ศอก ๓ นิว้ ๑๑. พระทน่ี ่งั กราบ ชื่อ ประพาศแสงจันทร์ ยาว ๑๕ วา ๑ ศอก ๖ นว้ิ กำ� ลัง ๕ ศอก ๑ คบื ๘ นิ้ว ๑๒. พระทีน่ ่งั กราบ ชอ่ื ตะวนั ส่องแสง ยาว ๑๕ วา ๑ ศอก ๖ น้วิ กำ� ลงั ๕ ศอก ๑ คืบ ๘ นว้ิ ๑๓. พระที่น่ังกราบ ช่ือ แทง่ ทองหลอ่ ยาว ๑๕ วา ๓ ศอก ๑ คืบ ๑๐ นวิ้ กำ� ลงั ๕ ศอก ๘ น้วิ ๑๔. พระที่นง่ั กราบ ชอ่ื ลอ่ ใจชืน่ ยาว ๑๔ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๙ น้วิ ก�ำลัง ๔ ศอก ๑ คืบ ๘ นว้ิ ๑๕. พระท่นี ง่ั กราบ ชื่อ รื่นใจชม ยาว ๑๗ วา ๓ นวิ้ กำ� ลงั ๔ ศอก ๑๑ นว้ิ 45

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๑๖. พระทนี่ ่ังกราบ ช่อื สมทรงสลวย ยาว ๑๕ วา ๓ ศอก ๑ คืบ ๔ นว้ิ กำ� ลัง ๔ ศอก ๑ คบื ๙ นว้ิ ๑๗. พระทน่ี ั่งกราบ ยาว ๑๕ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๓ น้วิ กำ� ลัง ๔ ศอก ๑ คืบ ๕ นวิ้ ๑๘. พระท่นี ัง่ กราบ ชอ่ื ราไน ยาว ๑๒ วา ๒ ศอก ก�ำลัง ๔ ศอก ๑ คบื ๑๐ นิว้ ๑๙. พระที่นั่งกราบ ช่ือ สุทธาทิพย์ ยาว ๑๑ วา ๑ ศอก ๖ นิว้ ก�ำลงั ๖ ศอก ๑ คืบ ๘ นิว้ ๒๐. พระที่นงั่ กราบ ชอื่ บลั ลังก์ทอง ยาว ๑๒ วา ๑ ศอก กำ� ลัง ๖ ศอก ๑ คืบ ๘ น้วิ ๒๑. พระที่นง่ั กราบ ช่อื บลั ลังกเ์ งิน ยาว ๑๑ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๒ นิ้ว กำ� ลัง ๖ ศอก ๑ คืบ ๒๒. พระท่นี ง่ั กราบ ชอ่ื บลั ลงั กแ์ ก้ว ยาว ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๖ นิ้ว กำ� ลงั ๖ ศอก ๘ นว้ิ ๒๓. พระทีน่ ั่งกราบ ชื่อ บรรทดั ทอง ยาว ๑๔ วา ๑ ศอก ๑ คบื กำ� ลงั ๔ ศอก ๗ น้วิ ๒๔. พระที่น่งั กราบ ชอื่ กลอ้ งสลดั ยาว ๑๔ วา กำ� ลัง ๔ ศอก ๗ น้ิว รวมทั้งเรือศรี เรือประกอบ เรอื เอกไชย เรือกราบ เปน็ เรือพระที่นั่ง ๒๔ ลำ� อย่างไรก็ดี พระยามหามนตรี หลวงสุนทรภิรมย์ และหลวงอุดมภักดี ไดเ้ รยี บเรยี งไวท้ ัง้ เรอื พระทนี่ ัง่ ทรง และเรอื พระทนี่ งั่ รองท้ังลำ� เก่าลำ� ใหมใ่ นสมัยรัชกาลท่ี ๓ มีท้ังหมด ๕๖ ล�ำ แยกประเภทของเรือ ดงั น้ี ๑. เรือไชยลายสลัก มี ๕ ลำ� - เรือพระทนี่ ั่งก่งิ ศรีสมรรถไชย พนื้ สีแดง ขนาดยาว ๑๘ วา ๖ นว้ิ กวา้ ง ๑ วา ศอก ๔ นิว้ ทอ้ งลึก ศอก คบื ๕ นิ้ว กำ� ลัง ๑ วา ๒ ศอก ๗ นว้ิ - เรอื พระทีน่ ่ังกิ่งไกรสรมุข พืน้ สดี �ำ ขนาดยาว ๑๙ วา ๑ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๗ น้วิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๖ นว้ิ กำ� ลงั ๑ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๑ นิว้ - เรือพระที่น่ังศรีประภัศรไชย พื้นสีด�ำ ขนาดยาว ๑๘ วา กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๕ น้ิว ท้องลกึ ๑ ศอก ๕ นวิ้ ก�ำลัง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นว้ิ - เรอื พระท่ีนง่ั ไกรแก้วจักรรัตน์ พ้นื สีเขยี ว ขนาดยาว ๑๗ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๓ นิ้ว กวา้ ง ๑ วา ๑ คบื ๖ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ๖ น้ิว ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๑ นวิ้ - เรอื พระทนี่ งั่ ศรีสุนทรไชย พน้ื สีแดง ขนาดยาว ๑๗ วา ๒ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ คืบ ๘ นวิ้ ท้องลึก ๑ ศอก ๗ น้วิ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๓ น้ิว ๒. เรือไชยลายเขียน มี ๓ ลำ� - เรือพระทน่ี ่ังไกรสรจักร พื้นสเี ขียว ขนาดยาว ๑๗ วา ๒ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ คบื ๔ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ๖ นว้ิ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๓ นว้ิ - เรือวังหน้า เรือพระที่นั่งชลพิมานไชย พ้ืนสีแดง ขนาดยาว ๑๒ วา ๓ ศอก ๖ นิ้ว กว้าว ๓ ศอก ๑ คบื ๘ นว้ิ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๒ น้วิ - เรือพระที่นงั่ ไกรสรมาศ พืน้ สีแดง ขนาดยาว ๑๔ วา กว้าง ๔ ศอก ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๒ น้วิ กำ� ลัง ๔ ศอก ๓. เรอื พระทนี่ ั่งศรีลายสลัก มี ๘ ลำ� - เรือพระทีน่ ง่ั ศรรี ตั นดิลก พนื้ สแี ดง ขนาดยาว ๑๙ วา ๒ ศอก ๗ นิว้ กวา้ ง ๑ วา ๑ ศอก ๔ นิ้ว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๓ นว้ิ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๖ นิ้ว 46

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES - เรือพระที่น่ังศรีบุษบกพิศาล พื้นสีน้�ำเงิน ขนาดยาว ๑๕ วา กว้าง ๑ วา ๑ คืบ ๒ นิ้ว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๒ นวิ้ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๒ นว้ิ - เรอื พระทนี่ ัง่ ศรีวมิ านเมอื งอินทร พ้นื สีเขยี ว ขนาดยาว ๑๒ วา ๓ ศอก ๑ คืบ กวา้ ง ๑ วา ๖ นว้ิ ท้องลึก ๑ ศอก ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๒ ศอก - เรือพระทน่ี งั่ สวัสดิชิงไชย พ้ืนสีเขยี ว ขนาดยาว ๑๖ วา กวา้ ง ๑ ศอก ๔ น้ิว ท้องลึก ๑ ศอก ๖ นวิ้ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก - เรือพระท่ีน่ังศรแี ก้วจักรพรรดิ พ้นื สีน�้ำเงนิ ขนาดยาว ๑๖ วา ๒ ศอก กว้าง ๑ วา ๔ นิว้ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๓ นว้ิ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๖ นว้ิ - เรอื พระทนี่ งั่ เทวาธิวัตถ์ ของวังหนา้ ขนาดยาว ๒๔ วา ๔ น้ิว กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๑๐ นว้ิ ท้องลึก ๑ ศอก ๑๐ นิ้ว ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๑ คืบ ๖ นิว้ - เรือพระที่น่ังเพชรัตน์ดาราราย ขนาดยาว ๒๐ วา ๒ น้ิว กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นิ้ว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๙ นิว้ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๖ นิ้ว - เรอื พระทน่ี งั่ ทวยเทพยถ์ วายกร ขนาดยาว ๑๘ วา กวา้ ง ๑ วา ๑ คบื ๔ นว้ิ ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๑๐ นว้ิ ก�ำลงั ๑ วา ๒ ศอก ๔. เรอื ศรลี ายเขียน ๗ ลำ� ของวังหน้า คือ - เรือพระที่นั่งศรีรังสีทิพยรัตน์ พื้นสีแดง ขนาดยาว ๑๕ วา กว้าง ๑ วา ๑ คืบ ๒ น้ิว ท้องลึก ๑ ศอก ๓ น้วิ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๑ นิ้ว - เรอื พระท่นี ัง่ ศรจี ักรพรรดิภริ มย์ พื้นสดี ำ� ขนาดยาว ๑๔ วา ๒ ศอก ๕ นิ้ว กวา้ ง ๑ วา ๑ คบื ๔ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ๘ นิว้ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๙ นิ้ว - เรอื พระที่นง่ั ศรที ินกรส่องสี พ้ืนสมี ว่ ง ขนาดยาว ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ กวา้ ง ๓ ศอก ๓ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ๑ น้วิ ก�ำลัง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นว้ิ - เรอื พระทนี่ ่ังศรีมณีจกั รพรรดิ พ้ืนสเี ขียว ขนาดยาว ๑๓ วา ๕ นวิ้ กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื ๗ นิ้ว ท้องลึก ๑ คบื ๑๐ นิว้ ก�ำลัง ๑ วา ๑ ศอก ๒ นิว้ - เรือพระท่ีนั่งศรีรอง อนงคนิกร ขนาดยาว ๑๓ วา ๑๐ น้ิว กว้าง ๑ วา ท้องลึก ๑ ศอก กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก - เรือพระทน่ี ัง่ ศรรี อง อัปสรส�ำราญ พื้นสมี ่วง ขนาดยาว ๑๓ วา ๑ ศอก กวา้ ง ๑ วา ๑ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๒ นิ้ว - เรือพระที่น่ังศรีวิไลเลขา พื้นสีด�ำ ขนาดยาว ๑๕ วา ๓ ศอก ๑ คืบ กว้าง ๑ วา ๓ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ๔ นว้ิ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๗ น้วิ ๕. เรือพระที่น่งั ของวังหน้า ๕ ล�ำ คือ - เรือพระทีน่ ัง่ อนนั ตนาคราช ขนาดยาว ๒๑ วา ๒ ศอก ๗ นวิ้ กวา้ ง ๑ วา ๑ คบื ๕ น้วิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๕ น้วิ กำ� ลงั ๑ วา ๒ ศอก ๙ น้วิ - เรือพระท่นี ง่ั ศรสี พุ รรณหงส์ พืน้ สดี ำ� ขนาดยาว ๑๘ วา กวา้ ง ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๖ นว้ิ ท้องลกึ ๑ ศอก ๗ น้ิว ก�ำลัง ๑ วา ๓ ศอก 47

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES - เรอื พระทน่ี งั่ นารายณท์ รงสบุ รรณ พืน้ สแี ดง ขนาดยาว ๑๗ วา ๒ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๕ น้วิ ท้องลึก ๑ ศอก ๖ นิ้ว กำ� ลัง ๑ วา ๒ ศอก ๖ น้วิ - เรือพระที่น่ังสุวรรณเหรา พื้นสีน้�ำเงิน ขนาดยาว ๑๕ วา ๑ ศอก กว้าง ๑ วา ๔ นิ้ว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๑ นวิ้ กำ� ลัง ๑ วา ๒ ศอก ๖ นิ้ว - เรือพระท่นี งั่ เหราขา้ มสมทุ ร ขนาดยาว ๑๕ วา ๑ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ คบื ท้องลกึ ๑ ศอก ๗ นิว้ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๘ นิ้ว ๖. เรอื พระทน่ี ่ังกราบ ๒๘ ลำ� คอื - เรอื พระที่นงั่ หลกั ไตรโลกย์ ขนาดยาว ๒๔ วา กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๕ น้วิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๖ นิ้ว กำ� ลงั ๑ วา ๒ ศอก - เรือพระท่ีน่ังศรเี มือง ขนาดยาว ๑๔ วา ๒ ศอก ๑ คืบ ๖ น้ิว กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คืบ ๖ นว้ิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก กำ� ลงั ๑ วา ๑ ศอก - เรอื พระท่ีนงั่ เฟื่องฟ้า ขนาดยาว ๑๔ วา ๒ ศอก กว้าง ๓ ศอก ๑ คบื ๙ น้ิว ท้องลกึ ๑ ศอก ๒ น้วิ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นว้ิ - เรือพระท่นี ่งั ทพิ ากร ขนาดยาว ๑๔ วา ๒ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ นิ้ว ท้องลึก ๑ ศอก ๒ นวิ้ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๕ นวิ้ - เรอื พระท่นี ัง่ ขจรกรุง ขนาดยาว ๑๕ วา ๒ ศอก ๑ คืบ ๕ น้ิว กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื ๑๐ นิ้ว ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๑ นวิ้ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก - เรือพระท่ีน่ังรุ้งประสานสาย ขนาดยาว ๑๖ วา ๘ นิ้ว กว้าง ๓ ศอก ๑ คืบ ๓ นิ้ว ท้องลึก ๑ ศอก กำ� ลัง ๑ วา ๑ คืบ ๓ น้ิว - เรือพระที่นั่งชายลมหวน ขนาดยาว ๑๖ วา ๒ ศอก กว้าง ๓ ศอก ๑ คืบ ๕ นิ้ว ท้องลึก ๑ คืบ ๑๐ นิ้ว ก�ำลัง ๑ วา ๓ นว้ิ - เรือพระท่นี งั่ กระบวนบางรำ� ขนาดยาว ๑๖ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๖ น้ิว กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คืบ ๘ นิว้ ท้องลึก ๑ ศอก ก�ำลงั ๑ วา ๑ คบื ๑๐ นิ้ว - เรือพระที่นั่งประจ�ำทวีป ขนาดยาว ๑๗ วา ๓ ศอก ๑ คืบ กว้าง ๑ วา ๑ คืบ ๖ นิ้ว ท้องลกึ ๑ ศอก ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๘ นวิ้ - เรือพระที่น่งั กลีบสมทุ ร ขนาดยาว ๑๖ วา ๒ ศอก ๑ คบื กว้าง ๑ วา ๓ นว้ิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๓ นิ้ว กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นว้ิ - เรือพระท่นี ัง่ สดุ สายตา ขนาดยาว ๒๓ วา กว้าง ๑ วา ๑ คบื ๖ นิ้ว ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๑๐ นิว้ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๕ นิ้ว - เรือพระท่ีนั่งช้านางนอน ขนาดยาว ๑๖ วา ๒ ศอก ๘ นิ้ว กว้าง ๑ วา ๑ คืบ ๕ น้ิว ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๑ น้วิ กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๖ น้วิ - เรอื พระทนี่ ่ังกรนางนาดของวงั หนา้ ขนาดยาว ๑๔ วา กวา้ ง ๑ วา ๑๐ น้ิว ท้องลกึ ๑ ศอก ๑ นิว้ ก�ำลัง ๑ วา ๑ ศอก 48

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES - เรือพระทีน่ ั่งประพาสแสงจนั ทรข์ องวังหน้า ขนาดยาว ๑๖ วา ๑ ศอก กวา้ ง ๑ วา ๑๐ น้วิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๔ น้วิ ก�ำลัง ๑ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๒ นว้ิ - เรอื พระทน่ี ่ังตะวันสอ่ งแสง ขนาดยาว ๑๕ วา ๑ ศอก ๖ น้วิ กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คืบ ๘ น้วิ ท้องลกึ ๑ ศอก ๓ นวิ้ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๒ นิ้ว - เรอื พระที่นง่ั แทง่ ทองหลอ่ ขนาดยาว ๑๕ วา ๓ ศอก กว้าง ๑ วา ๑๐ น้วิ ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๓ นว้ิ ก�ำลงั ๑ วา ๑ ศอก ๘ นวิ้ - เรือพระท่ีนั่งลอ่ ใจชื่น ขนาดยาว ๑๔ วา ๒ ศอก ๑ คืบ ๙ นวิ้ กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คืบ ๘ นว้ิ ท้องลึก ๑ ศอก กำ� ลงั ๑ วา ๑ ศอก ๘ นิ้ว - เรือพระที่นั่งรื่นใจชม ขนาดยาว ๑๗ วา ๓ นวิ้ กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื ๖ น้วิ ท้องลึก ๑ คบื ๖ น้วิ กำ� ลัง ๑ วา ๑๑ นิ้ว - เรือพระทนี่ ่ังสมทรงสลวย ขนาดยาว ๑๕ วา ๓ ศอก ๑ คืบ ๔ น้วิ กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื ๔ น้ิว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๑ น้ิว ก�ำลัง ๑ วา ๑ คบื ๙ นว้ิ - เรือพระทนี่ ่ังเหลาใหม่ ขนาดยาว ๑๕ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๓ น้ิว กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คืบ ๗ นว้ิ ท้องลกึ ๑ ศอก ก�ำลัง ๑ วา ๑ คบื ๔ นว้ิ - เรือพระท่ีนั่งประทัดทอง ขนาดยาว ๑๔ วา ๑ ศอก ๑ คบื กำ� ลงั ๑ วา ๗ นว้ิ กวา้ ง ๑ วา ๗ น้วิ ทอ้ งลกึ ๑ ศอก - เรอื พระท่นี ง่ั กลอ้ งสลดั ขนาดยาว ๑๔ วา กว้าง ๓ ศอก ๑ คืบ ๒ นิว้ ท้องลกึ ๑ คืบ ๘ นิว้ ก�ำลัง ๑ วา ๗ น้ิว - เรือพระที่นัง่ แกว้ ชงิ ดวง ขนาดยาว ๑๓ วา ๕ นวิ้ กว้าง ๓ ศอก ๖ นิว้ ท้องลกึ ๑ ศอก ก�ำลัง ๑ วา ๕ นิว้ - เรือพระที่นั่งพวงแก้ว ขนาดยาว ๑๓ วา กว้าง ๓ ศอก ๙ น้ิว ท้องลึก ๑ คืบ ๘ นิ้ว กำ� ลัง ๑ วา ๑ ศอก ๕ นว้ิ - เรือพระท่ีนั่งบัลลังก์ทอง ขนาดยาว ๑๒ วา ๑ ศอก กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๓ นิ้ว ทอ้ งลกึ ๑ ศอก ๘ น้วิ กำ� ลัง ๑ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๘ น้วิ - เรือพระที่นัง่ บังลังก์แกว้ ขนาดยาว ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คบื ๖ นวิ้ กวา้ ง ๑ วา ๑ ศอก ๓ นว้ิ ทอ้ งลึก ๑ ศอก ๗ นว้ิ กำ� ลงั ๑ วา ๒ ศอก ๘ นวิ้ - เรือพระที่นั่งสุทธาทิพย์ ขนาดยาว ๑๑ วา ๑ ศอก ๖ นิ้ว กว้าง ๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ท้องลึก ๑ ศอก ๙ น้วิ กำ� ลงั ๑ วา ๒ ศอก ๑ คบื ๘ นิ้ว - เรือพระท่ีน่ังบัลลังก์เงิน ขนาดยาว ๑๑ วา ๑ ศอก ๑ คืบ กว้าง ๑ วา ท้องลึก ๑ ศอก กำ� ลัง ๑ วา ๒ ศอก ๑ คบื 49

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ในสมัยรัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อทรงประกอบพระราชพิธีบรม ราชาภเิ ษก ในวนั ศุกร์ที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๙๔ ข้ึน ๒ ค�่ำ เดือนหก ปีกุนแลว้ ไดโ้ ปรดให้เสด็จเลยี บ พระนครทั้งทางสถลมารคและชลมารค โดยเสด็จเลียบพระนครทางชลมารค ในวันพุธท่ี ๒๑ พฤษภาคม การเสดจ็ เลียบพระนครคร้ังนี้ มีกระบวนเรอื เตรยี มแห่รบั เสดจ็ ดังน้ี ตอนท่ี ๑ ๑. เรอื แงท่ ราย นำ� เสดจ็ ๖ ลำ� เรอื ยาว ๑๐ วา มธี งหน้าธงทา้ ย มปี นื เปรยี บนำ� เรือลำ� ละกระบอก ๒. เรือประตแู ห่กระบวนหน้าเปน็ เรอื กญั ญา พระเทพผลู ล�ำซ้าย พระราชรองเมอื ง ล�ำขวา ๓. เรือเหราลายก�ำมะลอ มีกูบจัตุรมุขมีปืนใหญ่หน้าเรือ ๑ กระบอก ๒ ล�ำ เป็นของฝรั่งแม่นปืน ลงเรอื ล�ำละ ๔ คน หลวงเสนห่ ส์ รชติ เป็นนายล�ำ ๔. เรือแซคชรำ� บาญ ของพระยารตั นจักลำ� ขวา เรอื แซสารสนิ ธ์ุ พระยาภกั ดีสงคราม ล�ำซ้าย ๕. เรือแซตลมุ ระเวง พระยาสหี ราชา ลำ� ขวา เรอื แซตะเลงละวล พระยาฤทธคิ �ำรณ ซ้าย ๖. เรอื แซวรวารี พระยาก�ำแหงหาญณรงค์ ล�ำขวา เรอื แซศรีปทั มสมทุ ร พระยาจงใจหาญ ซ้าย ๗. เรอื แซจระเขค้ ำ� รามรอ้ ง พระยาจัตุรงคฤทธ์ิ ล�ำขวา เรอื แซจระเขค้ ะนองนำ้� พระยาอัคศิริ ซ้าย ๘. เรอื แซชิงไชเยศ พระยาแผลงศตั รู เรอื นแซเพชรปูมคาบ พระยาปราบปจั จามติ ร มีธงท้ายผกู ปืน หน้าเรอื ฝรัง่ แม่นปืนล�ำละ ๒ คน ตอนที่ ๒ ๙. เรอื พาลรี ้ังทวีป ทา้ ยเรือเจ้าพระยาพระคลงั วา่ ทสี่ มุหพระกลาโหม ซงึ่ โปรดใหเ้ รียกว่า เจ้าพระยา อัครอดุ มบรมเสนาบดีเป็นนายล�ำ มที นายหมอบอย่หู น้า ฝพี าย ๖๐ คน ๑๐. เรือกัญญา พระยาเทพอรชนุ ล�ำขวา พระยาราชนิกุล ลำ� ซ้าย ฝีพาย ๔๐ คน ๑๑. เรอื สารวัตร ๒ ล�ำ มีขนุ นางเป็นนายลำ� ฝีพายลำ� ละ ๒๓ คน ๑ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๔, ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์, ๒๕๒๑, หนา้ ๓๑-๔๐. 50

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 51

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ๑๒. เรือเอกไชยพ้นื ด�ำ มธี งหนา้ ธงทา้ ย กลางเรือมีมณฑปทรงพระไชย มฉี ตั ร ๕ ชนั้ ปกั เคยี งมณฑป ตำ� รวจใหญซ่ ้ายเป็นนายล�ำ ฝีพาย ๕๘ คน ๑๓. เรือกัญญากลอง น�ำเสด็จ พระยาวชิ ิตณรงคเ์ ปน็ นายล�ำ ฝพี าย ๒๕ คน ๑๔. เรอื กงิ่ ชลพมิ านไชย ลำ� ขวา เรอื กงิ่ ไกรศรมารถ ลำ� ซา้ ย มธี งปกั หนา้ ปกั ทา้ ย มมี ณฑปกลางตง้ั พระ มหากฐินกบั วางผา้ ทรงพระพุทธรูป มฉี ัตร ๕ ชั้น ปกั ซา้ ยขวาข้างมณฑป เจ้าพนักงานเปน็ นายลำ� ฝีพายล�ำละ ๕๒ คน หมู่ ๑ คน ตอนท่ี ๓ ๑๕. เรอื กระบร่ี าญรอนราพณ์ พระอนรุ ักษโ์ ยธา ลำ� ขวา เรือกระบปี่ ราบเมอื งมาร พระมหาสงคราม ล�ำซา้ ย ๑๖. เรือเสือทะยานชล หลวงเดชสำ� แดง ล�ำขวา เรอื เสอื ค�ำรณชลสนิ ธ์ุ หลวงแสงสรสทิ ธ์ิ ล�ำซา้ ยเปน็ เรอื เจ้ากรมทหารปืนปากน�้ำ ในเรือมีคนกระท้งุ เสา้ ฝพี ายลำ� ละ ๓๘ คน ๑๗. เรอื โตขมังคลื่น หลวงวิจารณ์โกษา ลำ� ขวา เรือโตฝนื สมุทร หลวงโยธาภกั ดี ลำ� ซ้าย ในเรือมีคน กระทงุ้ เส้า ฝีพายลำ� ละ ๓๐ คน ๑๘. เรอื สางก�ำแหงหาญ หลวงพิทักษ์โยธา ลำ� ขวา เรอื สางชาญชลสนิ ธ์ุ หลวงนราเรืองเดช ล�ำซา้ ย เปน็ เรือเจา้ กรมไพร่หลวงอาสาใหญ่ กรมเก่า มฝี พี าย ๓๐ คน ๑๙. เรอื เหราลอ่ งลอยสนิ ธ์ุ หลวงวเิ ชยี รไพชยนต์ ลำ� ขวา เรอื เหราลลี าสมทุ ร หลวงสกลพมิ าณ ลำ� ซา้ ย เปน็ เรือเจา้ กรมไพร่หลวงกรมวงั ฝพี ายล�ำละ ๓๐ คน ๒๐. เรอื กเิ ลนประลองเชงิ หลวงเทพเดช ล�ำขวา เรือกเิ ลนละเลงิ ชล หลวงสรุ นิ ทรเดช ลำ� ซา้ ยเปน็ เรอื เจ้ากรมทำ� ลุ มฝี ีพาย ๓๐ คน ๒๑. เรือมังกรจ�ำแลงอาสา หลวงรามเดชะ ล�ำขวา เรือมังกรแผลงฤทธิ์อาสา หลวงเพชรก�ำแหง ลำ� ซา้ ยเปน็ เรอื เจ้ากรมอาสา ๖ เหลา่ มีฝพี าย ๓๐ คน หมู่ ๑ คน ตอนท่ี ๔ ๒๒. เรอื อสรุ วายภุ กั ษ์ หลวงศรสำ� แดง ลำ� ขวา เรอื อสรุ ปกั ษี หลวงจงพยหุ ลำ� ซา้ ย เปน็ เรอื ปลดั เขนทอง มฝี พี าย ๔๐ คน ๒๓. เรอื ครฑุ เหินเห็จ หลวงไชยเดชะ ลำ� ขวา เรอื ครุฑเตรจ็ ไตรจกั ร หลวงจตุรงควไิ ชย ลำ� ซา้ ยฝพี าย ลำ� ละ ๔๐ คน ๒๔. เรอื สวุ รรณเหรา ลำ� ขวา เรอื เหราขา้ มสมทุ ร ลำ� ซา้ ย มเี จา้ พนกั งานเปน็ นายกำ� กบั ลำ� มนี กั สราชถอื ธงหักทองขวางหน้าเรอื ทา้ ยเรอื มีกลองชนะท�ำด้วยเงิน ล�ำละ ๕ คน มฝี ีพาย ๔๘ คน มเี รือกลองน�ำไปหวา่ ง กลาง พระยาพไิ ชยรณฤทธิ์เปน็ นายลำ� ฝีพาย ๒๕ คน ๒๕. เรือมงคลสุบรรณ ล�ำขวา เรือศรีสุพรรณหงส์ ล�ำซา้ ย นกั สราชถือธงหกั ทองขวาง หน้าเรือ ท้าย เรือ มกี ลองชนะทำ� ด้วยเงิน ล�ำละ ๕ คน ฝพี ายล�ำละ ๖๕ คน 52

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๒๖. เรอื กง่ิ ศรสี มรรถไชย ลำ� ขวา เรอื กง่ิ ไกรแกว้ จกั รรตั น์ ลำ� ซา้ ย มนี กั สราชถอื ธงหนา้ ธงทา้ ย มมี ณฑป ต้ังพระเจดีย์เงิน ต้งั พระสพุ รรณบฏั มแี ตรงอน แตรฝร่ัง ลำ� ละ ๑๗ คน ฝีพายล�ำละ ๖๕ คน ๒๗. เรอื กง่ิ ศรสี นุ ทรไชย หมนื่ สทิ ธโิ สรบ ลำ� ขวา เรอื กง่ิ ไกรสรจกั ร หมนื่ ภกั ดศี วร ลำ� ซา้ ยเปน็ เรอื ตำ� รวจ ใน มนี กั สราชถือธงหนา้ ธงท้าย มีคชาธารปกั ฉัตร ๗ ชน้ั ฝีพาย ๕๖ คน ๒๘. เรือกระโห้ หลวงลักษมณา ล�ำขวา เรือกระโห้ หลวงสุรนิ ทรภักดี ล�ำซา้ ย เป็นเรอื ของอาสาจาม ฝพี ายลำ� ละ ๓๕ คน ๒๙. เรือกระโห้ หลวงคชเสนี ลำ� ขวา เรือกระโห้ ขุนวชิ ติ สงคราม ลำ� ซา้ ย เป็นเรอื ของอาสาจามซ้าย ขวา ฝีพายลำ� ละ ๓๕ คน หมู่ ๑ คน ตอนที่ ๕ ๓๐. เรือกนั ขวา เรือดั้งซ้าย ๓๑. เรือดง้ั กองกลาง ขวา เรอื ด้ังกองกลาง ซา้ ย ๓๒. เรือดั้งตำ� รวจสนม ขวา เรอื ดง้ั ตำ� รวจสนม ซ้าย ๓๓. เรือด้งั ต�ำรวจนอก ขวา เรอื ด้งั ตำ� รวจนอก ซ้าย ๓๔. เรือดัง้ ตำ� รวจใหญ่ ขวา เรือด้งั ต�ำรวจใหญ่ ซา้ ย ๓๕. เรอื ดงั้ ต�ำรวจใน ขวา เรอื ดัง้ ตำ� รวจใน ซา้ ย ๓๖. เรอื ด้ังลอ้ มวงั ขวา เรือดั้งลอ้ มวงั ซ้าย ๓๗. เรอื ดง้ั เกณฑห์ ัด ขวา เรือดงั้ เกณฑ์หดั ซ้าย ๓๘. เรอื ดัง้ อาสาวเิ ศษ ขวา เรือดั้งอาสาวิเศษ ซ้าย ๓๙. เรอื ดัง้ น�ำหน้าฉาน ขวา เรือดง้ั นำ� หน้าฉาน ซา้ ย ๔๐. เรือดงั้ ผลาญสมุทร ขวา เรือดง้ั ผลาญสมทุ ร ซ้าย ๔๑. เรือดงั้ บา้ บ่ิน ขวา เรือดง้ั ทองขวานฟา้ ซ้าย เรือด้ังตั้งแต่หมายเลข ๒๐-๔๑ มีนายก�ำกับล�ำถือปืนคาบศิลา ล�ำละ ๔ คน มีคนกระทุ้งเส้า ล�ำละ ๒ คน ฝีพายล�ำละ ๔๕ คน มีเรือกัญญาสารวัตรไปกลางแถวล�ำหน่ึง มีจม่ืนสมุหพิมาน เป็นนายล�ำ ฝีพาย ๓๕ คน ตอนท่ี ๖ ๔๒. เรือเอกไชยหลาวทอง ขวา เรือเอกไชยเหิรหาว ซ้าย มีนักสราชถือธงหักทองขวางหน้าเรือ ท้ายเรอื มีกลองมโหระทกึ ประโคมลำ� ละ ๕ คน ฝพี ายล�ำละ ๔๕ คน ๔๓. เรอื กลองน�ำเสด็จ พระยาพิไชยสงคราม เปน็ นายลำ� ฝพี าย ๒๕ คน ๔๔. เรือกิ่งศรปี ระภัศรไชย ล�ำพระทีน่ งั่ ทรง ๔๕. เรอื กง่ิ ไกรสรมุข พระท่นี ่งั รอง 53

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ท้ังสองล�ำมีนักสราชถือธงหักทองขวางหน้าท้าย มีมณฑปยอดเป็นพระท่ีนั่งประดับพลอยสีต่าง มเี ศวตฉตั รขาวลายทอง ๗ ช้ัน ปกั เคียงพระมณฑปซ้ายขวา เครอ่ื งสูงอภิรุมชุมสาย ต้ังรายไปตามเรอื ฝีพาย ๑๐๐ คน ๔๖. เรือกราบ มกี ญั ญาผา้ หนา้ โขนหกั ทองขวาง จางวางเจา้ กรม ปลัดกรม ต�ำรวจหนา้ ตำ� รวจหลัง ทหารในรักษาพระองค์ กรมวัง แสงต้น มหาดเลก็ เป็นนายล�ำตามเสดจ็ พายไป ๔ แถวๆ ละ ๖ ล�ำ รวมเรือ ๒๔ ล�ำ ๔๗. เรือตารา้ ย เกณฑห์ ดั แสงปนื ประทนุ แดง ๔ ล�ำ มพี ระอคั เนศร พระศรสำ� แดงเดช จมน่ื ก่งศลิ ป จมน่ื กง่ ศร เปน็ นายลำ� แต่ละล�ำ บรรทกุ ปนื เครอื่ งอาวธุ เตรียมไป ฝพี ายลำ� ละ ๒๕ คน ๔๘. หมู่เรือศรีประกอบเขียนลายทอง เป็นเรือประเทียบม่านทองแย่ง รวม ๖ ล�ำ ของกรมฝ่ายใน ฝพี ายลำ� ละ ๕๐ คน ไดแ้ ก่ เรอื สวัสดชิ งิ ไชย เรอื วิไลเลขา เรือรังสีทพิ ยรตั น์ เรือจกั รพรรดิภริ มย์ เรอื ทนิ กรส่องศร ี เรอื มณจี กั รพรรดิ ๔๙. หมู่เรอื แซ มี ๔ ล�ำ ทวนปักท้ายเรือ มฝี พี ายล�ำละ ๓๕ คน ได้แก่ เรอื แซหมชู่ ลจร พระยาเกยี รต ิ เรอื แซสุกรกำ� เหลาะ พระยาพระราม เรือแซวภิ ชั นชล พระยาปราบปจั จามิตร เรอื แซอนันตสมุทร พระยาแผลงศตั รู ๕๐. เรือกราบกัญญา พระนรินทเสนี เรอื กราบกัญญา พระราชเสนา (แทนพระศรสี หเทพ) เปน็ เรือ ประตูหลงั มีฝพี ายล�ำละ ๓๕ คน หมู่ ๑ คน ๕๑. เรอื กญั ญาผกู ผา้ หนา้ โขนหกั ทองขวาง ผกู พู่ ผกู ดาว เปน็ เรอื พระเจา้ นอ้ งยาเธอ พระเจา้ ลกู ยาเธอ พระเจ้าหลานเธอ และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ มรี วม ๒๓ ลำ� ฝีพายละลำ� ๕๐ คน ๕๒. เรือสุครพี ครองเมอื ง พระยาศรพี ิพฒั นรตั นราชโกษา ซ่งึ โปรดเกลา้ ฯ ให้เรยี กว่า เจา้ พระยาบรม มหาพชิ ยั ญาติ เสนาบดผี ใู้ หญ่เป็นนายล�ำ เรอื นม้ี ธี งหักทองขวางปกั หน้าเรอื และท้ายเรอื มที นายหมอบหน้า ฝพี าย ๖๐ คน ๕๓. เรอื กราบกญั ญาหมู่มุขมาตยาผู้ใหญ่ ผูน้ ้อย ที่มไิ ดเ้ ข้ากระบวนเป็นนายลำ� มีฝีพาย ๓๐-๔๐ คน ๕๔. หมู่เรือเกง๋ ฟ้ัง ขนุ นางจีนเจา้ ภาษี ๒๐ ล�ำ ๕๕. เรอื สำ� ปน้ั ขนุ นางนอ้ ยๆ ซง่ึ มไิ ดเ้ ขา้ กระบวนแห่ เรอื นยี้ าว ๖-๘ วา มฝี พี ายลำ� ละ ๑๔, ๑๕, ๒๐ คน รวมเรอื ในกระบวน ๒๖๘ ลำ� เจา้ พนกั งานและพลพาย ๑๐,๐๐๐ คนเศษ เรอื นอกกระบวนประมาณ ๕๐ ลำ� เศษ จากเรอื่ ง พระราชพธิ ที วาทศมาส๑ ซงึ่ เปน็ พระนพิ นธข์ องสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ ฯ กรมพระยา บำ� ราบปรปกั ษ์ ทรงกลา่ วถงึ รวิ้ กระบวน ในสมยั รชั กาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั อนั สามารถ นำ� มาเปรยี บเทยี บกบั เรอ่ื งราวในพระราชพงศาวดารไดเ้ รมิ่ ตน้ ดว้ ยเรอื ดงั้ ซงึ่ เปน็ เรอื รปู สตั ว์ แลว้ ตามดว้ ยเรอื แซ เรือญวน แล้วจึงถึงเรือพระท่ีน่ังก่ิง ๒ ล�ำ ล�ำหน่ึงเป็นเรือพระท่ีน่ังทรง อีกล�ำหน่ึงเป็นเรือพระท่ีนั่งรอง ดังบทความโคลงท่วี า่ ๑ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระยาบ�ำราบปรปักษ์, พระราชพิธีทวาทศมาส, เจ้าพระยาธรรมาธิ กรณาธบิ ดี ใหพ้ มิ พใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ หมอ่ มราชวงศแ์ ปน้ เจา้ จอมในรชั กาลที่ ๔, โรงพมิ พเ์ จรญิ ผล, หนา้ ๕๗ - ๗๗. 54

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๏ ชลมารคพยหุ ยาตรยา้ ย เป็นขบวน เรือรูปสัตว์จำ� นวน คดู่ ัง้ เรอื แซอีกเรือญวน แจวคู่ นา่ เฮย เรือกิ่งที่นั่งทงั้ คูไ่ ท้ทรงรอง ๏ ทหารญวนล้วนสอดเสอื้ จีนประจำ� สามคู่อยู่แจวนำ� แห่หน้า ทา้ ยธงปักทุกล�ำ อาวุธ อกี เลย กรมพระตำ� รวจ ปนื ใหญ่แม่นปนื กล้า อยู่ย้ังลำ� ลสอง ๏ เรอื แซแห่เหล่าดว้ ย มวญมอญ ลำ� หนึ่งหมูช่ ลจร ชื่อแท้ อีกล�ำหนง่ึ สกุ ร กำ� เหลาะ กองทหารใน นา้ วหน่วงกรรเชียงแต้ โยกโย้ เต็มตึง ๏ แซชงิ ไชเยศอา้ ง ออกนาม อกี เพศภุกามตาม คลู่ ้ำ� จรเขช้ ่อื ค�ำราม ร้องเรียก เรือแฮ หนึง่ ช่ือคนองนำ้� หกถ้วนขบวนเดิม นัน่ คือมเี รอื ญวนพายนำ� หน้า ๓ คู่ ตอ่ มาเปน็ เรอื แซ ซึง่ มีพวกมอญลงประจำ� ๑ คู่ ซ่งึ เรือหมูช่ ลจรกบั เรอื สุกรก�ำเหลาะ แลว้ เปน็ เรือแซของพวกภกุ าม (พมา่ ) อกี ๑ คู่ แต่มิไดเ้ อ่ยถึงชือ่ เรือ จากนั้นกเ็ ป็นเรอื ดง้ั รปู สตั ว์ ๑ คู่ หวั รปู จระเข้ชื่อ เรอื ค�ำรามร้อง และเรือคะนองน�้ำ รวมเรือน�ำทก่ี ลา่ วมาแลว้ เปน็ เรอื ๖ คู่ ถดั ไปเป็น เรอื รูปสตั ว์ และเรอื กราบ ซึง่ มีเสนาบดีตา่ งๆ คมุ ไปแต่ละลำ� ดงั นี้ เรอื เสือชอ่ื เรอื เสอื ทะยานชล (หลวงเดชส�ำแดง) เรอื เสือค�ำรณสินธ์ุ (หลวงแสงศรสทิ ธิ) เรอื กราบกญั ญา ๒ ล�ำ ของพระราชวรานกุ ลู กบั ของ พระเทพอรชนุ เรอื สางชอ่ื เรอื ก�ำแหงหาญ (หลวงพทิ ักษโ์ ยธา) เรอื ชาญชลสนิ ธ์ุ (หลวงนราเรอื งเดช) เรอื กิเลนช่อื เรือประลองเชงิ (หลวงเทพเดชะ) เรือละเลงิ ชล (หลวงสรุ นิ ทร์เดชะ) เรอื มกรชอื่ เรือมกรแผลงฤทธิ์ (พระรามพิชยั ) เรอื มกรจำ� แลง (พระเผด็จสงคราม) เรือเหราช่อื เรอื ลอ่ งลอยสนิ ธ์ุ (หลวงสกลพิมาน) เรือลินลาสมุทร (หลวงวิเชียรไพชยนต์) เรือโต๑ ช่อื เรือฝนื สมทุ ร (ขุนชำ� นาญภกั ด)ี เรือหมุนแผ่นน้�ำ (ขนุ ศรสี งั หาร) เรอื ดงั กล่าวน้จี ะตั้งคฤห์ กลางลำ� ลวดลายทลี่ �ำเรอื ทานำ้� มนั หลงั คาคฤหค์ าดผ้าแดง ตอ่ มาเปน็ เรอื รปู สัตวอ์ กี ๔ คู่ ต้ังคฤหต์ รงกลาง หลังคาคาดแดง ปกั ทองลายกรวยเชงิ ลวดลายทเ่ี รือเป็นลายรดน�้ำ หรือลงรักปดิ ทองน่นั เอง ซ่ึงได้แก่ เรอื กระบี่ ชอื่ เรือกระบร่ี าญรอนราพณ์ (หลวงศรีณรงค)์ เรือกระบป่ี ราบเมอื งมาร (หลวงมหาโยธ)ี เรือยักษ์ ช่ือ เรืออสรุ วายุภกั ษ์ (หลวงเสนานนท์) เรืออสุรปักษสี มทุ ร (หลวงพลอาไศรย) เรอื กระบ่ี ชื่อ เรอื พาลีร้งั ทวปี (ขุนพรหมรักษา) เรอื สุครพี ครองเมือง (ขุนอินทร์รักษา) ๑ เรอื โต ไม่ทราบแนว่ ่าหมายถงึ สงิ โต หรือโลโต. 55

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื ครุฑ ช่อื เรือครฑุ เหนิ ระเหจ็ (ขนุ บัญชาพล) เรือครุฑเตร็จไตรจกั ร (ขุนฤทธพิ์ ชิ ยั ) ต่อจากเรือครฑุ เป็นเรอื กราบ ๑ คู่ พายน�ำหนา้ เรอื คชู่ กั จากนั้นกต็ ามดว้ ยเรือพระทีน่ ง่ั กิง่ ชื่อ เรอื ศรสี มรรถไชย ตรงกลางล�ำ ต้ังบัลลังกบ์ ุษบก ดังบทโคลงทวี่ า่ ตดั ถึงเรอื กงิ่ แก้ว ศรสี มรรถ ไชยเฮย ประกอบกาบกนกสบดั ชดชอ้ ย บลั ลงั กบ์ ษุ บกรตั น์ เรืองโรจ แสงสวุ รรณสกุ ย้อย ยอดหลวิ้ เลอหาว ถดั จากเรอื ศรีสมรรถไชย เปน็ เรือชัย ๑ คู่ อยู่ฝา่ ยซา้ ยและฝ่ายขวา คือ เรือไชยเหินหาว (หลวงอภยั เสนา) เรอื หลาวทองเอกไชย (หลวงสุเรนทรวิชิต) ตามด้วยเรอื พระทน่ี ัง่ อนันตนาคราช ซึ่งมีโขนเรอื เปน็ รปู พระยานาค ๗ เศยี ร และ เรือพระที่น่งั รอง ซ่ึงเปน็ เรือศรี อีก ๒ ลำ� มิไดบ้ อกชื่อไว้ จากนน้ั ก็เปน็ กระบวนในหลัง กระบวนในหลัง ใช้เรอื กราบกญั ญา ๘ คู่ ซ่งึ เปน็ เรือราชองครักษท์ ง้ั ๘ กรม ลว้ นมเี จ้ากรมควบคุมจงึ เรยี กชอ่ื ตามชื่อของเจา้ กรมทปี่ ระจำ� ฝา่ ยซา้ ย และฝ่ายขวา ดังนี้ ๑. เรือพระยาอภยั รณฤทธ ์ิ เรอื พระยาอนุชติ ราชา ๒. เรือพระมหาเทพ เรอื พระมหามนตรี ๓. เรือพระพิเรนทรเทพ เรือพระอินทรเทพ ๔. เรอื พระอินทรเดช เรอื พระราชวรนิ ทร์ ๕. เรือพระพรหมบรริ กั ษ ์ เรอื พระสุรยิ ภักดี (กรมสนม) ๖. เรอื พระยามหานุภาพ เรอื พระยาราชสงคราม (องครกั ษ)์ ๗. เรือพระราชโยธาเทพ เรอื พระวิสุทธิโยธามาตย์ ๘. เรือพระหฤไทย เรือพระอภัยสรุ ินทร์ ตามด้วยเรอื ปลัดกรมพระต�ำรวจ ๓ คู่ และกรมรกั ษาพระองค์ ๒ ค่คู อื ๑. เรอื หลวงกรรภยุบาทว ์ เรือหลวงราชเสวกชาญ ๒. เรือขุนปลดั ราชพิมาร เรอื ขุนอนิ ทร์ประสาท จากนน้ั เปน็ เรอื ของพวกตรวจไฟ มี จา่ หาญ จา่ หา้ ว จา่ ผลาญ จา่ เรง่ จา่ เขบง จา่ เขมน้ จา่ เผน่ จา่ โผน จา่ ชว่ ง และจา่ โชน ตอ่ จากพวกตรวจไฟกเ็ ปน็ เรอื กรมทนายเลอื ก เรอื กรมรกั ษาพระองคป์ ลายหอก ซง่ึ มี ๒ คู่ ๑. เรอื พระอภบิ าล เรือหลวงบรมราช ๒. เรือขนุ อาจ เรอื ขนุ อมร เรอื ทหารเกณฑ์หัด มเี รือ ๒ คู่ ๑. เรือพระศรส�ำแดงเดช เรอื พระอคั เนศรแสงใหญ่ ๒. เรือหม่นื ก่งศร เรือหม่นื ก่งศิลป์ เรอื ทหารมหาดเลก็ ๓ ลำ� เปน็ เรือของหลวงสาตราธิกรณ์ หลวงสรจกั รานุกิจ และหลวงวิทยาธิกรณ์ นอกจากน้ีมีเรือแซง เรือกัญญาของเหล่านายเวร จ่า มหาดเล็ก และหุ้มแพร ตามด้วยเรือของพวกจมื่น ปลดั วงั อีก ๔ ล�ำ โดยมีเรอื อนรุ ักษ์ และเรือบำ� เรอภกั ดิ์ อยู่ค่ทู ้ายของกระบวนในหลัง 56

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES กระบวนในนอก มีเรือประตหู ลังของพวกปลดั บญั ชี ซงึ่ จดั ฝา่ ยซ้าย ฝ่ายขวา คือ เรือพระนรินทรเ์ สนี เรือพระยาศรสี ิงหเทพ ตามด้วยเรอื แซต้ังคฤห์ คือ เรอื วรวารี เรือศรปี ัดสมทุ ร เรอื กราบกัญญาของพระองค์เจ้าและเจา้ ต่างกรม แลว้ จึงถึงเรือกญั ญาของพวกขุนนาง อย่างไรก็ดี ในตอนท้ายของบทได้กล่าวว่า มีการแก้ไขพยุหยาตราทางชลมารคใหม่ ดังความในบท โคลงทีว่ า่ ๏ ชลมารคพยุหยาตราน้ ี มวี ัน หนงึ่ นา ตอ่ อีกนัน้ จดั สรร ใหมแ่ ท้ พรหมราชทีพ่ ัวพนั หมายบอก เรือรปู สตั ว์ผลดั แก ้ เปลีย่ นต้ังธรรมเนยี ม นั่นคือการจัดร้ิวขบวนพยุหยาตราครั้งน้ีมีการแก้ไขใหม่ด้วย โดยการเปลี่ยนแปลงเรือรูปสัตว์ไปบ้าง อีกด้วย คือ ให้คงเรอื ญวน ๓ คู่ ไวก้ บั เรือเสือ ๑ คู่ เรือแซ ๓ คู่ รวมเป็น ๔ คู่ มเี รือประตกู บั เรอื กลองนำ� ขบวน รวิ้ นอก มีเรอื ปลัดกรมพระตำ� รวจหน้า เรอื ตำ� รวจ เรือกลอง เรอื ประตู และเรือเสือ อย่างละคู่ รวม ๕ คู่ มเี รือ ทเี่ รียกวา่ กองกลาง ซ่งึ จดั ฝา่ ยขวา ฝ่ายซา้ ยดังน้ี ๑. เรอื ดัง้ นอก คือ เรือของขนุ จงใจหาญ ขุนผลาญไพรี ๒. เรือกันของกรมสรุ สั วดี คอื เรอื ของขุนนราฤทธไิ กร ขนุ พิไชยชาญยทุ ธ ๓. เรือดั้งตำ� รวจ ๔. เรอื ดั้งของพวกเกณฑ์หดั อยา่ งฝร่ัง คอื เรอื ของขุนคงปนื ไฟ ขุนไล่พลรบ ๕. เรอื ดั้งของพวกลอ้ มวงั คอื เรอื ของหลวงอภยั พลชาญ หลวงชนะไพริน ๖. เรอื ดัง้ ของพวกอาสาวิเศษ คอื เรอื ของขุนอนชุ ติ สงคราม ขุนรณฤทธ์พิ ิไชย ๗. เรือดงั้ ของทหารใน คอื เรือของหมนื่ จงใจสนิท หม่ืนจติ รรกั ษา ต่อมามีเรือปลัดต�ำรวจน�ำหน้าเรือทหารใน จากนั้นเป็นเรือกลอง ซ่ึงอยู่หน้าเรือคู่ชัก แล้วจึงถึงเรือ พระท่ีนั่งเอกไชยต้ังบุษบก ซ่ึงเรือพระที่น่ังศรีประภัศรไชย ส�ำหรับต้ังผ้าพระกฐิน ตามด้วยเรือพระที่น่ังรอง ๒ ล�ำคูก่ ัน คอื เรือทองบา้ บนิ่ อยู่ฝา่ ยขวา มชี าวโพเรยี งเปน็ พลพาย เรือทองแขวนฟา้ อย่ฝู ่ายซ้าย มชี าวบา้ น ใหม่เป็นพลพาย ถัดไปเปน็ เรอื พระท่นี ัง่ เทวาธวิ ตั ถ์ เรอื พระทนี่ ่ังเพชรตั นรายดารา และเรอื พระทนี่ ง่ั รตั นดลิ ก จากน้ันเปน็ เรือพระทีน่ ่ังกราบ ๓ ลำ� ๑ คือ เรอื พระที่นัง่ ประจ�ำทวปี เรอื พระทน่ี ง่ั กลีบสมทุ ร และเรอื พระท่ีนงั่ ประพาสแสงจันทร์ และต่อด้วยเรือศรีอีก ๒ ล�ำ คือ เรือพระท่ีนั่งจักรพรรดิภิรมย์ และเรือพระที่นั่งพิมาน อมรินทร์ น่เี ปน็ ริ้วกระบวนเรอื พยหุ ยาตราในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ซง่ึ มีท่ีเปล่ียนแปลงไปจากสมยั กรงุ ศรีอยุธยาอยู่ บ้าง ทง้ั นีอ้ าจจะเปน็ เพ่อื ให้มีความสวยงามและความโออ่ า่ ยิ่งข้ึนนัน่ เอง ๑ เรือทง้ั ๓ ล�ำน้กี ลา่ วกันว่า “ปา่ ใต”้ (คงหมายถงึ ปกั ษใ์ ต)้ ตอ่ ถวายมาไว้เปน็ เรอื พระท่นี ัง่ ตน้ สำ� หรับผลัดเปลยี่ น วันละล�ำ. 57

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES นอกจากพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินที่ต้องใช้เรือพระที่น่ังแล้ว ก็ปรากฏว่าในพระราชพิธีลอยพระ ประทปี ๑ หรือที่สมัยโบราณเรียกว่า พระราชพธิ ีจองเปรียง และคนไทยปจั จบุ นั ร้จู ักกันว่าลอยกระทงน้นั ใน สมัยโบราณการประกอบพระราชพธิ นี ก้ี ม็ ีการใชเ้ รอื พระที่นง่ั และเรือด้งั เรือกนั ด้วย นั่นคือใหพ้ ันพรหมราช ทำ� หมายบอกล้อมวงบรเิ วณท่ีใช้ท�ำพระราชพธิ ี มีพลเรอื น ทหาร และกรมท่าทอดทุน่ ใหญน่ อ้ ย ความหมายที่ ตง้ั ทกุ กอง พวกทท่ี อดทนุ่ รว้ิ สายใน พวกปลดั กรม นงั่ เรอื คฤห์ ซง่ึ ใชเ้ รอื รปู สตั วเ์ ขยี นลายนำ�้ มนั ไปทอดทนุ่ ดา้ น ขวา ๔ ทุน่ ด้านซา้ ย ๔ ทนุ่ ทางเหนือนำ้� สดุ เป็นเรอื ของขนุ เทพราช สว่ นทา้ ยสดุ เปน็ เรอื ของขนุ ศรนี รินทร์ ร้วิ สายนอก ใหพ้ วกกองทำ� ลุ กองเกณฑห์ ดั ฝร่งั กองสนม และกองต�ำรวจ ทอดทนุ่ รวิ้ สายกลาง เปน็ เรอื พณิ พาทย์ มกี ลองแขกนำ� มเี รอื นอก ๒ ลำ� เปน็ เรอื คอยจดุ ดอกไมเ้ พลงิ ตรงกลาง เปน็ เรอื บัลลังกข์ นานทจี่ ะมาทรงลอยพระประทีป ด้านหนา้ ของเรอื บลั ลงั ก์ขนาน มเี รอื ตำ� รวจในทอดอยู่ สว่ น ทางหน้าฉาน เป็นเรือของกรมพระตำ� รวจใหญ่ กองกลาง มีเรือดัง้ ของกรมอาสา และเรือกันนอกจากนีจ้ ะเห็น ไดว้ า่ การทอดทนุ่ ยังมีเรอื ปืนทเี่ รียก “กันโบด” (Gun Boat) ๔ ล�ำ อยู่ด้านเหนือนำ�้ ๒ ล�ำ ใต้น�ำ้ อีก ๒ ลำ� ชั้นนอกออกไปเป็นเรือส�ำหรับกักเรืออ่ืนๆ มิให้ผ่านเข้ามาในบริเวณที่จะประกอบพระราชพิธีโดยมี พวกอาสาจามคอนตฆี อ้ งกระแตบอกเตอื น สว่ นพวกนครบาลซงึ่ ทอดทนุ่ อยใู่ นชน้ั นอกสดุ นน้ั คอยเกบ็ สงิ่ ตา่ งๆ ที่ลอยมาตามน�ำ้ ให้ออกไป ในยามคำ�่ ก็มเี รอื ต�ำรวจตดิ โคมเพชร โคมสาน และโคมกลีบบัวสอ่ งเพอื่ ไม่ใหพ้ วก แลน่ เรอื ในคนื นน้ั ผา่ นเขา้ มาในเขตดว้ ยการตฆี อ้ งกระแตเตอื น ในเรอื รปู สตั วข์ องพวกตำ� รวจจะมปี นื จา่ รงตดิ ตง้ั อยู่ ส่วนบนตลิ่งทัง้ สองดา้ นมพี นั พุฒิ และพันเทพราชไปตั้งกองรกั ษาความปลอดภัย โดยทางฝ่งั ตะวนั ออกมี ๖ กรม เช่น ทหารใน ทหารเลือกหอก ทหารกองรกั ษาพระองค์ กองอาสาญี่ปนุ่ กรมไพรีคลงั สนิ คา้ สว่ นทาง ฝงั่ ตะวนั ตกมกี องรกั ษาความปลอดภยั ๑๐ กรม เป็นพวกกองตระเวน เมอื่ ไดเ้ วลาเสดจ็ ถงึ เจา้ พนกั งานกจ็ ะชกั โคมสญั ญาณขน้ึ ยอดเสา บรรดาเรอื ทนุ่ กจ็ ะจดุ โคมรายบรรดา พณิ พาทยแ์ ละกลองแขกกป็ ระโคม ทหารกเ็ ปา่ แตร พระเจา้ อยหู่ วั กจ็ ะเสดจ็ ลงเรอื พระทนี่ ง่ั อนนั ตนาคราช ลอ่ ง ไปทเ่ี รอื บลั ลงั กข์ นาน ในกระบวนนมี้ เี รอื ตง้ั บษุ บกประดษิ ฐานพระพทุ ธสหิ งิ คจ์ ำ� ลองลำ� หนงึ่ ตง้ั พมุ่ พานทองอกี ลำ� หนง่ึ เรอื ในรว้ิ กระบวนถดั ไปมเี รอื โขมดยา เรอื ดงั้ เรอื รปู สตั ว์ ซง่ึ ลว้ นตง้ั คฤหก์ ญั ญาคาดผา้ แดงลายทอง สว่ น เรอื พระที่นั่งต้นมี เรือนาค เรอื ครฑุ เรอื หงส์ เรือเหรา เรอื ก่งิ แก้ว เรอื เอกไชย เรอื กราบ เรอื พวกน้ี ตั้งบัลลงั ก์ มณฑปตรงกลางล�ำมมี ่านปักด้นิ ทอง ในเรอื กราบล้วนเปน็ พวกขุนนางชัน้ ผ้ใู หญ่ ซง่ึ การจดั เรือพระราชพิธใี น พระราชพิธีจองเปรียง กับเรือในพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินจะคล้ายกัน เพียงแค่ริ้วเรือในพระราชพิธีจอง เปรียงไมใ่ หญโ่ ตมากมายอย่างในพระราชพิธีถวายผา้ พระกฐนิ อย่างไรกด็ ี สำ� หรับกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคนี้ มวี ิธกี ารจัดกระบวนเปน็ ๒ กระบวน๒เรยี กว่า “กระบวนพยุหยาตรา (ใหญ)่ ชลมารค” และ “กระบวนพยุหยาตรา (นอ้ ย) ชลมารค” อีกกระบวนหน่ึง แตใ่ นโบราณทา่ นจดั ลักษณะกระบวนทงั้ สองนี้แตกต่างกนั อย่างไร กระบวนใดใช้เรอื กี่ล�ำ เรอื อะไรบ้างนั้นยงั ไม่มีใครสามารถที่จะค้นคว้าหาหลักฐานมารวบรวมไว้ให้สมบูรณ์ได้ จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ ฯ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ ครงั้ ทรงทำ� หนา้ ทแี่ ทนเสนาบดกี ระทรวงทหารเรอื อยใู่ นรชั สมยั พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพยายามท่ีจะค้นคว้าหาหลักฐานเพ่ือวางเป็นระเบียบปฏิบัติไว้ก็ไม่อาจ ๑ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าฯ กรมพระยาบ�ำราบปรปักษ์, เลม่ เดยี วกนั , หน้า ๘๖. ๒ ม.ร.ว.แสงสูรย์ ลดาวัลย,์ กระบวนพยุหยาตรา. 58

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ทรงกระทำ� ได้ ดงั นั้นเม่อื วนั ที่ ๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๗๐ จงึ ไดท้ รงทำ� หนังสอื กราบบังคมทลู ผา่ นทางราช เลขาธิการ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตวางระเบียบร้ิวกระบวนเรือพระราชพิธีเสียใหม่โดยจัดรูป กระบวนเข้าหาจ�ำนวนเรือที่มีอยู่เป็นส�ำคัญ ยึดหลักโบราณราชประเพณีแต่เพียงอนุโลม ซ่ึงร้ิวกระบวนเรือ ซึ่งจอมพลเรือ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ิต ทลู เกล้าฯ ถวายมีดงั นี้ กระบวนพยหุ ยาตราใหญ่ จดั เป็น ๔ สาย มีเรอื คือ ๑. เรือประตหู นา้ ๑ คู่ ๒. เรอื พฆิ าต ๑ คู่ ๓. สายนอก เรือดั้ง ๑๑ คู่ ๔. สายใน เรอื รูปสัตว ์ ๔ คู่ ถือลำ� ดบั แต่หลงั ไปหน้า คอื เรือครฑุ (กลองชนะ) เรอื กระบ่ี เรือพญาวานร เรอื อสูร ๕. เรือกลองนอก ๑ กลองใน ๑ ๖. เรือต�ำรวจนอก ๑ ใน ๑ ๗. เรือเอกชัย ทอดบษุ บก ทรงผา้ ไตรหรือพระพทุ ธรูป หรอื พุม่ แลว้ แตง่ าน มเี ครือ่ งสงู ธงสามชาย แตรสังข์ ๘. เรอื ค่ชู กั ใช้เรือเอกชยั เหนิ หาว และเรือเอกชัยหลาวทอง มีแตร สงั ข์ มโหระทึก ๙. เรือพระท่นี ่ังทรง ใชเ้ รอื พระท่ีน่งั กงิ่ ทอดพระท่นี ั่งบุษบก มเี ครอื่ งสูง ธงสามชาย ๑๐. เรือพลับพลา ใช้เรือพระที่นงั่ ศรี ทรงบลั ลงั ก์กัญญา ๑๑. เรือพระทน่ี ั่งรอง ใชเ้ รอื พระทนี่ ่ังศรี ทรงบลั ลงั ก์กัญญา ๑๒. เรือต�ำรวจ ตาม ๑ คู่ ๑๓. เรือทหาร แซง ๒ คู่ ๑๔. เรือประตหู ลงั ๑ คู่ 59

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES กระบวนพยหุ ยาตราน้อย จัดเป็น ๒ สาย มเี รอื ตา่ งๆ คือ ๑. เรอื ประตหู น้า ๑ คู่ ๒. เรอื พิฆาต ๑ คู่ ๓. เรอื ดง้ั ๗ คู่ ๔. เรอื รปู สัตว ์ ๔ คู่ ถอื ลำ� ดบั แต่หลงั ไปหนา้ คอื เรือครุฑ เรอื กระบ่ี เรอื พญาวานร เรืออสรู กลองชนะเรือครุฑ ๕. เรอื กลองนอก ๑ กลองใน ๑ ๖. เรอื ตำ� รวจนอก ๑ ใน ๑ ๗. เรอื เอกชัยทอดบุษบก ทรงผา้ ไตร หรอื พระพุทธรูป หรือพมุ่ ๘. เรือคู่ชกั ใช้เรอื เอกชยั เหนิ หาว เรือเอกชยั หลาวทอง มีแตร สงั ข์ มโหระทึก ๙. เรอื พระทน่ี ง่ั ทรง ใชเ้ รอื ศรี งดธง คงมแี ต่เคร่อื งสูง ๑๐. เรือพระท่นี ัง่ รอง ใช้เรือศรีทรงบลั ลงั ก์กัญญา ๑๑. เรือต�ำรวจหลวง ตาม ๑ คู่ ๑๒. เรือทหาร แซง ๒ คู่ ๑๓. เรือประตูหลัง ๑ คู่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำริเห็นชอบ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตใหถ้ อื เปน็ ระเบยี บปฏบิ ตั ติ งั้ แตว่ นั ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๗๐ เปน็ ตน้ มา ซึ่งเม่ือน�ำไปเปรียบเทียบกับกระบวนพยุหยาตราใหญ่เลียบพระนครคราวบรมราชาภิเษกสมโภชรัชกาลที่ ๖ และคราวบรมราชาภเิ ษกรชั กาลที่ ๗ แลว้ กไ็ มแ่ ตกตา่ งกนั มากนกั แตถ่ า้ เปรยี บเทยี บกบั รว้ิ กระบวนพยหุ ยาตรา ทางชลมารคครง้ั รชั กาลที่ ๔ ที่กล่าวไปแล้ว จะเหน็ ไดว้ ่าเรอื บางประเภท เช่น เรอื แซ เคยใชเ้ ปน็ กระบวนหนา้ น�ำหนา้ เรอื พิฆาตนั้นหายไป เรอื พิฆาตท่เี คยมีมาแต่เดิม กน็ ำ� มาเข้ากระบวนถงึ ๖ คู่ คือ เรือมังกรจำ� แลง คกู่ บั เรอื มังกรแผลงฤทธ์ิ เรอื เหราลอ่ งลอยสินธ ์ุ คกู่ บั เรือเหราลนิ ลาสมุทร เรือสางก�ำแหงหาญ คูก่ บั เรือสางชาญชลสินธ์ุ เรือโตขมงั คลน่ื คกู่ บั เรอื โตฝืนสมุทร เรอื กิเลนประลองเชงิ คกู่ บั เรือกเิ ลนละเลงิ ชล เรอื เสือทะยานชล คกู่ ับ เรือเสือคำ� รณสินธุ์ เรือดงั กล่าวทั้งหมดนี้ เปน็ เรอื ที่สรา้ งขึ้นไว้ในสมัยรัชกาลท่ี ๑ ทงั้ สิ้น แตใ่ นกระบวนพยหุ ยาตราสมยั ต่อมามีเรือพฆิ าตเพียงคเู่ ดียว คอื เรือเสอื ทะยานชล กบั เรือเสอื ค�ำรณสินธุ์ 60

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES แผนผงั ริ้วกระบวนเสด็จพระราชดำ� เนินโดยกระบวนพยหุ ยาตราใหญ่ชลมารค คราวฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปี เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๕ เรือกราบกญั ญา (เรอื ประตูหนา้ ) เรือกราบกัญญา (เรอื ประตูหน้า) เรอื พฆิ าตเสอื ค�ำรณสนิ ธ ุ์ เรอื พิฆาตเสอื ทะยานชล เรือดั้ง เรือพระตำ� รวจนอก เรอื ดั้ง เรอื ดง้ั เรอื ดงั้ เรือดง้ั เรอื กระบ่ปี ราบเมืองมาร เรอื กระบ่รี าญรอนราพณ์ เรอื ดัง้ เรือดัง้ เรือกลองนอก เรือดัง้ เรือดั้ง เรอื อสุรปักษา เรืออสรุ วายภุ กั ษ ์ เรือดงั้ เรือดง้ั เรอื ดงั้ เรอื ดัง้ เรอื สุครีพครองเมือง เรือพาลรี ัง้ ทวปี เรอื ดงั้ (กลองชนะ) (กลองชนะ) เรือดงั้ เรอื ดั้ง เรอื ด้งั เรือครฑุ เตรจ็ ไตรจกั ร เรือครุฑเหินเหจ็ เรอื ด้งั    (สงั ขแ์ ตร)    (สงั ขแ์ ตร) เรือดั้ง เรอื ดง้ั เรอื ดั้งช่ือ เรอื กลองใน เรือดง้ั ชอ่ื ทองขวานฟา้ ทองบ้าบ่ิน เรือเอกชัยหลาวทอง เรือเอกชยั เหินหาว (มโหระทกึ ) (มโหระทึก) เรือพระทน่ี ่งั สุพรรณหงส์ ทอดบลั ลังก์บษุ บก เปน็ เรอื พระทน่ี ั่งทรง เรืออเนกชาตภิ ชุ งค์ ทอดบลั ลังกก์ ญั ญา เปน็ เรอื พระท่นี ง่ั รอง เรือต�ำรวจหลวง เรอื ต�ำรวจหลวง เรือต�ำรวจหลวง เรือตำ� รวจหลวง เรือต�ำรวจหลวง เรอื กราบกัญญา เรอื กราบกญั ญา (เปน็ เรอื ประตหู ลัง) (เป็นเรือประตูหลงั ) 61

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ขอ้ ท่ผี ดิ กนั อกี ประการหนง่ึ คือ การลำ� ดบั เรอื รูปสตั ว์คร้งั รชั กาลที่ ๔ น้ัน เอาเรือกระบ่ีน�ำเป็นคหู่ น้า เรืออสูรเป็นคู่ท่ี ๒ เรือพญาวานรเป็นคู่ที่ ๓ เรือครุฑเป็นคู่ท่ี ๔ แต่ในการจัดกระบวนเรือพระราชพิธี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ นนั้ ไดน้ ำ� เรอื กระบม่ี าเปน็ คทู่ ี่ ๓ เลอื่ นเรอื อสรู เปน็ คทู่ ี่ ๑ และเรอื พญาวานรเปน็ คทู่ ี่ ๒ แตต่ อ่ มา เมือ่ คราวจัดกระบวนพยหุ ยาตราใหญ่ในงานฉลองพระนครครบรอบ ๑๕๐ ปี เมอื่ พ.ศ. ๒๔๗๕ น้นั ได้จดั ลำ� ดับเรอื รูปสตั วเ์ ชน่ เดยี วกับท่จี ัดในรชั กาลท่ี ๔ กระบวนเรือคร้ังน้ไี ม่มเี รือทรงผ้าไตร หรอื ผ้าทรงสะพกั พระพทุ ธรปู เพราะมไิ ดเ้ สด็จขน้ึ ทรงนมสั การ หรอื บำ� เพญ็ พระราชกศุ ล ณ พระอารามหลวง ดงั เชน่ เสดจ็ ถวายผา้ พระกฐนิ หรอื เสดจ็ เลยี บพระนคร และไมม่ ี เรอื พลบั พลา เพราะมิได้ทรงเครอ่ื งบรมขัตตยิ ราชภูษิตาภรณ์ ไม่ตอ้ งทรงเปลือ้ งพระมหาพชิ ยั มงกุฎ หรอื พระ ชฎามหากฐนิ ส�ำหรับกระบวนพยุหยาตราน้อยชลมารค ที่พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ถือเป็นแบบต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๗๐ เปน็ ต้นมานั้น มขี ้อแตกตา่ งจากกระบวนท่ีเคยจดั กันมาแต่ก่อนดังนี้ คอื ๑. เดมิ ไมเ่ คยใชเ้ รือรปู สัตว์ คราวนไ้ี ดน้ ำ� เอาเรอื รูปสัตว์มาเขา้ กระบวนดว้ ย โดยจัดให้เป็นคู่ท่ี ๘ ถึง ๑๑ รวม ๔ คู่ โดยตัดเรือดง้ั เดิม ๔ คู่ออกไป ๒. เรือพระท่ีนั่งเป็นเรือทอดบัลลังก์กัญญา แต่เดิมเรือที่ทอดบัลลังก์กัญญาไม่ใช้เครื่องสูง แต่ใน กระบวนทจี่ ดั ใหม่เปลย่ี นให้มีเคร่ืองสงู ดว้ ย ต่อมาเมื่อได้มีการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครองเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ สถานการณ์บ้านเมืองได้ เปล่ียนแปรไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้เสด็จประทับอยู่ในพระราชอาณาจักร การถวายผ้าพระ กฐินโดยกระบวนพยุหยาตราจึงมอี นั ต้องระงับไปเป็นเวลากว่า ๓๐ ปี และในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลปจั จุบนั ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหฟ้ ้นื ฟจู ารีตประเพณีการเสด็จพระราชด�ำเนนิ ถวายผา้ พระกฐนิ โดยกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคขน้ึ ใหมเ่ ปน็ ครั้งแรกในรัชกาลปัจจุบนั ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นโอกาสทีก่ รงุ รตั นโกสนิ ทร์มีอายุครบ ๒๐๐ ปี รฐั บาลได้จัดงานเฉลมิ ฉลองข้นึ พระราชพธิ ที ีย่ งิ่ ใหญอ่ ยา่ งหนึง่ คอื การเสดจ็ พยหุ ยาตราทางชลมารค ในวนั ที่ ๕ เมษายน และกระบวนพทุ ธ พยหุ ยาตราในวนั ท่ี ๑๓ เมษายน โดยอญั เชญิ พระพทุ ธสหิ งิ คแ์ หอ่ อกเพอื่ ใหป้ ระชาชนไดส้ รงนำ้� ในวนั สงกรานต์ อันเปน็ วนั ขน้ึ ปีใหมข่ องชาวไทย และถอื เปน็ สริ ิมงคลในการฉลองกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี การจัดกระบวน พยหุ ยาตราของทั้งสองวนั นี้ ได้ใชแ้ ผนผังการจัดริ้วกระบวนการแบบเดียวกัน เพยี งแต่ว่าในวนั ท่ี ๑๓ เมษายน มิไดอ้ ญั เชิญเรือพระท่ีนง่ั สพุ รรณหงสอ์ อกดว้ ยเท่านน้ั การเสด็จพยหุ ยาตราทางชลมารคในวันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ นนั้ รัฐบาลไดก้ ราบบังคมทูลพระ กรณุ าขอพระราชทานใหเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงบวงสรวงสมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าช โดยกระบวน พยหุ ยาตราใหญช่ ลมารค เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดช้ ืน่ ชมพระบารมแี ละภาคภูมใิ จในมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ได้เตรยี มจัดร้ิวกระบวนพยหุ ยาตราใหญ่เช่นเมื่อคร้งั ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ กลับจากการเสด็จเปิดสะพานพระพทุ ธยอดฟ้า คราวฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ปี เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๗๕ แต่ทแ่ี ตกตา่ งออกไปคือเพ่ิมเรอื พระท่นี ัง่ อนนั ตนาคราช ทอดบษุ บกบัลลังก์ เชิญพระชัยหลงั ชา้ งขึน้ อีกหนง่ึ ล�ำ แตค่ รั้นไดม้ ีการซอ้ มใหญ่รวิ้ กระบวนดงั กลา่ วไดม้ ีผู้นำ� ความกราบบงั คมทลู ใหท้ ราบฝา่ ละอองธลุ พี ระบาทวา่ กระบวนพยหุ ยาตราใหญช่ ลมารคทซี่ อ้ มเตรยี มถวายให้ 62

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เปน็ กระบวนเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ นน้ั มองดไู มง่ ดงามเปน็ สงา่ เทา่ ทค่ี วร เพราะเรอื พระทน่ี งั่ ไปอยทู่ า้ ยกระบวน มีเรือตามแต่เรือกรมวัง ๑ ล�ำ กับเรือแซงอีก ๑ ล�ำเท่านั้น ส่วนในสมัยโบราณน้ันมีเรือพระบรมวงศานุวงศ์ ตามเสดจ็ เปน็ กระบวนหลงั อกี หลายลำ� เรอื พระทน่ี งั่ จงึ ดไู มร่ งั้ ทา้ ยกระบวน สว่ นปจั จบุ นั ไมม่ เี รอื พระบรมวงศานวุ งศ์ ตามเป็นกระบวนหลัง เรือพระที่นั่งจึงกลายเป็นกระบวนหลังไม่งดงาม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระราชด�ำริเห็นพ้องตามค�ำกราบบังคมทูลน้ัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงพระด�ำริแก้ไข๑ จัดรูปกระบวนเรือเสียใหม่ให้ดูงาม โดยได้ ประทานข้อคิดเห็นในการปรบั ปรุงกระบวนพยหุ ยาตราใหญ่ชลมารค คอื ๑. ถอนเรือประตหู นา้ ซ่งึ เดิมกำ� หนดใชเ้ รอื ดง้ั ทอง คือ เรือทองขวานฟ้า และทองบา้ บน่ิ แล่นนำ� อยู่ สายนอกน้นั ลงมาเปน็ เรือกระบวนหลงั สายในแนวเดยี วกบั เรอื รปู สตั วใ์ นกระบวนหน้า ๒. จดั เรือดั้งคู่ ๑๑ ข้นึ ไปเป็นเรือประตูหน้า แตใ่ ห้แล่นนำ� อยสู่ ายในแนวเดยี วกับเรือพฆิ าตและเรือ รูปสัตว์ ๓. กระบวนหนา้ สายนอก ซ่งึ ริ้วกระบวนเดมิ เปน็ เรอื ดัง้ ๑๑ คู่น้นั ใหล้ ดลงเหลือเพยี ง ๖ คู่ และมีเรอื รูปสตั ว์ ๔ คู่ เป็นเรอื สายใน ๔. ถอนเรอื ด้ัง คู่ท่ี ๗ ถึง ๑๐ รวม ๔ คู่ มาเป็นเรือกระบวนหลังริว้ นอก การจัดกระบวนเรือตามพระด�ำริ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทำ� ให้รูปกระบวนงดงามขึ้นคอื มีทงั้ กระบวนหน้า กระบวนเรอื พระที่นง่ั กระบวนแซงเสดจ็ และกระบวนหลงั เป็นลักษณะดุจดาวล้อมเดือน คือมีเรือพระท่ีนั่งเป็นเดือน เรืออ่ืนในกระบวนหน้า ในกระบวนแซง และใน กระบวนหลัง เปน็ ดาวลอ้ มอยทู่ ุกด้าน ร้ิวกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ในคราวสมโภชกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี จึงเปลีย่ นไปจากรว้ิ กระบวนแต่โบราณ ๑ คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, กระบวนพยุหยาตรา, ๒๕๒๕, หนา้ ๒๕ - ๒๖. 63

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES กระบวนพยหุ ยาตรา (ใหญ่) ชลมารค สมโภชกรงุ รัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ๕ เมษายน ๒๕๒๕ The Large Royal Barge Procession held on April 5, 1982 in Celebration of Bicentennial of Bangkok 64

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 65

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรือพระทีน่ ัง่ สพุ รรณหงส์ Suphannahong Royal Barge เรือพระที่น่งั อนันตนาคราช Ananta Nagaraj Royal Barge 66

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES กระบวนพระราชอสิ รยิ ยศอยา่ งนอ้ ย แหอ่ ญั เชิญพระชยั หลังชา้ ง จากเรือพระทน่ี ง่ั อนันตนาคราช ไปยังพลบั พลาท้องสนามหลวง ในการสมโภชกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี วนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๕ Royal Procession of Phra Chai Lang Chang (Buddha Image of Victory) 67

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ พร้อมด้วยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงบวงสรวงสมเดจ็ พระบูรพมหากษัตราธริ าช ณ ปะรำ�พิธที อ้ งสนามหลวง ในงานสมโภชกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๒๕ His Majesty The King and Her Majesty The Queen paid homage to the ancestors during the Ceremony of Celebration of Bicentennial of Bangkok on April 5, 1982 68

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ลวดลายไม้จำ�หลักของเรือพระที่นั่งอนนั ตนาคราช Wood carving design on Ananta Nagaraj Royal Barge 69

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื กระบ่ีปราบเมืองมาร ตกแต่งโขนเรือเปน็ รูปหนุมาน หรือกระบ่สี ขี าว The Krabi Prab Muang Mara Royal Barge has Hanuman monkey figure - head painted in white. เรอื กระบร่ี าญรอนราพณ์ แต่งโขนเรือเป็นรูปกระบ่ี (ลิง) สีลูกหว้า The Krabi Ran Ron Rap Royal Barge has monkey figure - head in bark purple. 70

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES เรอื เสือได้แก่ เรือเสอื ทะยานชล และเสือคำ�รณสินธุ์ ตกแตง่ โขนเปน็ รปู เสือใชเ้ ปน็ เรือปนื หรอื เรือพฆิ าตในสมยั ก่อน The Royal Barges with tiger figure - head are Rua Sua Thayan Chon, and Rua Sua Khamron Sinthu, which are ancient warships with muskets. โขนเรอื เสอื ตกแต่งโขนเป็นรปู เสือ และใช้เป็นเรือปืนหรือเรอื พิฆาตในสมัยกอ่ น The tiger figure - head barges with muskets. 71

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรือทองขวานฟ้า (แผลงมาจากช่ือ ทองแขวนฟ้า) Rua Thong Khwan Fa meaning Golden Sky Axe Royal Barge. เรอื แซง เดมิ เรยี ก เรือแซ ในสมยั อยธุ ยาใช้เป็นกลมุ่ เรอื พวกพลอาสามอญ กองอาทมาต Rua Saeng was formally called Rua Sae, which was for the Mon volunteers during the Ayutthaya period. 72

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื พระท่ีน่งั สพุ รรณหงส์ Suphannahong Royal Barge. เรอื พระทีน่ ่งั สุพรรณหงส์ : โขนเรอื แกะสลกั เปน็ รูปหงส์ไทยอย่างงดงาม Suphannahong Royal Barge with beautifully carved figure - head in the form of celestial swan in Thai style. 73





เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรือพระทนี่ ั่งสพุ รรณหงส์ Suphannahong Royal Barge. เรือพระทีน่ ั่งอนนั ตนาคราช Ananta Nagaraj Royal Barge. 76

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES เรอื พระทน่ี งั่ อเนกชาติภชุ งค์ Anekachat Bhujong Royal Barge. 77

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรือเอกชัยเหนิ หาว Rua Ekkachai Hoen Hao Royal Barge. 78

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรือพิฆาต : เรือเสอื ทะยานชล และเรือเสือคำ�รณสนิ ธุ์ Rua Phikhat Royal Barges with tiger figure - head : Rua Sua Thayan Chon and Rua Sua Khamron Sinthu. เรอื ครฑุ เตรจ็ ไตรจกั ร Rua Krut Tret Trai Chak Royal Barge. 79

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรอื ดั้ง ในริ้วกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค Rua Dang Barges in the Royal Barge Procession. 80

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรอื กระบีป่ ราบเมืองมาร : โขนเรอื เปน็ รูปหนุมาน จากเร่ืองรามเกยี รติ์ Monkey figurehead royal barges : Royal Barge with Hanuman figure - head from the Ramakien epic. เรือสุครีพครองเมอื ง : โขนเรือเป็นรปู สุครพี (วานรสแี ดง) จากเรือ่ งรามเกยี รต์ิ Rua Sukrip Khrong Mueang has the figure - head Sukhrip from the Ramakien epic in the shape of red monkey. 81









เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES เรืออสรุ วายุภกั ษ์ Half Demon Half bird Royal Barge called Rua Asura Wayuphak. เรือครฑุ เหนิ เห็จ Rua krut Hoen Het Royal Barge. 86

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ร้วิ กระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค วันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๒๕ 87

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES 88

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES กระบวนพระราชอสิ รยิ ยศอย่างน้อย แหเ่ ชิญพระชยั (หลังช้าง) ไปยงั พลับพลาท้องสนามหลวง นำ�ร้วิ ราชรถเชญิ พระชัย ๑ ธงสามชาย ๒ มโหระทึก ๒ กลองชนะ ๔๐ จ่าปี่ จา่ กลอง ๓ แตรฝรัง่ ๒๐ แตรงอน ๔ สงั ข์ ๒ เครือ่ งสงู หน้า ๗ ชัน้ ๒ ๕ ชนั้ ๖ บงั แทรก ๔ เครอ่ื งสูงหลงั ๗ ชนั้ ๒ ๕ ช้ัน ๔ บังแทรก ๒ กำ�กับเครอ่ื งสูง ๒ สารวตั รแตร ๑ สารวตั รกระบวน ๑ ผกู้ ำ�กับกระบวน ๑ ๑ คนฉดุ ชัก (หน้า ๑๖) ๒๔ (หลัง ๘) กำ�กบั ราชรถ ๒ บังพระสรู ย์ ๑ }พระกลด ๑๖ อินทร์ เชญิ พ่มุ ดอกไม้ทอง (๘) ๒ พรหม เชิญพ่มุ ดอกไมเ้ งิน (๘) ๑ กำ�กับกระบวนหลงั ๑ ประคองพระชยั สารถรี าชรถ 89

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES อน่ึง นายภิญโญ ศรีจ�ำลอง ได้ประพันธ์กาพย์เห่เรือ ชมพระราชพิธีเสด็จทางชลมารค เป็นบทชม กระบวนเรอื ในทัศนะของกวผี ปู้ ระพนั ธ์ ซงึ่ กาพย์เหเ่ รือฉลองกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี นใ้ี ชเ้ หใ่ นงานพระราช พิธเี สดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคในวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๕ ดว้ ย ชมพระราชพธิ เี สดจ็ ทางชลมารค โคลงสี่ ๏ พระราชพิธีชลมารคใช ้ ชูเฉลิม ฉลองรัตนโกสนิ ทร์เสรมิ ศักดใ์ิ ห้ สองศตวรรษกรุงเตมิ เตม็ เกยี รติ เกรกิ แฮ สามสบิ หกศกธิราชได ้ เดน่ ปอ้ งครองถวัลยฯ์ กาพยย์ านี ๑๑ ๏ พระราชพิธศี รีโสภาคย ์ แดนชลมารคหลากนาวา เรง่ เร้าเจ้าพระยา จ้าเจดิ ยศสดใสแสน ๏ นาวาห้าสบิ สองลำ� เลศิ ลำ�้ ช่ือลือลน่ั แดน แม้มีฝีมอื แมน ไม่แมน้ ที่ฝีมอื ไทย ๏ สพุ รรณหงสแ์ ห่งจอมราช งามผงาดผาดผายไป ลวดลายพรายพิไล ไพจติ รแพรว้ แก้วกาญจน์กรอง ๏ เรือหลามงามหน้าหลงั พลสะพรั่งทง้ั พายทอง อึงม่ีป่ฆี อ้ งกลอง ร้องเห่กาพย์ซาบซ้ึงขวญั ๏ ฉลองสองร้อยป ี บุรเี รอื งเมืองสวรรค์ รตั นโกสินทรอ์ ัน บันลือศักดจ์ิ ักรวี งศ์ ๏ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก ชูโชคชัยไทยยรรยง เร่มิ กรงุ รุ่งดำ� รง สง่ ศักด์ชิ าตศิ าสนา ๏ จวบเข้าเก้ารชั กาล เพิม่ ไพศาลงานนานา วัตถลุ เุ จริญตา อารยธรรมยำ�้ เกยี รติยศ ๏ บรมกษตั ริยป์ ัจจุบันน้ ี ชีช้ ื่อไทยไกรปรากฏ โลกเหน็ เพญ็ ภาพพจน ์ งดงามคา่ จ้าศักดศ์ิ รี 90

เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๏ สามสิบหกศกครอง กรงุ ฉลองสองรอ้ ยปี มงคลดลทว ี เปรมปรดี ิ์สุขทุกหมู่ชน ๏ คราวเสดจ็ แดนชลมารค สองฝั่งฟากมากผ้คู น เต็มตืน้ ช่ืนกมล ยอบตนซ้องพร้องพรถวาย ๏ เดชจรสั รตั นตรัย พสิ ุทธ์ิใสแผค่ ณุ ปราย อ�ำนาจพระแก้วฉาย สงิ่ ศกั ด์ิสทิ ธิฤ์ ทธ์ิบนั ดาล ๏ เดชะพระสหิ ิงค์ โปรดดลสิง่ ม่งิ ขวญั ประทาน สูพ่ ระองค์ทรงสขุ ศานต์ ดาลเดชกลา้ บารมี ๏ นำ� รฐั ฉตั รชยั ชาต ิ ประชาราษฎรเ์ ปรมปรีดี รงุ่ ศกั ดิจ์ กั รีศร ี ทวีเฟอื่ งเรอื งเจรญิ ๏ บรรดาประชาไทย แสนสขุ ใสใจเพลิดเพลนิ ทกุ ข์ยากหากเผชญิ จงเหนิ ห่างรา้ งผองภยั ๏ ฉลองสองร้อยปี นิมิตรดีศรีไผท รัตนโกสนิ ทร์สมัย พิไลโลกโชคชืน่ ชู ๏ ฉลองชาติศาสนก์ ษตั รยิ ์ สมโภชรฐั จดั ฟืน้ ฟู จิตใจไทยตราตรู อยยู่ นื ม่นั นริ นั ดรฯ 91

เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ส�ำหรับการเสด็จพระราชด�ำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ทางชลมารคครั้งนี้ นอกจากจะมี พระบรมราชโองการให้เปลี่ยนร้ิวกระบวนใหม่แล้ว ยังมีส่ิงซึ่งถือว่าเป็นประวัติการณ์คร้ังแรกของการเสด็จ พระราชด�ำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เน่ืองจากทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ใหเ้ จ้านายฝา่ ยในร่วมกระบวนเสดจ็ ฯ ดว้ ย คอื ๑. ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามเสดจ็ ในเรอื พระทน่ี งั่ สพุ รรณหงส์ ดว้ ย โดยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ประทบั พระราชอาสนท์ างเบอื้ งซา้ ย สมเดจ็ พระบรมโอรสา ธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ประทบั บนกระทงในบลั ลงั กก์ ญั ญาตรงขา้ มทป่ี ระทบั และสมเดจ็ พระเทพรตั นราช สดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประทบั บนกระทงในบัลลงั กก์ ญั ญาแทบพระบาท พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ๒. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟา้ จุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อัครราชกุมารี และพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทนิ ดั ดามาตุ ตามเสดจ็ ในเรอื พระทนี่ ง่ั อเนกชาตภิ ชุ งค์ ซ่งึ เป็นเรอื พระที่นัง่ รอง โดยประทบั บนกระทงในบัลลังก์กัญญาไม่ทอดพระเกา้ อี้ อยา่ งไรกด็ ี ตอ่ มาในวนั ท่ี ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ใน พระราชพธิ ถี วายผา้ พระกฐนิ โดยกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ณ วดั อรณุ ราชวราราม โดยมกี ารจดั กระบวน เรอื ตามแบบกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค(ใหญ)่ เมอื่ ครง้ั สมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์๒๐๐ปีเมอื่ วนั ที่๕เมษายน ๒๕๒๕ และใชบ้ ทเห่เดมิ ของเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร์ เป็นบทเหช่ มกระบวนเรือ ชมทวิ ทศั น์ ชมนก ชมปลา และ ชมไม้ น.ต. มงคล แสงสว่าง เป็นเจา้ หน้าท่เี ห่ นอกจากน้ี มี พ.จ.อ.สจุ นิ ต์ สุวรรณ์ และ พ.จ.อ. ทวี นลิ วงษ์ เปน็ ผู้ชว่ ยในการเหด่ ว้ ย ก่อนจะถงึ วนั พระราชพิธี กองทพั เรือไดน้ ำ� เรอื พระทน่ี ั่งออกจดั กระบวนเรอื ฝึกซอ้ มใหญ่ ๒ คร้งั คอื วันท่ี ๖ และ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ ในวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ เป็นวันมหามงคลของราชอาณาจักรไทยอีกวาระหน่ึง ด้วยเป็นวันที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงครองราชย์ได้ ๔๒ ปี ๒๓ วัน ซึง่ นานกวา่ สมเด็จพระมหากษตั รยิ าธริ าช ทกุ พระองค์ในอดีต รัฐบาลได้จดั งานเฉลิมฉลอง พระราชพธิ ีรัชมงั คลาภิเษกข้นึ ในงานน้ีระหว่าง วนั ท่ี ๒-๕ กรกฎาคม มกี ารเห่เรือพระท่นี ่ังสพุ รรณหงส์ เรอื พระท่ีนงั่ อนันตนาคราช และเรอื พระทีน่ ั่งอเนกชาติภชุ งค์ ที่ ทา่ ราชวรดฐิ โดยบทเหน่ นั้ คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกจิ รองอธิบดีกรมศลิ ปากรในขณะนัน้ เปน็ ผูป้ ระพนั ธ์ ดว้ ย 92

เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES กาพยเ์ ห่เรอื เฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช เนื่องในมหามงคลสมัยรัชมงั คลาภเิ ษก ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแมน่ กจิ ประพนั ธ์ พระคือรวรี งุ่ ฟ้า แรงศาน ตสิ ขุ นา ยงยิ่งกฤดาการ กอ่ งเกลา้ พระกรุณาสอ่ งฉายฉาน โลกช่ืน “ภูมพิ ลมหาราช” เจ้า แหลง่ หล้าบังคม พระคือรวรี งุ่ ฟ้า พระกฤษฎาดำ� รงแสดง พระกรุณลำ�้ เลอแสง ทุกหล้าแหลง่ บังคมคณุ พระทรงด�ำรงราชย ์ ประชาชาตชิ นื่ ชมบญุ ไอศวรรยย์ งิ่ ยงอดุลย ์ อุน่ ศิรเกลา้ ผองเผา่ ไทย ภมู พิ ลมหาราชเจา้ พระผ่านเผา้ เกียรติเกรียงไกร ทรงราชยเ์ น่นิ นานสมัย ยิ่งกษัตรยิ ์ใดไพบูลย์ผล แผน่ ดินมีธัญญา น�ำ้ มีปลาค่าอนนต์ กันดารพระประทานชล ทกุ ดวงกมลพรอ้ มภกั ดี รัชมังคลาภิเษก พระบุญเอกอจั ฉรีย์ รอนเข็ญเยน็ ปถพี ทีฆายโุ กโหตอุ ดุ ม ขอจงทรงพระเจรญิ เชญิ ทพิ ย์พรกรประนม ทวยราษฎร์ผดมชม ภิรมยร์ ชั ย์โชติชชั วาล เผยแผ่พระกฤษฎา งามสง่าปรีชาชาญ แหล่งหล้าสาธกุ าร พระบรบิ าลทศพิธธรรม พระเดชปกเกศชาต ิ ปกทวยราษฎรน์ านฉน�ำ ภญิ โญเดโชปถมั ภ์ ล้ำ� ดินฟ้าตรงึ ตราหทยั ทรงสดบั ศพั ทเ์ ทวษ คณู หารเหตเุ ภทพาลภยั ขจดั พิบตั ิไกล เพอ่ื ถน่ิ ไทยไพบูลย์ผล เกษตรเขตราบลุ่ม ดอนดนิ ชมุ่ คุ้มชีพชน คน้ คดิ ผลิตฝน ผลพิเศษเขตขัณฑง์ าม 93

เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES พระน�ำความหวงั ชาติ ร่มเกลา้ ราษฎร์ทกุ เขตคาม สยามรฐั เลศิ ลอื นาม ความไพบลู ย์พูนทวี เชดิ ชาตสิ ืบศาสนา บญุ กริ ยิ าอาจารี ทรงธรรมน�ำวิถ ี พุทธจิ รีย์ทวีศานต์ ประทปี ช่วงดวงใดเปรียบ มทิ นั เทียบบรมสมภาร พุทธศาสน์กอ่ งตระการ พระบริบาลบ�ำรงุ ชน สว่างล�้ำธรรมประภาพ ทวยราษฎรก์ ราบบาทยุคล สงั ฆานุภาพดล ผลพสิ ุทธอ์ิ ุตดมคุณ งามสงา่ จรรยาวัตร ราชปฏบิ ตั ิจรัสบุญ ทรงผนวชน้อมมนญุ เอกอดุลยบ์ ุญโญปถมั ภ์ สรรพศาสตรแ์ ลศกึ ษา วิทยาอารยธรรม ดนตรีศลิ ปกรรม วรรณศลิ ปล์ �ำ้ เลศิ บำ� รงุ กีฬาพลานามยั แข่งเรอื ใบทรงผดุง พระมหาการุณมงุ่ ชีพชนรุ่งเกรกิ กรุงไกร โรงเรยี นนาม “ร่มเกลา้ ” เมตตาเยาวชนไทย กันดารผา่ นพงไพร โปรดเกล้าให้ได้อ่านเขยี น “ภมู พิ ล” “สวฤกษ”์ ทนุ ทรงคำ้� จนุ ผเู้ ลา่ เรยี น สง่ เสรมิ เพม่ิ พนู เพยี ร ค้มุ เศียรเกลา้ ทกุ เผา่ พนั ธุ์ กองทัพสรรพอาวธุ พรอ้ มรบยุทธเชย่ี วช�ำนัญ บกเรืออากาศสรรพ ์ พระทรงธรรมท์ รงบ�ำรงุ โองการพระผ่านฟ้า ทัพแกรง่ กล้าอาทรผดงุ ตอ่ เรอื เพือ่ ปรับปรุง ทพั เรอื รุ่งจรุงเจรญิ น่านน�้ำแนวประเทศ ทุกคามเขตหาญเผชิญ เรือ ต.ตอ่ เองประเมนิ สมรรถนะดว้ ยพระองค์ นอบนอ้ มพร้อมพทิ ักษ์ จอดจติ ภกั ด์ิพระจอมพงศ์ ปกปอ้ งขตั ติยวงศ ์ เพือ่ ไตรรงค์ชพี คงพลี พระเอยพระจอมจกั ร ไพร่ฟา้ สมคั รสามคั คี ถวายชพี ภูบด ี มัน่ มมิ วี ันคลอนคลาย พระเอยพระมหาราช เกียรติภวู นาถเกรกิ กำ� จาย พระคุณเลศิ พรรณราย น้อมใจกายถวายไท งามเอยสพุ รรณหงส ์ เหเ่ ทิดองค์พระทรงชัย รัชมงคลสมัย ทกุ ดวงใจไทยปรดี า 94


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook