Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิภาพร คงเขียว - 05_กิจกรรมที่ 4-แปลง

นิภาพร คงเขียว - 05_กิจกรรมที่ 4-แปลง

Published by นิภาพร คงเขียว, 2021-02-20 05:49:36

Description: นิภาพร คงเขียว - 05_กิจกรรมที่ 4-แปลง

Search

Read the Text Version

1 บทเรียน โมดูล วชิ า การเลีย้ งปลา หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชพี ระดับช้นั ปวช.๑ ผ้จู ดั ทำ ครูนภิ าพร คงเขยี ว ตำแหนง่ ครู คศ. ๑ แผนกวิชา สตั วศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

2 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอทุ ยั ธานี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร คำนำ บทเรียนโมดูล เร่ือง มารู้จักอวัยวะของปลากันเถอะ ชุดนี้ ข้าพเจ้าใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวิชา ก า ร เลี้ ย ง ป ล า ร หั ส วิ ช า 20501-2602 ห น่ ว ย ท่ี 3 ก า ร เล้ี ย ง ป ล า จั ด ท ำ ข้ึ น เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย น นักศึกษาได้ศึกษาด้วยตนเอง ของระดับช้ัน ปวช.1 หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 และเพอื่ ให้นกั เรียน นกั ศกึ ษาให้มคี วามรูพ้ ื้นฐานก่อนทีจ่ ะศึกษาเน้ือหานัน้ จรงิ ๆ บ ท เ รี ย น โ ม ดู ล ชุ ด นี้ มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น นักศึกษาได้ศึกษาเก่ียวกับอวัยวะภายในและภายนอกของตัวปลา ภายในบทเรียนโมดูลเล่มนี้ ประกอบด้วย คำแนะนำในการใช้บทเรียนโมดูล จุดประสงค์การเรียนการสอน แบบทดสอบก่อนเรียน เน้ือหา ใบกิจกรรม แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั งเรีย น รว ม ทั้ งเฉ ล ย ใบ กิ จ ก รรม แ ล ะ แ บ บ ท ด ส อ บ บ ท เรีย น โม ดู ล น้ี นั ก เรีย น นกั ศึกษาสามารถศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองและเรียนรู้กันเป็นกล่มุ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่า บทเรียนโมดูลชุดน้ี นักเรียน นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ อวัยวะภายในและภายนอกของตัวปลาและส่งผลให้สัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษาสูงขึ้น อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น บ ท เ รี ย น โ ม ดู ล เ ล่ ม น้ี อ า จ จ ะ มี บ า ง จุ ด ที่ มี ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ผิ ด พ ล า ด ข อ ใ ห้ ท่ า น ผู้ อ่ า น โ ป ร ด แ จ้ ง ใ ห้ ข้ า พ เจ้ า ท ร า บ ด้ ว ย จ ะ ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ เป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ข้ า พ เ จ้ า ยิ น ดี รั บ ท้ั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ จ า ก ท่ า น และพรอ้ มที่จำนำมาแก้ไขปรับปรุงบทเรยี นโมดูลเล่มน้ีใหม้ คี วามสมบูรณ์และถูกต้อง นิภาพร คงเขยี ว

3 สารบญั หน้า เร่อื ง 1 1 คำนำ 1 คำช้แี จงในการใช้โมดลู สำหรับนักเรียน 2 ข้ันตอนการใชบ้ ทเรียนโมดลู 3 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 5 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 13 เนือ้ หาสาระอวัยวะภายนอกของปลา 15 ใบงาน เร่อื ง รปู รา่ งและลกั ษณะภายนอกของปลา เนื้อหาสาระอวัยวะภายนของปลา

ใบงาน เร่อื ง รปู ร่างละลักษณะภายในของปลา 4 แบบทดสอบหลงั เรียน เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 21 22 24

5 คำชแ้ี จงในการใช้โมดูลสำหรับนกั เรยี น บทเรียนโมดูล ฉบับน้ี จัดทําขึ้นเพื่อเป็นส่ือประกอบการเรียนการสอนในวิชา การเลี้ยงปลา รหัสวิชา 20501-2602 ห น่ ว ย ก าร เรีย น รู้ ที่ 3 เรื่อ ง ม า เรีย น รู้ อ วั ย ว ะ ข อ งป ล ากั น เถ อ ะ สํ า ห รั บ นั ก เรีย น นกั ศกึ ษาช้ันประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั ปที ่ี 1 ขั้นตอนการใช้บทเรยี นโมดลู 1. ศึกษาคําแนะนําการใชบ้ ทเรียนและโครงสร้างบทเรยี นโมดลู 2. ทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของตนเอง 3. การศึกษาบทเรยี นโมดลู นกั เรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มยอ่ ยจาํ นวน 3- 5 คน 4. ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาแต่ละตอน พร้อมทั้งทําตามกิจกรรมต่างๆ ท่ีกําหนดในบทเรียน เช่น ทาํ แบบฝึกหดั หรือกิจกรรมอ่ืนๆ ตามทก่ี ําหนดไวใ้ นโมดลู 5. ตรวจแบบฝึกหัดหรือกิจกรรม จากแนวคําตอบท้ายโมดูลเพื่อตรวจสอบว่านักเรียน นักศึกษามีความ เ ข้ า ใ จ ใ น เ น้ื อ ห า น้ั น ๆ ห รื อ ไ ม่ ถ้าผิดนักเรียนควรทําการศึกษาอีกคร้ังพร้อมท้ังปรึกษาเพื่อนในกลุ่มและซักถามครผู ู้สอนให้เกดิ ความเข้าใจกอ่ นทํา การศกึ ษาตอ่ ไป 6. ทํ าแ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั งเรีย น เพ่ื อ ต รวจ ส อ บ ว่าต น เอ งมี ค ว าม รู้ผ่ าน เก ณ ฑ์ ก ารป ระเมิ น โดยถ้าทําแบบทดสอบได้ 8 ข้อจากแบบทดสอบ 10 ข้อ ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 และ ให้ผ่านไปเรยี นโมดลู ตอ่ ไป 7. นักเรียน นักศึกษา ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ให้นักเรียนเรียนซ่อมเสริม และให้กลับไป ศึกษาเน้ือหาในโมดูลตามข้ันตอนอีกครั้ง พร้อมท้ังปรึกษาและซักถามครูจนเกิดความเข้าในเน้ือหาแล้ว จึงทําแบบทดสอบหลงั เรยี นชุดเดิมอกี ครั้ง ถ้าผ่านเกณฑ์การประเมินจงึ เรียนโมดลู ตอ่ ไป 8. ใน ข ณ ะ ทํ ากิ จ ก รร ม ต้ อ งมี ค ว าม ซ่ื อ สั ต ย์ ต่ อ ต น เอ ง โด ย ต้ อ งไม่ ดู แ น ว ท างก ารต อ บ เพราะจะไมม่ ีประโยชน์ใดๆ ตอ่ นักเรยี น 9. การเรียนร้ดู ้วยวิธนี ้ี นักเรยี นจําตอ้ งซ่ือสตั ย์ต่อตนเองและมีความเชื่อม่ันในตนเองว่าทุกคนมี สามารถในการเรียนและผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผลที่กาํ หนดไวไ้ ด้หากมคี วามตั้งใจจรงิ และมคี วามมุ่งม่ัน

6 มาเรียนรูอ้ วยั วะของปลากันเถอะ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ ( K ) 1. นักเรยี นมีความรู้เกย่ี วกับอวยั วะภายในภายนอกของปลา 2. นักเรยี นสามารถอธิบายลักษณะของปลา และอวัยวะภายในภายนอกของปลา ด้านทกั ษะกระบวนการ ( P ) 1. นกั เรยี นสามารถใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการสืบค้นหาความรู้เกีย่ วกบั อวยั วะภายใน- ภายนอกของตวั ปลา ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ( A ) 1. นกั เรียนมีเจตคติทดี ตี ่อการเรียนวชิ า การเลีย้ งปลา 2. นกั เรียนมีลักษณะอันพึงประสงค์ เชน่ มวี ินยั มีความรบั ผิดชอบ และทำงานเป็นกลมุ่

7 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คำช้แี จง ขอ้ สอบมี 1 ตอน ตอนที่ 1 ให้นักศึกษาเลอื กคำตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดียว ( 10 คะแนน ) ตอนที่ 1 ใหน้ ักศึกษาเลอื กคำตอบทถี่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดียว 1. ซ่ีกรองเปน็ เสน้ ยาวเรยี วละเอยี ดและมีจำนวนมาก 4. ครีบต่างๆ ของปลา เปน็ ซ่ีกรองท่พี บในปลาประเภทใด นอกจากจะมสี ่วนทช่ี ่วยในการเคลือ่ นไหวของปลาแลว้ ก. ปลากนิ เนื้อ ยงั มีหน้าที่อย่างไรได้อีก ข. ปลากนิ พืช ก. พยงุ ตัวในนำ้ ค. ปลากินทั้งพชื และเน้อื ข. รกั ษาการทรงตัวของปลาในน้ำ ง. ปลากินแพลงตอน ค. กระโดดเหนอื น้ำ ง. ถกู ทกุ ข้อ 2. ปลากินเนือ้ มักจะมีซี่กรองลักษณะเป็นแบบใด 5. บันไดปลาท่ีถูกสรา้ งข้นึ มาเพ่อื ก. มลี กั ษณะเป็นเสน้ ยาวเรยี วละเอยี ด ก. อนุรกั ษพ์ ันธุป์ ลาพ้ืนเมือง ข. มลี ักษณะเป็นตุ่มและ เปน็ หนามแหลม ข. ทำใหส้ ตั ว์นำ้ มีแหล่งวางไข่ ค. มลี กั ษณะเรียบ ค. ปอ้ งกันการสญู พนั ธข์ุ องสัตว์น้ำ ง. มีลกั ษณะเปน็ เส้นสัน้ ๆ ง. ไมม่ ีข้อใดที่กลา่ วถูก 3. อารโ์ บเรสเซนต์ ออร์แกน หรือ เดนไดรท์ 6. ปลาชนิดใดเป็นปลากนิ แมลง เปน็ อวยั วะชว่ ยหายใจทพ่ี บในปลาชนิดใด ก. ปลานิล ข. ปลาเสอื พน่ น้ำ ก. ปลาหมอไทย ค. ปลาสลดิ ข. ปลานลิ ง. ปลาชอ่ น ค. ปลาดุก ง. ปลาชอ่ น

8 7. ไดเวอร์ติคิวลา เปน็ อวยั วะชว่ ยหายใจที่พบในปลาชนิดใด 9. สาเหตุใดทีท่ ำให้ปลามีพฤติกรรมกา้ วรา้ ว ก. ปลาหมอไทย ก. ปลาตัวผูด้ แู ลลูกอ่อน ข. ปลานลิ ข. ประกาศถิน่ ท่ีอยูอ่ าศยั ค. ปลาดุก ค. ปกป้องแหลง่ อาหารของตน ง. ปลาช่อน ง. ถกู ทุกข้อ 8. ลาไบรินท์ เปน็ อวัยวะช่วยหายใจท่ีพบในปลาชนิดใด 10. บึงบอระเพด็ ต้ังอยูท่ จ่ี งั หวดั ใด ก. ปลาหมอไทย ก. อบุ ลราชธานี ข. ปลานลิ ข. นครสวรรค์ ค. ปลาดกุ ค. พะเยา ง. ปลาชอ่ น ง. นครราชสมี า เฉลย 1. ก. 2. ก.

9 3. ค. 4. ง. 5. ข. 6. ข. 7. ง. 8. ก. 9. ง. 10. ข.

10 เนื้อหาสาระ การศึกษาอวยั วะภายในของปลาในยคุ ปัจจุบนั มีความกา้ วหนา้ ข้นึ มาก เราสามารถสอดท่อเลก็ ๆ ท่ีมีกลอ้ งโทรทศั นก์ าลงั ขยายสูง แทรกเขา้ ไปในอวยั วะต่าง ๆ เพือ่ สารวจดูความปกติ-ผิดปกติ และการทางานของอวยั วะแต่ละชิ้นได้ แต่ถา้ ตอ้ งการดูกายวภิ าคของส่วนต่าง ๆ อยา่ งละเอียดโดยไมม่ ีเคร่ืองมืออนั ทนั สมยั ท่ีมีราคาแพงเหลา่ น้ี วิธีเดียวที่จะศึกษาคอื การผา่ ตดั ตวั ปลา ซ่ึงจาเป็นจะตอ้ งทาใหป้ ลาตายเสียก่อน ปลากระดูกแขง็ ปลากระดูกอ่อน

11 1. ลกั ษณะของปากและฟัน ลกั ษณะของปากและฟัน ปลาจาพวกท่ีถูกจดั เป็นผลู้ ่า (predators) ส่วนใหญ่จะมีฟันแหลมคมเห็นไดช้ ดั การกินอาหารกเ็ ป็นแบบไล่กดั กินทีละตวั นอกจากน้ีหากดูขากรรไกรจะเห็นวา่ ขากรรไกรบนและล่างแขง็ แรง ปลาเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ ปลาช่อน ปลาปากคม (Saurida spp.) ปลาเคา้ (Wallago spp.) ปลาอินทรีเป็นตน้ ปลาจาพวกท่ีกินแพลงกต์ อนเป็นอาหาร เช่น ปลาทู (Club mackerel; Rastrelliger brachysoma)ปลาแป้น (Leiognathus spp.) ปลาหลงั เขยี วมีฟันขนาดเลก็ มาก หรือไมม่ ีเลย ขากรรไกรก็ไมแ่ ขง็ แรงเช่นปลาแป้นซ่ึงมีปากขนาดเลก็ แต่ยดื ออกมาไดม้ าก ปลาบางชนิด เช่น ปลาปากแตร (Fistularidae)มีปากคลา้ ยหลอดดูด กินแพลงกต์ อนเป็นอาหารเช่นกนั ปลาตามหินปะการัง เช่น ปลาสลิดหิน (green puller) มีฟันซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยฟันกระต่ายเพื่อใชแ้ ทะเลม็ สาหร่ายตามหินปะการังกินเป็นอาหาร มีการศึกษาพบวา่ ปลานกแกว้ (parrot fish) ตวั หน่ึงๆ สามารถขบบดหินปะการังไดป้ ระมาณ ๓๐ กิโลกรัมต่อปี ปลาอีกกลุม่ หน่ึงมีฟันเป็นแผงแขง็ แรง เช่น ปลาจาพวกกระเบน ชอบกินหอยเป็นอาหารกใ็ ชฟ้ ันดงั กลา่ วขบเปลือกหอยใหแ้ ตกแลว้ จึงกินเน้ือหอย ในปลาจาพวกตะเพียน ปลาไน อาจมีฟันบดตรงบริเวณคอหอย เพอ่ื ใชบ้ ดสาหร่าย หรือพืชน้าที่กินเขา้ ไปใหล้ ะเอียด ฟัน (teeth) มีกาเนิดมาจากผวิ หนงั ช้นั นอก ในปลากระดูกออ่ นฟันจะมีขนาดและรูปร่างเหมือนกนั ต้งั อยลู่ อย ๆ บนขากรรไกร ซ่ึงจะยดึ ติดกบั เหงือกดว้ ยเส้นใยคอลลาเจนส่วนในปลากระดูกแขง็ ฟันจะฝังลึกลงไปในกระดูก ขากรรไกร แต่ไมม่ ีรากฟัน ฟันปลาจะมีการหลดุ และเกิดข้ึนใหม่ตลอดเวลา ในปลาฉลามฟันจะเรียงกนั เป็น แถว ฟันแถวนอกสุดจะมีอายุมากท่ีสุด เมื่อหลดุ ไปแถวใหม่ดา้ นในจะร่นเขา้ มาแทนท่ี ปลาเป็นสตั วท์ ี่กินอาหารโดยไมเ่ ค้ยี วจึงมีฟันเหมือนกนั หมด แตใ่ นปลาแต่ละชนิดจะมีการจดั เรียง ฟันในตาแหน่งตา่ ง ๆ กนั อาจมี 1, 2 หรือ 3 แถวกไ็ ด้ หรืออาจเบียดกนั แน่นเป็นกระจุก บางชนิดเรียงกนั เป็น แถบ จานวนของฟันข้นึ อยกู่ บั ชนิดของปลา ปลาบางชนิดก็ไมม่ ีฟันเลย

12 ตาแหน่งของฟัน ฟันจะเกิดภายในช่องปาก ตามที่ตา่ ง ๆ กนั จึงเรียกช่ือฟันตามตาแหน่งท่ีต้งั ดงั น้ี ก. ฟันบนขากรรไกรบน (premaxillary teeth และ maxillary teeth) ข. ฟันบนขากรรไกรลา่ ง (mandible teeth) ค. ฟันบนเพดานปาก (vomerine teeth และ palatine teeth)

13 ง. ฟันบนกระดูกสิ้น (lingual teeth) จ. ฟันในช่องคอและบนกระดูกแกนเหงือก (pharyngeal teeth) ลกั ษณะรูปร่างของฟันในปลาแตล่ ะชนิดจะมีรูปแบบ ขนาด และหนา้ ที่แตกต่างกนั ไปแลว้ แตช่ นิดของอาหารท่ีกิน จาแนกฟันตามรูปร่างลกั ษณะไดด้ งั น้ี 1. ซิลฟิ อร์ม (ciliform) เป็นฟันที่มีขนาดเลก็ ละเอียดมาก ไม่มีความแขง็ แรงสามารถโยกได้ มกั รวมอยเู่ ป็นแถบหรือกระจุก มีจานวนมาก พบในพวกปลาหลงั เขียวและปลาตะลุมพกุ 2. วิลลฟิ อร์ม (villiform) เป็นฟันซี่เลก็ เรียวยาวไมเ่ ทา่ กนั อยตู่ ิดกนั เรียงเป็นแถวพบในปลาเขม็ ปลากด ปลาแขยง และปลาเทโพ 3. คาร์ดฟิ อร์ม (cardiform) มีลกั ษณะเป็นฟันเลก็ ๆ หรือใหญ่กไ็ ด้ แหลมคมมากอยกู่ นั เป็นกระจุก มกั เอนไปมาไม่เป็นระเบียบ พบในปลาเคา้ ปลากะพง ปลากะรัง เป็นตน้

14 4. ฟันเขยี้ ว (canine) มีลกั ษณะคลา้ ยเข้ยี วของสุนขั เป็นฟันขนาดใหญ่โคง้ เรียวรูปกรวย ฐานใหญป่ ลายเรียวแหลมยนื่ พน้ ซ่ีอ่ืน ๆ ข้ึนมา มีความแขง็ แรงมนั่ คงมาก ใชส้ าหรับกดั จบั ยดึ และฉีกเน้ือเหยอ่ื พบในปลาน้าดอกไม้ ปลาช่อน ปลาชะโด ปลาดาบเงิน เป็นตน้ 5. ฟันสิ่ว (chisel-like) เป็นฟันปลายแบนคมแบบปลายสิ่ว ใชเ้ จาะของแขง็ พวกหอย ปู พบในปลาววั ปลากวาง 6. ฟันตดั (incisor) มีลกั ษณะปลายตดั คลา้ ยฟันหนา้ ของสัตวแ์ ทะ ใชส้ าหรับตดั ปลายอาจเรียบหรือ เป็นหยกั พบในปลานกแกว้ ปลาปักเป้า และปลาหูชา้ ง เป็นตน้ ใชใ้ นการกดั แทะพชื ที่ติดกบั หิน 7. ฟันเป็ นแผ่นแบนคู่ (paired tassillated plate) อยดู่ า้ นหนา้ ใชส้ าหรับขบตดั ใหแ้ ตกขาด เช่น ฟันคู่หนา้ ของปลาปักเป้า

15 8. ฟันคล้ายปากนก (beak-like) ฟันหนา้ เชื่อมรวมกนั พบในปลานกแกว้ ใชใ้ นการขดุ แทะอาหารพวกพชื สาหร่ายที่ข้ึนตามโขดหิน และปะการัง 9. ฟันบด (molariform) คลา้ ยฟันกราม ปลายแบนเรียบ ใชบ้ ด ขบ ขย้อี าหาร อาจเป็นหอย พบในปลาฉนาก และปลากระเบน 10. ฟันแบบมีดโกน (razer like cutting teeth) เป็นฟันท่ีมีความคมคลา้ ยใบมีดโกน พบในปลาน้าดอกไม้ ปลาฉลาม และปลาปิ รันยา เป็นตน้

16 2. ลนิ้ (tongue) ปลาไม่ไดม้ ีลิน้ ที่แทจ้ ริง เพยี งแตเ่ ป็นแกนกระดูกที่มี เยอ่ื หุม้ อยเู่ ทา่ น้นั ไมม่ ีกลา้ มเน้ือ ไม่ไดใ้ ชใ้ นการคลุกเคลา้ อาหาร แตช่ ่วยในการจบั เหยอื่ และผลกั ดนั อาหารลงสู่ช่องคอ เช่น ปลาเสือพน่ น้าใชล้ ิน้ ที่ค่อนขา้ งยาวดนั เพดานปากใหฉ้ ีดน้าไปยงั เหยอ่ื ท่ีอยเู่ หนือผิวน้าได้ ปลาบางชนิดมีฟันท่ีลิ้นซ่ึงช่วยจบั เหยอื่ เขา้ สู่ช่องคอไดด้ ีข้ึน เช่น ปลากราย ปลาสลาด เช่ือวา่ ลิน้ อาจมีต่อมรับรสอย่ดู ว้ ย 3. ช่องคอหรือคอหอย (pharynx) อยถู่ ดั จากช่องปากเขา้ ไป เป็นช่วงส้นั ๆ ก่อนถึงหลอดอาหาร เป็นช่องแคบเหมือนปากกรวย อาจมีซ่ีกรองย่ืนล้าเขา้ มาทาหนา้ ท่ีกรองอาหารส่งไปยงั หลอดอาหาร ปลาตะเพียนขาวจะมีฟันท่ีช่องคอ เพื่อใชบ้ ดอาหารพวกพืช ส่วนปลานกแกว้ มีฟันท่ีช่องคอชนิดฟันบดใชบ้ ดปะการังและหอย 4. เหงือก (Gill) เหงือกปลา (Gills) เป็นส่วนของอวยั วะท่ีมีการแลกเปล่ียน O2 ท่ีละลายอยใู่ นน้า ซ่ึงไหลผา่ นเหงือกเขา้ มาและกเ็ ป็นที่ๆ คาย CO2 ออกมาจากกระแสเลือดเช่นกนั

ใบงานที่ 1 17 ชื่อวชิ า การเลยี้ งปลา หน่วยที่ 3 ช่ือหน่วย รูปร่างและลกั ษณะภายนอกของปลา ภาพแสดงอวยั วะภายนอกของปลากระดูกแขง็ คร้ังที่ 3 คาบรวม 2 คาบ

25 18 1 67 3 8 4 10 9 12 11 บอกหน้าที่อวยั วะภายนอกของปลาแต่ละส่วน (ตามหมายเลข) 1. ................................. มีหนา้ ท่ี.........……………………………………………………………………. 2. ................................. มีหนา้ ที่ .....……………………………………………………………………… 3. ................................. มีหนา้ ท่ี .....……………………………………………………………………… 4. ................................. มีหนา้ ที่ .....……………………………………………………………………… 5. ................................. มีหนา้ ที่ .....……………………………………………………………………… 6. ................................. มีหนา้ ที่ .....……………………………………………………………………… 7. ................................. มีหนา้ ท่ี .....……………………………………………………………………… 8. ................................. มีหนา้ ท่ี .....……………………………………………………………………… เหงือกประกอบด้วยอวัยวะหลายส่วน ได้แก่ 4.1 กระดูกเหงือก (Gill arch) เป็นแกนยดึ เกาะของเส้นเหงือก เป็นกระดูกแขง็ งอโคง้ หันส่วนหนา้ เวา้ รับช่องปาก และส่วนโคง้ ดา้ นทา้ ยไปทางช่องเหงือก กระดูกเหงือกน้ีมี 4 อนั

19 4.2 เส้นเงือก (Gill filament) เป็นเสน้ เลก็ ๆ ละเอียดออ่ นนุ่ม เรียงลาดบั เป็นคู่ ๆ ยน่ื ออกจากดา้ นทา้ ยของ gill arch ยน่ื ปลายไปทางช่องเหงือก เส้นเหงือกจะมีสีแดงสด เกิดจากสีของเม็ดเลือดในเส้นเลือดฝอยท่ีมาหลอ่ เล้ียงอยภู่ ายในเยอ่ื หุม้ ท่ีบาง ๆ และเสน้ เหงือกแตล่ ะเส้นกแ็ ตกแขนงเป็นเส้นฝอย ๆ (leaflets) ส้ัน ๆ งอกออกสองขา้ ง ทาใหเ้ พม่ิ พ้ืนท่ีในการแลกเปล่ียน O2 และ CO2 มากข้นึ 4.3 ซ่ีกรอง (Gill rakers) ทาหนา้ ที่คลา้ ยท่ีกรองเป็นตะแกรง ก้นั อาหาร เศษผง หรือส่ิงตา่ ง ๆ ที่ติดมากบั น้า ไมใ่ หไ้ ปรบกวนบริเวณเสน้ เหงือก ซ่ึงกาลงั ทาหนา้ ท่ีหายใจอยู่ และยงั ช่วยสกดั ก้นั อาหาร ใหผ้ า่ นลงตรงช่องคอ (Pharynx) ไมใ่ หห้ ลดุ ไปทางช่องเหงือก หากซ่ีกรองเลก็ ละเอียดมากกจ็ ะช่วยกรองไดด้ ีมาก ซ่กี รอง กระดูกเหงือก เส้นเหงอื ก 5. หลอดอาหาร (esophagus) เป็นอวยั วะต่อจากช่องคอ มีขนาดส้นั มากเน่ืองจากปลาไม่มีคอ มีขนาดพอ ๆ กบั กระเพาะอาหารทาใหแ้ ยกอวยั วะสองส่วนน้ียาก แต่ก็ทราบไดจ้ ากการขยายตวั ของกระเพาะอาหาร 6. กระเพาะอาหาร (stomach)

20 เป็นส่วนท่ีต่อจากหลอดอาหาร โดยทว่ั ไปกระเพาะอาหารมีลกั ษณะเป็นทอ่ รูปกรวย ทอดไปตามความยาวของลาตวั กน้ ถุงจะแคบ ผิวภายนอกเรียบผิวภายในยน่ ถี่ กระเพาะแบ่งออกเป็นสองส่วน คอื ส่วนตน้ (cardiac) และส่วนปลาย (pyloric) โดยทว่ั ไปแบง่ เป็น 3 แบบ ก. แบบตัว\"บ\"(U-shape หรือ siphonal type) มีส่วนปลายของกระเพาะส่วนตน้ โคง้ งอตกทอ้ งชา้ งมองดูคลา้ ยถงุ พบในปลาแรด ปลาตาเดียว ข. แบบตัว \"ง\"(J-shape หรือ caccal type) กระเพาะจะงองมุ้ เป็นมุมแหลมจนไมม่ ีส่วนกน้ ถงุ พบในปลาฉลาม ปลาทู ปลาตะลมุ พกุ เป็นตน้ ค. แบบเหยียดตรง (straight type) กระเพาะส่วนตน้ และส่วนปลายอยตู่ ่อเนื่องกนั และทอดไปในระดบั เดียวกนั พบในปลาช่อน ปลาสลิด ปลานิล เป็นตน้

21 7. ลาไส้เลก็ (small intestine) เป็นส่วนท่ีต่อออกมาจากส่วนปลายกระเพาะอาหาร เป็นส่วนท่ียาวที่สุดในระบบยอ่ ยอาหาร อาจจะเป็นทอ่ เหยยี ดตรงหรือขดมว้ นทบั กนั เป็นกอ้ นใหญ่ ในปลากินเน้ือลาไสเ้ ลก็ จะส้ันกวา่ ปลากินพืช ท้งั น้ีเนื่องมาจากเน้ือยอ่ ยไดเ้ ร็วและยอ่ ยในกระเพาะอาหารไดด้ ีกวา่ ในลาไสเ้ ลก็ ลาไส้เลก็ แบ่งได้ 3 ส่วน คือ ก. ตอนต้นเรียกดูโอดีน่ัม (duodenum) เป็นส่วนที่ยาวกวา่ ส่วนอื่น ต่อออกมาจากกระเพาะอาหารส่วนทา้ ย ซ่ึงจะมีสีดามากกว่าส่วนของกระเพาะเน่ืองจากมีน้าดีไหล เขา้ มาเป็นส่วนที่มีกลา้ มเน้ือแขง็ แรงและมีไสต้ ิ่งอยดู่ ว้ ย ข. ตอนกลางเรียกจูโอดนี ่ัม (juodenum หรือ jejunum) อยถู่ ดั จากตอนแรก มีขนาดส้นั กวา่ และคอดเลก็ ลงตรง ส่วนทา้ ย ค. ตอนปลายเรียกไอเลยี ม (ilium) เป็นส่วนสุดทา้ ยที่มีลกั ษณะแคบและส้ันกวา่ ส่วนอ่ืนๆ เป็นส่วนที่เหยยี ดตรงไปทางหาง 8. ไส้ต่ิง (pyloric caeca) มีลกั ษณะเป็นหลอดตนั มีขนาดและจานวนแตกตา่ งกนั ไปตามชนิดของปลา พบอยสู่ ่วนทา้ ยกระเพาะอาหารบริเวณท่ีต่อกบั ลาไสเ้ ลก็ ตอนตน้ ปลาบางชนิดไม่มีไส้ต่ิง เช่น ครอบครัวปลาเน้ือออ่ น ส่วนปลาไหลมี 1 อนั ปลาช่อนมี 2-4 อนั ปลาทูมีมากกวา่ 200 อนั ทาใหท้ ราบวา่ ไส้ติ่งมีประโยชน์ต่อปลากินแพลงกต์ อน เขา้ ใจวา่ ไส้ ต่ิงช่วยเพมิ่ พ้ืนท่ีในการยอ่ ยและดูดซึมอาหาร และช่วยในการขบั น้ายอ่ ย

22 9. สาไส้ใหญ่ (large intestine) เป็นส่วนสุดทา้ ยของทางเดินอาหาร อยตู่ ่อจากลาไสเ้ ลก็ ส่วนปลาย แยก จากลาไสเ้ ลก็ โดยรอยคอดกิ่ว ผิวภายในยน่ มากกวา่ ลาไส้เลก็ ลาไสใ้ หญอ่ าจเรียกเรคตมั (rectum) และเปิ ดสู่ภายนอกทางทวาร (anus หรือ cloaca ในปลากระดูกอ่อน) นอกจากน้ีในปลากระดูกอ่อนจะมีการพฒั นาเพม่ิ พ้ืนท่ีดูดซึมอาหารตรงส่วนตน้ ของลาไสใ้ หญ่ โดยการสร้างผนงั บิดวนเป็นบนั ไดเวยี น (spiral valve) หรือเป็นแผน่ มว้ นพบั ซอ้ นกนั (scroll valve) เทียบไดก้ บั การเพิ่มความยาวลาไสใ้ นปลากระดูกแขง็ ต่อมสมทบในระบบทางเดนิ อาหาร ตอ่ มสมทบ (accessory gland) เป็นต่อมที่ผลิตน้ายอ่ ยเพอื่ ช่วยยอ่ ยอาหารท่ีปลากินเขา้ ไป ไดแ้ ก่ ตบั ถงุ น้าดี ตบั อ่อน ต่อมในกระเพาะอาหาร และไส้ต่ิง 1. ตับ (liver) เป็นต่อมขนาดใหญ่เมื่อเทียบกบั ขนาดของช่องทอ้ ง มีสีน้าตาลเหลือง หรือดาปนแดง แลว้ แตช่ นิดของปลา มีลกั ษณะเป็นพู แต่ละพมู ีความยาวไมเ่ ท่ากนั ในปลาฉลามตบั จะมีน้าหนกั ประมาณ 13 % ของน้าหนกั ตวั ตบั ของปลากระดูกแขง็ ทว่ั ๆ ไปจะมีน้าหนกั ประมาณ 1.5 % ของน้าหนกั ตวั ปลากินเน้ือจะมีตบั ใหญ่กวา่ ปลากินพชื ตบั ปลามีวิตามินเอและบีมาก โดยสรุปตบั ปลาทาหน้าท่ีดงั นี้ ก. สะสมอาหารพวกน้าตาลและไขมนั ไวใ้ ชใ้ นยามขาดแคลน ข. ช่วยสร้างน้ายอ่ ยส่งไปยงั ลาไส้เลก็ แต่ยงั ไม่ทราบชนิดที่แน่นอน ค. ช่วยยอ่ ยอาหารทางออ้ ม โดยแยกของเสียที่เป็นด่างหรือน้าดีเกบ็ ไวใ้ นถงุ น้าดีและส่งไปยงั ลาไส้เลก็ ทาใหล้ าไสเ้ ลก็ ยอ่ ยไขมนั ไดด้ ี

23 ภาพอวยั วะภายในของปลา ภาพอวยั วะภายในของปลานิล

24 ภาพอวยั วะภายในของปลานิล

25 ใบงานท่ี 2 หน่วยท่ี 3 ช่ือวิชา การเลยี้ งปลา คร้ังที่ 3 ชื่อหน่วย รูปร่างและอวัยวะภายในของปลา คาบรวม 2 คาบ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนวาดรูปอวัยวะของปลาตามกลุ่มท่ไี ด้กาหนดไว้

26 แบบทดสอบหลังเรียน คำชแ้ี จง ข้อสอบมี 1 ตอน ตอนท่ี 1 ให้นกั ศึกษาเลือกคำตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดียว ( 10 คะแนน ) ตอนที่ 1 ให้นกั ศึกษาเลือกคำตอบท่ีถูกต้องทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดียว 1. ซก่ี รองเป็นเส้นยาวเรียวละเอียดและมจี ำนวนมาก 4. ครีบต่างๆ ของปลา เปน็ ซี่กรองท่ีพบในปลาประเภทใด นอกจากจะมสี ว่ นท่ชี ่วยในการเคล่ือนไหวของปลาแล้ว ก. ปลากินเนื้อ ยงั มีหน้าท่ีอย่างไรได้อกี ข. ปลากินพชื ก. พยุงตัวในนำ้ ค. ปลากินทงั้ พชื และเนือ้ ข. รกั ษาการทรงตัวของปลาในนำ้ ง. ปลากินแพลงตอน ค. กระโดดเหนือนำ้ ง. ถูกทกุ ข้อ 2. ปลากนิ เน้ือมักจะมซี ่ีกรองลกั ษณะเปน็ แบบใด 5. บันไดปลาทถ่ี ูกสรา้ งข้นึ มาเพอื่ ก. มลี ักษณะเป็นเส้นยาวเรียวละเอียด ก. อนุรกั ษพ์ นั ธ์ปุ ลาพื้นเมือง ข. มลี ักษณะเปน็ ตมุ่ และ เปน็ หนามแหลม ข. ทำใหส้ ัตว์นำ้ มีแหลง่ วางไข่ ค. มีลกั ษณะเรยี บ ค. ป้องกนั การสญู พนั ธขุ์ องสัตวน์ ำ้ ง. มลี ักษณะเป็นเสน้ สน้ั ๆ ง. ไมม่ ีข้อใดท่ีกลา่ วถูก 3. อารโ์ บเรสเซนต์ ออร์แกน หรือ เดนไดรท์ 6. ปลาชนิดใดเป็นปลากนิ แมลง เป็นอวัยวะชว่ ยหายใจที่พบในปลาชนิดใด ก. ปลานลิ ข. ปลาเสือพน่ น้ำ ก. ปลาหมอไทย ค. ปลาสลดิ ข. ปลานิล ง. ปลาชอ่ น ค. ปลาดุก

27 ง. ปลาชอ่ น 7. ไดเวอรต์ ิควิ ลา เปน็ อวัยวะชว่ ยหายใจท่ีพบในปลาชนิดใด 9. สาเหตุใดทท่ี ำใหป้ ลามพี ฤติกรรมกา้ วรา้ ว ก. ปลาหมอไทย ก. ปลาตัวผู้ดูแลลกู ออ่ น ข. ปลานิล ข. ประกาศถิ่นที่อยอู่ าศัย ค. ปลาดุก ค. ปกปอ้ งแหล่งอาหารของตน ง. ปลาชอ่ น ง. ถูกทุกข้อ 8. ลาไบรินท์ เปน็ อวัยวะช่วยหายใจที่พบในปลาชนิดใด 10. บึงบอระเพด็ ตัง้ อยู่ท่จี งั หวดั ใด ก. ปลาหมอไทย ก. อุบลราชธานี ข. ปลานลิ ข. นครสวรรค์ ค. ปลาดุก ค. พะเยา ง. ปลาช่อน ง. นครราชสีมา

28 เฉลย 1. ก. 2. ก. 3. ค. 4. ง. 5. ข. 6. ข. 7. ง. 8. ก. 9. ง. 10. ข.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook