Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1-Introduction-w

Description: 1-Introduction-w

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะหน ้าํ และนาํ้ เสยี เบอื้ งตน บทท่ี 1 แหลงน้ําและคุณลักษณะของนา้ํ โดย ไพฑูรย หมายมัน่ สมสุข นกั วิทยาศาสตร 8ว กรมโรงงานอุตสาหกรรม น้าํ เปน ทรัพยากรธรรมชาติทจี่ าํ เปนตอการดํารงชีวิตของสิง่ มชี วี ติ เชน มนษุ ย สตั วแ ละพืชตา งๆ โดยเฉพาะอยา งยิง่ มนษุ ยซ่งึ มกี ารใชนาํ้ เปน ปจจยั หลักในกิจกรรมตางๆในชีวิตประจาํ วัน เชน การ อุปโภค การบรโิ ภค การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การชลประทาน การคมนาคมขนสง การกีฬาและ ดานอ่นื ๆ ตงั้ แตอ ดตี กาล มนษุ ยมกั ต้งั ถ่นิ ฐานอยูในแถบลมุ แมน ํา้ หรือในบรเิ วณท่มี แี หลง น้าํ ทําใหมแี หลง อารยธรรมตามเขตลุม นํ้าตางๆมากมาย ดงั นั้นจะเหน็ ไดวานาํ้ มคี วามสาํ คัญอยา งมากตอการดํารงอยู ของสิง่ มีชวี ติ นํา้ ในแหลง น้ําธรรมชาติมีปริมาณมากเพยี งพอและมีความสะอาดโดยมีส่ิงเจอื ปนอยบู า ง ซ่ึงมคี ณุ ลักษณะแปรเปล่ียนไปตามแหลงและลกั ษณะของสง่ิ แวดลอมของแหลง น้ํานน้ั แตเม่ือกาลเวลา ผา นไป โลกของเรามจี าํ นวนประชากรเพม่ิ มากขึ้นอยา งรวดเรว็ อันเปนผลทําใหมีการใชประโยชนจากนา้ํ ในการประกอบกิจกรรมตา งๆดงั ทก่ี ลา วมาแลว ขางตน เพม่ิ ขึน้ ตามไปดวยอยางมากมาย ดวยเหตนุ ี้จึง เปน ผลทาํ ใหน ํา้ ในแหลงนา้ํ ตา งๆถกู ปนเปอนดว ยสารเจือปนหลากหลายชนดิ และหลายประเภทใน ปรมิ าณท่ตี างๆกันซง่ึ เปน สารที่มาจากกิจกรรมตา งๆของมนุษยน ัน่ เองโดยเฉพาะในแหลง ชุมชนทมี่ ี ประชากรอาศัยอยเู ปนจํานวนมากและแหลงประกอบการอตุ สาหกรรม ดังนน้ั ในปจ จบุ ันน้าํ ในแหลง นํ้า จงึ มคี ุณภาพที่เปลีย่ นแปลงไปตามลกั ษณะของการใชงานและของเสยี หรือส่งิ เจือปนทปี่ นเปอ นลงไปใน นาํ้ ทัง้ ท่มี าจากน้าํ ท้ิงชุมชน นํา้ ทง้ิ จากการประกอบการอุตสาหกรรมและนาํ้ ทิ้งจากการประกอบการ เกษตรกรรม ทําใหเกิดปญ หาทางดา นมลพษิ ทางนํ้า (Water Pollution) ดังน้นั จึงมคี วามจาํ เปนอยา งยงิ่ ทจ่ี ะตอ งมกี ารตรวจสอบและเฝา ระวังคณุ ภาพนํา้ ในแหลงนํ้าตา งๆเพอื่ อนรุ ักษแหลงน้ําใหม คี ุณภาพทีด่ ี ตอไป 1.1 แหลง นา้ํ ตามธรรมชาติ โดยทัว่ ไป แหลงน้าํ ตามธรรมชาติมกี ารจัดแบง ตามลักษณะของน้ําออกเปน 3 ประเภท คือ นํ้าฝน น้าํ ผวิ ดินและนํา้ ใตด นิ ซ่ึงมีปรมิ าณนาํ้ ในแตล ะประเภทดังแสดงไวใ นตาราง 1.1 ก. นา้ํ ฝน นํ้าฝนมีการกระจายไปตามแหลง นาํ้ ประเภทตางๆ เชน เมื่อฝนตกน้ําฝนจะซมึ ลงไปในดนิ หนึ่ง สว นและอีกสวนหน่ึงจะไหลนองไปตามพื้นดนิ นาํ้ ฝนทซ่ี ึมลงไปในดนิ ก็จะกลายเปน น้าํ ใตด ินประมาณ 10% ระเหยไปประมาณ 30% และอกี ประมาณ 10% จะซมึ ขน้ึ มาบนผิวดินซ่งึ จะรวมกบั น้ําท่ีไหลนองไป ตามบนพน้ื ดินประมาณ 50 % รวมเปน น้าํ ผวิ ดนิ ทง้ั หมด (60%) และแหลงนํ้าผวิ ดินนเี้ องทใี่ ชเ ปนแหลง นํา้ ในการผลติ น้าํ ประปาสําหรับใชทวั่ ไป อยางไรกต็ ามแหลงน้ําผวิ ดนิ น้มี ีอตั ราการระเหยสูงพอสมควร เนอื่ งจากมพี ื้นทผ่ี ิวมาก ดงั น้นั จะเหน็ ไดวา น้ําฝนเปน สวนท่สี ําคัญตอ การกาํ เนดิ ของน้ําผิวดินนัน่ เอง ประเทศไทยมปี ริมาณน้าํ ฝนเฉล่ียสูงพอสมควรโดยมีคา เฉล่ยี ปละประมาณ 1800 มิลลเิ มตร ปรมิ าณ 1-1

การวิเคราะหนํา้ และนํ้าเสียเบือ้ งตน น้าํ ฝนนอยทีส่ ดุ ท่จี ังหวดั ตากและมากที่สุดท่จี งั หวดั ระนอง ประมาณ 1000 และ 4500 มลิ ลิเมตรตอป ตามลาํ ดับ ตาราง 1.1 การกระจายปรมิ าณนาํ้ ของแหลง นํ้าตางๆบนโลก1 ประเภทแหลง นํ้า ปรมิ าณนํ้า (x 1012 ลบ.ม.) รอ ยละของนํ้าทั้งหมด แหลง น้ําฝน 13 0.001 แหลงน้ําผิวดนิ 125 0.0089 0.0001 ทะเลสาป 1 97.20 แมน ํา้ ลําธาร 1,320,000 2.16 ทะเลและมหาสมทุ ร 0.32 แหลง น้ําเคม็ อ่ืนๆ 29,104 0.31 แหลงนํ้าใตด นิ 4,237 100 บอนํ้าตนื้ 4,170 บอ น้ําบาดาล 1,357,650 รวมทัง้ สน้ิ นาํ้ ฝนจดั เปน นํา้ ทสี่ ะอาดอยา งหน่ึงถาหากไมมีการปนเปอ นจากสารมลพิษในอากาศในขณะท่ี ฝนตกหรือไมมีการปนเปอนจากการเก็บกกั นา้ํ ฝนในภาชนะทีไ่ มสะอาดและวิธีการทีใ่ ชเก็บไมถ ูกวธิ ีตาม หลกั วิชาการ ในอดตี ประชาชนในชนบทจะเกบ็ กักนํ้าฝนไวใ ชในการอุปโภคบรโิ ภคไดอยางเพยี งพอและ เปนน้าํ ทส่ี ะอาดปราศจากสารพิษเจือปน แตใ นปจจุบนั น้ีการอตุ สาหกรรมเจริญกา วหนา และมกี าร ขยายตัวจากในเมอื งออกสูชนบทเปน ผลใหอ ากาศท่รี ะบายออกมาจากปลอ งของโรงงานอตุ สาหกรรมซง่ึ อาจจะมสี ารมลพษิ ปนเปอ นอยใู นบรรยากาศ เม่ือมฝี นตกลงมาจึงทาํ ใหน าํ้ ฝนทีไ่ ดมีความสะอาดนอยลง จากการศกึ ษาคณุ ภาพนํ้าฝน เม่อื ป 2536 จํานวน 18 ฝน จากท่ตี า งๆในเขตกรงุ เทพมหานครและ ปรมิ ณฑล พบวา ในชว ง 5 นาทแี รกของฝนมคี าความเปน กรดและดาง ตา่ํ กวา 5.6 และมีคาสูงขน้ึ เมอ่ื เวลาผา นไป 15 - 20 นาที สวนปริมาณอิออนลบ เชน คลอไรดและซัลเฟต เปนตน มคี ายังไมสูงนกั ยังคง อยูใ นเกณฑมาตรฐานนํา้ ดืม่ ขององคก ารอนามยั โลก ปรมิ าณออิ อนบวกบางชนิด เชน สังกะสกี ย็ งั มี ปริมาณอยใู นเกณฑมาตรฐาน สว นแคดเมยี ม(II)ออิ อนมีคาสงู กวา มาตรฐานประมาณ 2 เทา และตะกวั่ (II) ออิ อน มคี า สงู มากโดยเกินกวา ทกี่ ําหนดไวในมาตรฐานประมาณ 4 เทา รายละเอียดแสดงไวใน ตาราง 1.2 จากขอมลู ขางตน จะเหน็ ไดวา นํ้าฝนท่ตี กลงมาในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑลมลี ักษณะ เปน ฝนกรดและมีซลั เฟตคอ นขางสูงเลก็ นอยเนอ่ื งจากมีการใชน ํ้ามนั เช้อื เพลงิ กนั มากสําหรบั เคร่ืองจกั ร และรถยนตต า งๆ ทําใหม กี า ซออกไซดข องกํามะถันอยใู นอากาศมาก นอกจากนีย้ งั พบวา มีปรมิ าณ ตะกั่วในอากาศสงู ดวยเนอ่ื งจากการใชตะกัว่ เปนสารกันนอ คในนํ้ามันเช้ือเพลงิ 1 ปรบั ปรงุ จาก เกรยี งศกั ด์ิ อุดมสนิ โรจน. วศิ วกรรมสิง่ แวดลอ ม. มิตรนราการพิมพ. กรุงเทพฯ. 2537. หนา 7 1-2

การวิเคราะหนํ้าและนาํ้ เสียเบอื้ งตน ตาราง 1.2 คณุ ภาพนํ้าฝนในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล2 ดัชนี คา เฉลยี่ สว นเบ่ยี งเบน คาตํา่ สุด คาสงู สดุ มาตรฐานนํา้ ดม่ื * มาตรฐาน 4..0 5.8 - pH (0 - 5 นาที) 4.8 4.4 6.1 - pH (15 - 20 นาท)ี 5.2 0.5 0.34 8.80 250 Cl-(ppm) 2.90 0.5 37.0 254.0 250 CSOd24+= (ppm) 116.6 1.88 6.8 73.4 10 (ppb) 26.1 61.0 57.8 571.2 50 Pb2+ (ppb) 217.8 19.1 32.6 129.0 Zn2+ (ppb) 73.9 126.1 5,000 *องคการอนามยั โลก 28.5 สาํ หรับคุณภาพนาํ้ ฝนโดยท่ัวไปแสดงไวใ นตารางที่ 1.3 ตาราง 1.3 ขอมลู ทัว่ ไปเกย่ี วกบั คุณภาพนํา้ ฝน3 คาโดยทัว่ ไป < 0.5 คุณภาพนํ้า 25 ความขนุ (เอ็นทียู) 0.05 สารท่ลี ะลายไดท ้ังหมดหรือทีดเี อส(มิลลิกรัมตอ ลิตร) 25 แอมโมเนยี ไนโตรเจน(มิลลกิ รมั ไนโตรเจนตอลติ ร) 7.0 ความกระดา ง(มิลลกิ รมั CaCO3 ตอลติ ร ) 20 ความเปน กรดและดาง 2 สภาพดา ง(มิลลิกรมั ตอ ลิตร) 6 แมกนีเซียม(มิลลกิ รมั ตอ ลติ ร) 5 แคลเซียม(มิลลกิ รัมตอลิตร) 0 โซเดยี ม(มลิ ลิกรมั ตอลิตร) 0.05 ฟอสฟอรัส(มลิ ลิกรมั ตอ ลติ ร) 0.2 เหล็ก(มิลลิกรัมตอลติ ร) 18 คารบ อนอนิ ทรยี หรอื ทโี อซ(ี มลิ ลกิ รมั ตอ ลิตร) 4 ไบคารบ อเนต(มลิ ลิกรัมตอลิตร) 0.1 ซัลเฟต(มลิ ลิกรมั ตอลติ ร) 5 ไนเตรต(มิลลกิ รมั ตอ ลิตร) 0 คลอไรด( มลิ ลิกรัมตอลิตร) 0 โคไลฟอรม (เอม็ พีเอ็น/100 มิลลลิ ติ ร) ไวรสั (pfu/100 มิลลลิ ติ ร) 2 วินยั สมบรู ณ วารสารส่ิงแวดลอม ปท ่ี 2 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สงิ หาคม 2539 หนา 19 3 เกรียงศักด์ิ อุดมสนิ โรจน. วิศวกรรมส่ิงแวดลอ ม. มิตรนราการพิมพ. กรุงเทพฯ. 2537. หนา 20 1-3

การวเิ คราะหน า้ํ และนํา้ เสียเบอ้ื งตน ข. นํา้ ผวิ ดนิ (Surface Water) น้ําผิวดนิ แบง ออกเปน 2 ชนดิ คอื แหลงนํ้าผิวดินทม่ี ใิ ชทะเลและนาํ้ ทะเล แหลงน้ําผิวดนิ ท่เี ปน ท่ีรูจกั กันดไี ดแก หวย หนอง คลอง บึง ลาํ น้าํ แมน าํ้ กวา น ทะเลสาบ และทะเล เปนตน แหลง น้าํ ชนิดนี้ เปนแหลงนํ้าทีม่ กี ารใชกนั มาก โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม รวมท้ังการอุปโภค และบรโิ ภค แหลง นาํ้ ดบิ สาํ หรับการผลิตน้าํ ประปาทีใ่ ชก นั อยูในปจ จบุ ันสวนมากแลวก็อาศยั นํา้ จากแหลง นาํ้ ผิวดนิ นน่ั เอง แหลง น้ําประเภทนมี้ กั มีการตกตะกอนและการกดั เซาะของดนิ ในเวลาเดียวกนั โดยเฉพาะอยางยิ่งน้าํ ผวิ ดินทม่ี กี ารไหล เชน แมนํา้ ลําน้ํา ลําคลองและลาํ ธารตา งๆ เปนตน ซึ่งในท่สี ุด แลว สว นมากมักจะไหลลงสูทะเลในทส่ี ุด ทาํ ใหคณุ ภาพน้ําในแหลง น้ํามีการเปลยี่ นแปลงเกอื บจะ ตลอดเวลา คุณภาพน้าํ ของแหลง นํ้าผวิ ดนิ จะข้นึ อยกู ับปจจยั หลายๆอยาง เชน สภาพและลักษณะของ ดนิ ท่ีกน แหลง นาํ้ ลักษณะและสภาพภูมิอากาศทัว่ ไป แนวระดับสูงต่ําของแหลง นํ้า และการรองรบั น้ํา จากแหลง ตางๆ เชน ชุมชน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม เปนตน ตารางท่ี 1.4 แสดงขอ มูลคุณภาพ โดยทั่วไปของนํา้ ผวิ ดิน ตาราง 1.4 ขอมูลทัว่ ไปเกยี่ วกับคณุ ภาพน้าํ ผิวดิน4 คาโดยทว่ั ไป 50 คณุ ภาพนํา้ 50 ส(ี หนว ยส)ี 150 ความขนุ (เอน็ ทียู) 3 สารที่ละลายไดท ัง้ หมดหรือทดี ีเอส(มิลลิกรัมตอลิตร) 90 ไนโตรเจน(มิลลกิ รัมไนโตรเจนตอ ลติ ร) 7.5 ความกระดา ง(มลิ ลิกรมั CaCO3 ตอลิตร) 100 ความเปน กรดและดา ง 20 สภาพดาง(มลิ ลกิ รมั CaCO3 ตอ ลติ ร) 30 แมกนเี ซยี ม(มิลลกิ รัมตอลิตร) 20 แคลเซียม(มิลลิกรัมตอลิตร) 2 โซเดยี ม(มลิ ลกิ รมั ตอ ลติ ร) โพแตสเซยี ม(มลิ ลกิ รัมตอลติ ร) 0.05 ฟอสฟอรสั (มลิ ลกิ รัมตอลติ ร) 0.5 เหล็ก(มลิ ลิกรัมตอ ลติ ร) 0.02 แมงกานีส(มิลลิกรัมตอ ลิตร) 90 ไบคารบอเนต(มิลลกิ รัมตอ ลติ ร) 20 ซลั เฟต(มิลลิกรมั ตอ ลิตร) 0.5 ไนเตรต(มิลลิกรมั ตอ ลิตร) 25 คลอไรด(มิลลิกรมั ตอ ลิตร) 0.2 ฟลอู อไรด( มิลลิกรัมตอลติ ร) 2,000 โคไลฟอรม(เอ็มพเี อน็ /100 มิลลลิ ติ ร) 10 ไวรัส(pfu/100 มิลลิลติ ร) 4 เกรยี งศักด์ิ อดุ มสินโรจน. วศิ วกรรมสิ่งแวดลอม. มิตรนราการพิมพ. กรงุ เทพฯ. 2537. หนา 9 1-4

การวิเคราะหน้าํ และนาํ้ เสียเบือ้ งตน สาํ หรบั คณุ ภาพนํา้ แมน ํ้าท่สี ําคญั บางแหลงในเขตภาคเหนือซ่งึ ไดทําการตรวจวดั ในเดือน เมษายน 2542 แสดงไวในตาราง 1.5 ตารางที่ 1.5 คุณภาพน้าํ บางแหลง ในเขตภาคเหนอื (เมษายน 2542) ดัชนคี ุณภาพนาํ้ แมน าํ้ ปง แมนาํ้ วัง แมน้าํ ยม แมนํ้านา น แมนํ้าปาสกั อุณหภมู ิ(องศาเซลเซยี ส) (คาตา่ํ สดุ -สูงสดุ ) 26.5-34.6 26.40-32.90 27.8-34.60 27.3-31.6 27.7-34.9 (คา เฉลี่ย) 30.2 31.05 30.60 28.16 32.6 6.5-7.5 7.3-8.6 6.6-8.9 6.2-7.9 7.4-8.8 ความเปน กรด-ดา ง (คา ตํา่ สดุ -สูงสุด) 6.74 7.712 7.60 6.60 7.8 (คา เฉล่ยี ) 3.9-8.9 4.4-13.7 5.1-7.8 2.4-10.1 4.9 5.3 5.8 4.4-13.7 ออกซิเจนละลาย มก/ล.(คา สูงสุด-ต่ําสุด) 6.2 6.15 6.28 6.62 4.7 (เปอรเ ซ็นไทลท ี2่ 0) 6.81 1.0 3.2 0.8 6.28 (คา เฉลี่ย) 1.9 10.2 19.4 6.1 3.3 13.6 <0.1 <0.1 20.9 บโี อดี มก/ล. (เปอรเซ็นไทลท 8่ี 0) 0..009-0.359 <0.1 <0.1 ซโี อดี มก/ล. (คา เฉลยี่ ) 0.014-0.180 <0.1 <0.1 <0.1-1.14 0.051 0.024-1.590 <0.1 0.41 ไนเตรท-ไนโตรเจน มก/ล. (คา ต่ําสุด-สงู สุด) 0.006-0.563 0.223 <0.01 (คาเฉลย่ี ) 0.022-0.116 0.134 <0.01 <0.01 <0.1-0.32 0.051 <0.01 <0.01 <0.1 แอมโมเนยี -ไนโตรเจน มก/ล.(คา ตาํ่ สดุ -สูงสดุ ) <0.005 <0.005-0.005 <0.01 <0.01 <0.01 (คาเฉล่ีย) <0.005 <0.01 <0.01 <0.01 0.034-0.075 <0.01 ทองแดง มก/ล. (คาตาํ่ สดุ -สูงสุด) <0.005-0.016 <0.005-0.011 0.003-0.93 0.045 <0.01 (คา เฉล่ีย) 0.006 <0.01 0.154 0.016-0.12 0.03-0.93 นคิ เกิล มก/ล. (คา ต่ําสดุ -สงู สุด) 0.013-0.31 0.032-0.42 0.006-0.077 0.04 0.37 (คาเฉล่ีย) 0.077 0.159 0.044 <0.005 <0.005 <0.005 0.02-0.20 แมงกานีส มก/ล. (คา ตํ่าสุด-สงู สุด) 0.045-1.12 0.092-0.20 <0.005 <0.01 0.06 (คา เฉลย่ี ) 0.15 0.12 <0.01 <0.01 <0.005 <0.002 <0.005 <0.01 <0.01 <0.005 ปรอท มก/ล. (คาตาํ่ สุด-สงู สดุ ) <0.002 <0.005 <0.01 <0.01 <0.01 (คาเฉลี่ย) <0.01 <0.01 <0.01 <0.005-0.006 <0.01 <0.01 แคดเมย่ี ม มก/ล. (คาตาํ่ สดุ -สงู สุด) <0.005 <0.01 <0.01 (คา เฉลี่ย) <0.005 <0.01 <0.005 โครเมียม มก/ล. (คา ตํา่ สดุ -สงู สดุ ) (คา เฉลยี่ ) ตะกว่ั มก/ล. (คา ตาํ่ สดุ -สงู สดุ ) (คาเฉลี่ย) 1-5

การวิเคราะหนํา้ และนํา้ เสยี เบอ้ื งตน ค. น้าํ ใตด ิน (Underground Water) นา้ํ ใตดนิ ไดแก นาํ้ บอต้ืน นํา้ บาดาล เปน ตน นาํ้ ใตด ินนจ้ี ะเปน แหลง นาํ้ หลักสําหรับประชาชนที่ อยูใ นเขตทอ่ี ยูห างจากบริเวณที่มแี หลงนํา้ ผิวดิน โดยท่ีนา้ํ ใตด ินเกิดจากการสะสมของนาํ้ ผวิ ดนิ ท่ีซมึ ลง ไปในชัน้ ดนิ และเมื่อมปี รมิ าณมากข้ึนกจ็ ะรวมตวั กนั เปนแอง และมีการแตกแยกออกมาเปนสายนาํ้ ท่อี ยู ใตดินในท่ีตางๆทชี่ าวบา นท่วั ไปเรียกวา ตานา้ํ แองนํ้าใตด ินนม้ี ีท้ังท่เี ปน แอง ขนาดใหญและขนาดเล็ก และอยใู นชัน้ ดนิ ทค่ี วามลกึ ตางๆกันแลวแตลักษณะทางธรณวี ทิ ยาของชัน้ ดินในบริเวณน้ันๆ เม่ือตองการ นาํ นํ้าจากแหลง นํ้าใตด นิ ข้นึ มาใชจ ะตองมกี ารขุดหรอื เจาะเปนบอ โดยถาการขุดหรือเจาะบอ นํา้ ใตดนิ อยู ในระดับทีไ่ มล กึ กจ็ ะเรยี กวา บอนํา้ ตื้น แตถาแองหรอื แหลงนํา้ ใตด นิ น้นั อยลู กึ จากผวิ ดินมากกจ็ ะเรียกวา บอ นํา้ บาดาล ตาราง 1.6 ขอ มูลทวั่ ไปเก่ียวกบั คณุ ภาพน้ําใตดนิ 5 คา โดยท่ัวไป คุณภาพน้าํ 0.5 250 ความขุน (เอน็ ทยี ู) 10 สารที่ละลายไดท ัง้ หมดหรอื ทดี ีเอส(มลิ ลิกรัมตอลติ ร) 120 ไนโตรเจน(มิลลิกรมั ไนโตรเจนตอ ลติ ร) 7.5 ความกระดาง(มิลลิกรมั CaCO3 ตอ ลิตร ) 150 ความเปนกรดและดาง สภาพดาง(มิลลิกรมั ตอลิตร) 5 แมกนเี ซียม(มลิ ลิกรัมตอลิตร) 40 แคลเซยี ม(มิลลิกรมั ตอลิตร) 5 โซเดยี ม(มลิ ลกิ รัมตอ ลติ ร) 2 โพแตสเซยี ม(มลิ ลิกรัมตอลิตร) 0.01 ฟอสฟอรสั (มิลลิกรมั ตอ ลิตร) 0.1 เหล็ก(มลิ ลิกรมั ตอลติ ร) 0.5 คารบ อนอินทรยี หรือทโี อซี(มลิ ลกิ รมั ตอลิตร) 120 ไบคารบอเนต(มลิ ลกิ รัมตอ ลิตร) 10 ซลั เฟต(มลิ ลกิ รัมตอ ลติ ร) 10 ไนเตรต(มิลลิกรมั ตอลติ ร) 25 คลอไรด(มิลลกิ รมั ตอลิตร) 0.1 ฟลอู อไรด(มิลลิกรมั ตอลติ ร) 100 โคไลฟอรม(เอม็ พีเอ็น/100 มิลลิลติ ร) 1.0 ไวรสั (pfu/100 มลิ ลลิ ติ ร) โดยปรกตนิ ํ้าใตด นิ มักจะมีคุณลกั ษณะทางกายภาพและทางชีววิทยาอยใู นเกณฑด ีเนอ่ื งจากถูก กรองโดยชั้นดนิ แตมกั มคี ุณลกั ษณะทางเคมีที่แตกตา งกนั มาก ทั้งนขี้ ึ้นอยูก ับสภาพทางธรณวี ิทยาของ ช้ันดนิ และช้นั หินของแหลง น้นั ๆ นํา้ พุ(Springs)เปนนํ้าใตดนิ ประเภทหนง่ึ ซง่ึ เกดิ จากนา้ํ ใตด ินทีม่ แี รงดัน 5 เกรียงศกั ดิ์ อุดมสินโรจน. วิศวกรรมสงิ่ แวดลอม. มิตรนราการพิมพ. กรุงเทพฯ. 2537. หนา 15 1-6

การวิเคราะหน ํา้ และน้ําเสยี เบอื้ งตน สงู ทําใหนาํ้ พุง ขนึ้ สงู พนระดบั พ้นื ดิน มีท้งั ที่เปน นาํ้ พธุ รรมดาและนํ้าพรุ อน(Hot Spring) สว นทางนา้ํ ซับ (Infiltration Galleries) เปน นํ้าใตดนิ ที่ซึมผา นชนั้ ดนิ ในแนวนอนหรอื แนวราบ ทาํ ใหน ้ําท่ไี ดค อนขางใส และถา มีปรมิ าณที่มากพอก็สามารถกกั เก็บและนาํ มาใชไ ด และบอนาํ้ ซบั (Infiltratioj Wells) เปนแหลง นํา้ ท่ีขุดขึน้ มาเพ่ือนาํ น้ํามาใชประโยชน โดยม่นี ้ําท่ีไดจะเกิดจากการซึมของน้ําในแหลง นํ้าบริเวณ ใกลเ คียงทั้งนา้ํ ใตดินและนาํ้ ผวิ ดินตา งๆทอ่ี ยรู อบๆบอนํ้าซบั นั้น ดงั นน้ั น้ําในบอนํา้ ซบั จงึ มีคุณลกั ษณะ ใกลเคยี งกบั ทางนํ้าซบั 1.2 คณุ สมบัติทางกายภาพของนํ้า ความหนาแนน ของนํา้ ขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ําโดยนา้ํ จะมคี วามหนาแนน (หรอื ความ ถว งจาํ เพาะ) มากทส่ี ุดที่ 4 องศาเซลเซยี ส โดยจะมคี าเทากบั 1.00000 กรัมตอ ลูกบาศกเ ซนติเมตร นอกจากนี้ยงั ขึน้ อยกู ับสารทีเ่ จือปนอยใู นนาํ้ ดว ย อยางไรก็ตามนา้ํ โดยทัว่ ไปจะมคี าความหนาแนน ประมาณ 1 กรมั ตอลูกบาศกเซนติเมตร สว นน้ําทะเลที่มีปรมิ าณเกลือแกงประมาณ 3.5 % มคี วาม หนาแนน ประมาณ 1.025 กรัมตอ ลูกบาศกเซนตเิ มตร ตาราง 1.6 ความถวงจาํ เพาะของนาํ้ บรสิ ทุ ธิ์ทอ่ี ณุ หภูมติ า งๆ 6 อุณหภมู ิ (°C) ความถวงจาํ เพาะ อณุ หภมู ิ (°C) ความถวงจําเพาะ 0 0.99987 35 0.99406 2 0.99997 40 0.99224 4 1.00000 45 0.99025 6 0.99997 50 0.98807 8 0.99988 60 0.98324 10 0.999763 70 0.97781 15 0.99912 80 0.97183 20 0.99823 90 0.96534 25 0.99707 100 0.95838 30 0.99567 1.3 คุณสมบตั ทิ างเคมขี องนา้ํ โมเลกุลนํ้าประกอบดวยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 ใชอ เิ ล็กตรอนรวมกันกลายเปน พันธะทีแ่ ขง็ แรงมาก เรยี กวา พันธะโควาเลนท (covalent bond) และมีพันธะไฮโดรเจน(Hydrogen Bonding)ในระหวา งโมเลกลุ ของน้าํ ดว ยซงึ่ เกดิ ขึ้นระหวา งอะตอมไฮโดรเจนของโมเลกุลหนึง่ กบั อะตอม ออกซเิ จนของอีกโมเลกลุ หน่งึ ทําใหเกิดโครงสรา งโมเลกุลท่มี ีเสถียรภาพสูงและเปนทมี่ าของคุณสมบตั ิ ทางเคมบี างประการอันเปนเอกลักษณของน้าํ 6 ฉตั รไชย รตั นไชย การจดั การคณุ ภาพนํา้ พมิ พครั้งท่ี 2 โรงพมิ พจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย กรงุ เทพฯ :2539, หนา 25 1-7

การวิเคราะหน้ําและนํา้ เสยี เบ้อื งตน พนั ธะโควาเลนทในโมเลกลุ น้ํา และพนั ธะไฮโดรเจนระหวา งโมเลกลุ เปนสว นท่ที ําใหน า้ํ มี คุณสมบตั พิ ิเศษหลาย ๆ อยาง การมีพนั ธะทแ่ี ขง็ แรงทาํ ใหตองใชพ ลังงานมากในอนั ทจ่ี ะเปล่ียนจาก สถานะของแข็งเปนของเหลว และของเหลวเปน แกส ตลอดจนการเพิ่มอุณหภมู ิ ทําใหความรอ นแฝงของ การกลายเปนไอ ความรอนแฝงของการกลายเปนของเหลว และความรอนจาํ เพาะของนาํ้ มีคาสูงมาก นอกจากนี้ พนั ธะที่แข็งแรงขางตนยังทาํ ใหโ มเลกลุ มีแรงยดึ เหนย่ี วกนั อยา งเหนยี วแนน ทาํ ใหแรงตึงผวิ (surface tension) ของนาํ้ สูงกวาของเหลวอืน่ ๆ ทําใหน้าํ สามารถเคลือ่ นทีไ่ ปตามแรงแคปปลลารี่ (capillary) ตามชอ งวา งในดิน ในตนไม ตลอดจนในรางกายมนษุ ย โมเลกลุ บางโมเลกลุ ในน้าํ จะแตกตวั เปนไอออนทม่ี ีประจุตามสมการ H2O H+ + OH- โมเลกลุ ทแี่ ตกตัวมปี ริมาณคอนขางนอ ย ในนํา้ บริสทุ ธ์ิ 1 ลิตรจะมไี อออน [H+] และ [OH-] อยา ง ละประมาณ 10 -7 โมล ผลคูณของ [OH+] กับ [OH-] ท่ีอณุ หภมู คิ งทจ่ี ะมคี าคงที่ ทอ่ี ุณหภูมิ 25 °C [H+] [OH-] = 10-14 เพ่อื ใหงายและสะดวกจงึ ใชค า ลบของลอกการิทมึ (logarithm)ของคา ความเขมขนของ ไฮโดรเจนอิออนและเรยี กคานีว้ า พเี อช pH = -log[H+] เนื่องจากในน้ําบริสทุ ธ์ิมี [H+] = 10-7 โมลตอลิตร ดังนน้ั pH ของนํา้ บริสทุ ธ์เิ ทากบั -log(10-7) = 7 เม่ือน้าํ มีสภาพกรด ความเขมขนของ H+ จะสงู ข้นึ คา pH จะตํา่ ลง และเม่ือนาํ้ มสี ภาพ ดาง คา pH จะสูงขึ้น ควรตระหนักวา คา pH เปน สเกลลอกการทิ มึ ดังนั้นเม่อื คา pH เปล่ยี นไป 1 หนว ย หมายถึงความเปนกรดเปล่ียนไปถงึ 10 เทา เชนนา้ํ ทีม่ ีคา pH = 5 มคี วามเปนกรดมากกวา นา้ํ บริสุทธิ์ (pH = 7) ถึง 100 เทา สารเคมแี ทบทกุ ชนิดสามารถละลายในนํ้าไดมากบางนอยบา ง ซงึ่ นบั เปนคณุ สมบัตทิ ่สี าํ คญั อันหนึ่งของน้าํ ซึ่งเปนผลมาจากลักษณะโครงสรา งโมเลกลุ ของนํ้านั่นเอง คณุ สมบัตนิ เ้ี องทําใหย ากทจ่ี ะ เก็บรักษาน้ําบริสุทธ์ิ แมเราสามารถผลิตน้าํ ทคี่ อนขา งบริสทุ ธไิ์ ดดว ยเคร่ืองมือสมัยใหม แตดว ย ความสามารถในการทาํ ละลาย นา้ํ จะเร่ิมทําละลายตัง้ แตภ าชนะทร่ี องรบั ซ่งึ มกั สรางปญ หาใหก บั การ วิเคราะหในหอ งปฏิบัติการทต่ี องการความละเอียดแมนยําสูง ตาราง Solubility Product ที่ 25 องศา เซลเซยี ส (Snoeyink and Jenkins, 1980) แสดงผลคูณของประจุบวก (Cation) และประจลุ บ (Anion) เม่อื สารละลายในน้าํ (Solubility Product) ซึ่งมคี า คงท่ี และสามารถนาํ ไปคํานวนหาความสามารถใน การละลายของสารตา ง ๆ ในนํา้ ได (Snoeyink and Jenkins, 1980) 1-8

การวเิ คราะหนาํ้ และน้ําเสียเบื้องตน เมือ่ ฝนซง่ึ เปรียบเหมอื นน้าํ กล่ันธรรมชาติตกลงสพู ้ืนดิน จะละลายเอาสารเจอื ปนตาง ๆ ใน อากาศ เมอ่ื ถึงพ้นื ดนิ ก็จะละลายเอาสารเคมีทง้ั อินทรียและอนินทรยี จากดนิ น้ําทะเลซึ่งเปน จดุ ปลายสดุ จะเตม็ ไปดว ยสิง่ เจอื ปนและเกลือแรน ับรอ ยชนดิ ตาราง 1.7 Solubility Product ของสารประกอบบางชนิด ท่ี 25 องศาเซลเซยี ส สารประกอบ pKso สารประกอบ pKso 38.0 SiO2 (amorph) 2.7 Fe(OH)3 (amorph) 17.9 Cu(OH)2 19.3 FePO4 33.0 PbCI2 4.8 Fe3 (PO4)2 14.5 Pb(OH)2 14.3 Fe (OH)2 17.3 PbSO4 7.8 88.0 PbS 27.0 FeS 8.34 MgCO3 5.0 Fe2S3 8.22 Mg(OH)2 10.74 CaCO3 (calcite) 5.3 Zn(OH)2 17.2 CaCO3 (aragonite) 4.59 ZnS 21.5 Ca(OH)2 CaSO4 ในการละลายสารเจือปนลงไปในนา้ํ เรามิอาจทํานายปริมาตรผลลพั ธไ ด ปริมาตรสารละลายจะ ไมเ ทากบั ผลบวกของปรมิ าตรนาํ้ และปริมาตรสารที่ละลายนา้ํ เสมอไป ในบางกรณี ปรมิ าตรสารละลายก็ เพม่ิ ขนึ้ มากกวา ผลบวกดงั กลาว และในบางกรณี ปริมาตรสารละลายอาจลดลงนอ ยกวาปริมาตรน้าํ เสีย อีก และบางครงั้ ปรมิ าตรสารละลายอาจเทา กบั ปริมาตรเดิมของน้าํ เนอื่ งจากโมเลกุลของสารทล่ี ะลายใน นา้ํ แทรกตัวอยูระหวางโมเลกุลน้ํา สารเคมีบางชนดิ เชน กรดซัลฟูรคิ ใหค วามรอนเมอื่ ละลายนํา้ แตบ าง ชนดิ เชน โปแตสเซียมไนเตรต ดูดความรอ น ทําใหสารละลายเย็นลง โดยท่ัวไปสารตา ง ๆ ละลายนาํ้ ได เพม่ิ ข้นึ เมอื่ อณุ หภูมิสงู ข้นึ แตก็มขี อ ยกเวนบา ง เชน แคลเซยี มคารบ อเนตละลายนาํ้ ไดน อ ยลงเมือ่ อณุ หภูมเิ พ่มิ สงู ข้ึน เปน ท่ที ราบกนั ดีวานาํ้ มคี วามสําคญั ตอ ววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวติ สง่ิ มชี ีวติ รปู แบบงา ยทส่ี ดุ เรมิ่ เกดิ ในทะเลและมหาสมุทร ตอมาก็ววิ ัฒนาการเปนพชื และสัตวท่ีพบเห็นกนั ในทุกวันน้ี โดยแตละชนิด พนั ธไุ ดพฒั นารปู แบบของตนเองข้ึนเพ่อื ใหเ ขา กบั สิง่ แวดลอมที่ตนอาศยั อยไู ด น้าํ มคี วามสําคัญตอ การคงอยขู องพชื และสัตวอ ยางย่ิง ความสามารถในการทําละลายของนาํ้ ทําใหน ้าํ เปน ตวั กลางที่นําธาตุ อาหารจากดินไปยงั สวนตาง ๆ ของพืช การเคลื่อนทขี่ องนา้ํ ผา นไปตามเนอ้ื เยอ่ื ของพชื ชว ยสรางแรงดนั ออสโมซิส ซ่ึงทาํ ใหนาํ้ และธาตอุ าหารทลี่ ะลายอยูในนา้ํ เคล่อื นท่ีจากรากพืชไปสูสว นตาง ๆ ของพืชที่ ระดบั สูง ความสามารถอนั นเ้ี กิดจากพันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond) ซึง่ ทําใหโมเลกลุ ของนํ้าสามารถ เกาะยดึ ตดิ กับผนังทอของพืช 1-9

การวเิ คราะหน ้ําและนา้ํ เสยี เบอื้ งตน 1.4 วฏั จกั รอุทกวทิ ยา เม่อื ฝนตกลงมาจากฟา น้ําฝนสว นหนึ่งจะคางอยตู ามใบและลาํ ตน พืช (Interception) ซง่ึ อาจ มากนอยข้นึ อยกู บั ปรมิ าณพืชคลุมดนิ น้าํ อกี บางสว นจะถกู ขังอยตู ามแองนาํ้ หรอื ที่ลุม (Depression Storage) หรอื ซึมอยูในผิวดนิ บริเวณที่ฝนตก (Soil Moisture) นํ้าเหลาน้ีอาจกลับคนื สบู รรยากาศโดยการ ระเหย (Evaporation) หรอื การคายนํา้ ของพืช (Transpiration) น้าํ บางสว นอาจซึมลงไปในดนิ (Infiltration) ไปรวมเปน แหลงนา้ํ บาดาล (Groundwater Resources) สวนทเ่ี หลือจะไหลอยบู นผวิ ดนิ ใน รปู ของนํา้ ทา (Surface Runoff) กลายเปน แหลงนํ้าผวิ ดิน (Surface Water Resources) นาํ้ บาดาลและ นาํ้ ผิวดนิ บางสว นอาจกลับสบู รรยากาศโดยการระเหยและการคายน้ําของพชื ขณะทอ่ี ยูใ นดินหรือบนดิน บาง แตในทีส่ ุด ทั้งนาํ้ บาดาลและนํา้ ทา สวนที่เหลอื ก็จะไหลลงสทู ะเลและมหาสมทุ ร และจะระเหยกลบั ขนึ้ มาใหม เปนอันครบวงจร 1.5 มลสารและแหลง กําเนดิ (Water Pollutants and Their Sources) สารที่กอ ใหเ กดิ มลพษิ ทางนาํ้ หรอื มลสารทางนํา้ (Water Pollutants) ซ่ึงระบายออกมาจาก แหลงกําเนิดจากกิจกรรมตา งๆของมนุษยเ ปนสว นใหญแ ลวทําใหเ กดิ การปนเปอนในแหลงรองรบั น้ําท้งิ นนั้ สามารถจดั แบง แยกเปนประเภทใหญๆ ไดด ังน้ี 1. มลสารทีม่ ีการใชอ อกซิเจน (Oxygen-Demanding Material) เปนมลสารทีส่ ามารถถูกออกซไิ ดสในแหลงรองรบั นํา้ โดยจะมีการใชอ อกซเิ จนที่ ละลายอยใู นน้าํ เปนผลทาํ ใหปรมิ าณออกซเิ จนละลายในนา้ํ ลดลง มลสารประเภทน้โี ดย สว นมากแลว จะเปน สารกลมุ สารอนิ ทรยี ท ่ีสามารถสลายตวั ไดใ นทางชวี วทิ ยา (ฺ Biodegradable Organic Matter) แตกอ็ าจจะรวมถึงสารประกอบอนนิ ทรยี บางชนดิ ดวย มลสารประเภทนี้มแี หลง ที่มาทั้งท่เี ปน แหลง กาํ เนิดโดยตรง (Point Sources)และ แหลงกําเนดิ อื่นๆ(Non-Point Sources) แหลง กาํ เนิดโดยตรง (Point Sources) ไดแ ก นาํ้ ท้ิงจากชุมชน (Domestic sewage) ซึ่งสวนใหญจะประกอบดว ยของเสยี ของคนเรา (Human Wastes) และเศษอาหาร(Food Residues)เปนสว นใหญ และนํ้าท้ิงจากการประกอบการอตุ สาหกรรม (Industrial Wastes) ซ่ึงสว นใหญม ักจะพบมากในน้ําทง้ิ จากโรงงานทปี่ ระกอบการดา นการแปรรปู อาหารและโรงงานกระดาษและเยอื่ กระดาษ สวนแหลง กําเนิดอนื่ ๆ (Non-Point Sources) ไดแก น้ําท่ไี หลผานพ้นื ทก่ี ารเกษตรในยานเกษตรกรรมหรือพน้ื ทอี่ ยูอ าศยั นอกเขตเมือง โดยสว นใหญจะประกอบดวยของเสยี จากสัตวต างๆ เศษก่ิงไมแ ละใบไมตา งๆ เปนตน 2. สารอาหาร (Nutrients) สารอาหาร 2 ชนดิ ท่ีกอ ใหเ กดิ ปญหามลพิษทางนาํ้ ถา มปี ริมาณทีม่ ากเกินไป คอื ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั เนือ่ งจากสารอาหารท้งั สองนีเ้ ปนองคป ระกอบทส่ี ําคัญสาํ หรับ การเจรญิ เตบิ โตของส่ิงมีชีวติ ทาํ ใหห วงโซอาหารในระบบนเิ วศนเ ปลี่ยนแปลงไป เปน ผลให 1 - 10

การวิเคราะหน ํ้าและนาํ้ เสียเบ้อื งตน สง่ิ มชี วี ติ บางชนดิ เจริญเตบิ โตมากเกินไปโดยเฉพาะพืชจาํ พวกสาหราย ซึ่งจะมผี ลในเชงิ ทาํ ลายตอสง่ิ มีชวี ิตอน่ื ๆทั้งทางตรงและทางออม เมอื่ สาหรา ยตายไปซากของมันกจ็ ะทับถม อยทู ี่กน คลอง แมนาํ้ หรือแหลงน้ําตา งๆและกลายเปนมลสารที่ใชอ อกซเิ จนไปโดยปรยิ าย แหลง กําเนิดของสารอาหารทพ่ี บสวนมากจะมาจากผงซกั ฟอกทม่ี สี ารประกอบ ฟอสฟอรัสเปน องคป ระกอบ ปยุ และนา้ํ ท้งิ ท่ีเกิดจากการประกอบการอตุ สาหกรรมดาน อาหาร 3. จุลชีพท่กี อ ใหเ กดิ โรค (Pathogens) จุลชีพทก่ี อ ใหเ กดิ โรคที่พบมหี ลายชนิดทง้ั ทเี่ ปน แบคทเี รยี ไวรสั และโปรโตซวั ซง่ึ สว นมากจะถกู ขับถายออกมาจากคนหรอื สัตวท ีเ่ ปน โรค 4. สารท่ีลอยเจือปนหรอื ของแขง็ แขวนลอย (Suspended Solids) สารทล่ี อยเจือปนหรือของแขง็ แขวนลอยเปน คําที่ใชหมายถึงอนุภาคทง้ั ท่เี ปน สารอินทรยี และสารอนินทรียท ลี่ อยเจือปนอยูใ นน้าํ โดยทอ่ี นุภาคเหลาน้สี ามารถตกตะกอน ลงไปรวมกนั อยทู ี่กน ของแหลง น้ําไดถา อตั ราการไหลของนํา้ ในแหลง นํ้านั้นนอยโดยเฉพาะ นํา้ ในแหลง นํ้านิ่ง เชน หนอง บงึ กวา นหรอื ทะเลสาบ เปน ตน 5. เกลือ (Salts) โดยปรกติ เมื่อกลาวถงึ เกลอื เรามกั จะนกึ ถงึ นาํ้ ทะเลทม่ี ีความเค็มมากโดยมเี กลอื แกง อยูประมาณ 3.5 เปอรเซนตโ ดยจะข้นึ อยูก บั แหลง และลกั ษณะทางธรณวี ิทยาของทอง ทะเล ในแหลง น้าํ ธรรมชาติจะมีเกลอื หลายชนดิ ทเ่ี จอื ปนอยูในน้ําโดยมปี ริมาณแตกตางกนั นาํ้ ทิง้ จากโรงงานอตุ สาหกรรมบางชนดิ มปี ริมาณเกลือสงู เชน โรงงานประกอบกิจการที่ ตอ งใชเ กลอื แกงในการผลติ โดยเฉพาะอยางย่ิงโรงงานประเภทผกั และผลไมด อง เปนตน เกลอื ท่ลี ะลายอยูในนํ้าทงิ้ กจ็ ะเปน ตัวเพ่มิ ปริมาณเกลอื ในแหลง รองรบั นํ้าทาํ ใหน าํ้ ในแหลง รองรับน้ํามีความเค็มเพิม่ ขนึ้ อนั จะเปน ผลใหไมส ามารถนาํ นํา้ นน้ั มาใชป ระโยชนไดอ ยา ง เต็มที่ 6. โลหะทเ่ี ปน พษิ (Toxic Metals) โลหะทเี่ ปน พษิ ตา งๆทีอ่ าจจะปนเปอ นอยใู นแหลง นาํ้ มีแหลงท่มี าหลายทาง โดย อาจจะมาจากแหลง น้ําเองโดยที่ดินหรือหินมีโลหะที่เปน พิษเปน องคประกอบอยแู ละถูกน้ํา ชะลา งละลายออกมาเจอื ปนอยู หรอื อาจจะมาจากนา้ํ ท้ิงจากการประกอบการ อตุ สาหกรรมบางประเภท เชน อตุ สาหกรรมการชุบโลหะตา งๆหรอื อุตสาหกรรมการผลิต อืน่ ๆทใ่ี ชโ ลหะในการผลติ เปน ตน 7. สารอินทรยี ท ่เี ปน พิษ (Toxic Organic Chemicals) สารอนิ ทรียท ี่เปนพิษอาจจะมแี หลงมาจากนา้ํ ทไี่ หลผานยา นเกษตรกรรมท่มี ีการใชสาร กําจดั วัชชพืชและยาฆา แมลงกนั มากหรืออาจจะมาจากนาํ้ ท้ิงจากโรงงานอุตสาหกรรมท่มี ี 1 - 11

การวเิ คราะหนา้ํ และน้ําเสยี เบื้องตน การใชส ารอนิ ทรยี ใ นการผลิตหรอื มาจากแหลงธรรมชาติ เชน จากเปลือกหรือใบไมของพืช บางชนิด เปนตน 8. ความรอน (Heat) โดยปรกติ ความรอ นมักจะไมจ ัดเปนมลสารแตใ นกรณที มี่ ีการระบายความรอ น ออกมาในรปู ของนํา้ ท้งิ ท่ีมีอณุ หภมู ิสูงมาก ความรอนท่ปี ลอ ยออกมาในลักษณะน้จี ะ จัดเปนมลสารประเภทหน่ึง 1.6 คุณลักษณะของนาํ้ (Water Characteristics) คณุ ภาพนํา้ (Water Quality) เปน คําทม่ี ีความหมายกวา งมากแตมีขอบเขตซง่ึ จะถูกกําหนดโดย คุณลักษณะของน้าํ ทีต่ อ งการหรือเหมาะสมสาํ หรบั กิจกรรมตา งๆ โดยปรกตนิ าํ้ ในธรรมชาติจะมี คณุ ลกั ษณะท่แี ตกตา งกันออกไปโดยมีสารเจือปนอยใู นนํ้ามากนอยแตกตา งกันขน้ึ อยูก ับแหลงทีม่ าของ นา้ํ นนั้ คณุ ลักษณะของน้ําทเ่ี หมาะสมจะแตกตางกนั ออกไปตามวัตถุประสงคของการใชง านวา ตองการ คุณลักษณะน้ําอยา งไร มีสวนประกอบอะไรและไมค วรมสี ว นประกอบหรอื สารเจอื ปนชนดิ ใด คณุ ภาพ ของนา้ํ ขน้ึ อยกู ับสิ่งเจอื ปนหรอื ปนเปอ นอยูในนา้ํ ซงึ่ มีอยูหลากหลายชนดิ ไดแก ธาตุหรอื อิออนตางๆ เชน โซเดียม โพแทสเซยี ม แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานสี ทองแดง สงั กะสี ตะก่ัว ซลั เฟต ฟอสเฟต ไนเตรต เปน ตน นอกจากนย้ี งั มีสารอนิ ทรยี แ ละสารอนินทรยี ช นดิ อืน่ ๆท่ที าํ ใหน ํา้ มีคณุ ภาพตา งกนั คณุ ลักษณะทสี่ าํ คญั ของนํา้ สามารถแบงออกเปน ลักษณะใหญได 3 ลกั ษณะ คือ 1. คุณลกั ษณะทางกายภาพ (Physical Characteristics) เปนคณุ ลกั ษณะของน้าํ ท่บี งบอกถึงคณุ ภาพของน้ําทางกายภาพ ตวั อยางเชน อณุ หภูมิ (Temperature) สภาพนําไฟฟา (Conductivity) ปรมิ าณของแขง็ (Solid content) กลน่ิ (Odor) สี (Color) และรส (Taste) 2. คณุ ลักษณะทางเคมี (Chemical Characteristics) เปน คณุ ลกั ษณะทีเ่ กิดจากสารเคมที ี่เจอื ปนอยูใ นนา้ํ ทไ่ี มสามารถมองเห็นไดด วยตา เปลา ตอ งใชการตรวจสอบดว ยวธิ ีทางหองปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรซ่งึ มที ั้งทเี่ ปนปรมิ าณ สารอินทรียแ ละสารอนินทรยี ท ่เี จือปนอยูในนํา้ ตวั อยา งเชน - ความกระดาง (Hardness) - อิออนลบชนดิ ตางๆ เชน ฟอสเฟต(Phosphate) คลอไรด(Chloride) ซลั เฟต(Sulfate) ซัลไฟด( Total Sulfides) ไซยาไนด (Cyanides) - ความเปนกรดดาง (pH Value) และสภาพกรด-สภาพดาง(Acidity-Alkalinity) - กรดอนิ ทรีย (Organic acids) และกรดระเหยงา ย(Volatile acids) - ปรมิ าณออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen) - คาท่ีแสดงถงึ ความสกปรกในรปู ตางๆ เชน คาบโี อดี (Biochemical Oxygen Demand; 1 - 12

การวิเคราะหน ํ้าและนา้ํ เสยี เบ้ืองตน BOD), คาซีโอด(ี Chemical Oxygen Demand; COD), คา เปอรแมงกาเนต (Permanganate Value; PV) - ปรมิ าณไนโตรเจนท้งั หมด (Total Nitrogen) - ปรมิ าณฟอสฟอรัสท้ังหมด (Total Phosphorus) - โลหะตางๆ (Metals) เชน ตะกวั่ (lead) สารหนู (Arsenic) แคดเมยี ม (Cadmium) ปรอท (Mercury) สงั กะสี (Zinc) ทองแดง (Copper) เปน ตน - นาํ้ มนั และไขมนั (Oils and Greases) - ปริมาณของแข็งทง้ั หมด (Total Solid) ปริมาณของแขง็ ทล่ี ะลายไดท้ังหมด (Total Dissolved Solid) ปริมาณของแขง็ แขวนลอยท้ังหมด(Total Suspended Solid) - ปรมิ าณสารระเหยงายและสารคงตวั ท้ังหมด(Fixed and Volatile Solid) - ยาปราบวัชชพืช (Herbicides)และ ยากาํ จดั แมลง (Pesticides) - สารกมั มันตภาพรังสี (Radioactive Materials) - สารซกั ฟอกและสารอนิ ทรียอ ่ืนๆ (Organics Materials) 3. คุณลักษณะทางชีววิทยา (Biological Characteristics) เปน คุณลักษณะทแ่ี สดงถึงคณุ ภาพน้ําทเี่ กิดจากจลุ ินทรยี ท ่เี จือปนในน้าํ โดย จลุ ินทรียบ างชนิดทาํ ใหเกดิ โรคในคน เชน แบคทีเรยี ชนิดวบิ รโิ อ ซลั โมนาลา ชิกเจลลา และ จลุ ินทรียบ างชนิดทาํ ใหคณุ ภาพนาํ้ เปลยี่ นไป เชน ซลั เฟอรแ บคทีเรีย จะสรางสาร ประกอบซลั เฟอรซึ่งเม่อื ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับกา ซไฮโดรเจนจะไดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดเปนเหตุ ทําใหน้าํ มีกลิน่ เหมน็ เหมือนไขเนาซง่ึ เปนกลน่ิ เฉพาะตวั ของกา ซนี้ และถา ซลั ไฟดอิออนจาก กา ซไฮโดรเจนซลั ไฟดร วมตัวกบั โลหะบางชนิดที่ปนเปอ นอยใู นน้าํ เชน เหลก็ เปนตน จะทํา ใหเกิดเปนสารประกอบของโลหะซัลไฟดซ่ึงมีสีดาํ ตัวอยางการตรวจคุณลกั ษณะทางชีววิทยา เชน การตรวจหาชนิดและ ปริมาณของสาหราย การตรวจหาเชอ้ื ราตา งๆ การตรวจหาไวรสั การตรวจหาแบคทเี รยี ชนิดตางๆ การตรวจหาโคไลฟอรม (Total Coliform) และการตรวจหาจลุ ชีพทกี่ อใหเ กิดโรค (Pathogenic Organisms) เปนตน 1 - 13