Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

Description: หนังสือเรียนรายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค21002) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Search

Read the Text Version

142 2. สงั คมไทยยดึ มั่นในพระพทุ ธศาสนา วดั มีความสัมพันธก บั ชมุ ชนมากในอดีต วัด เปน แหลงการศกึ ษาของฆราวาสและภิกษุ สามเณร เปน สถานที่อบรมขัดเกลาจิตใจ โดยใชธรรมะ เปนเคร่ืองช้ีนําในการดําเนิน ชวี ติ โดยมีพระภกิ ษุ เปน ผอู บรมส่งั สอนพุทธศาสนกิ ชนใหเปนคนดี มศี ีลธรรม 3. สังคมไทยเปน สังคมเกษตร อาชีพเกษตรกรรม เปนอาชีพที่เปนพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในปจจุบันมีการนํา เทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมกี ารพัฒนาเปนเกษตรกรรมอุตสาหกรรม จากพื้นฐานการมีอาชีพเกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย ไมท ะเยอทะยานเกนิ ฐานะ มจี ติ ใจออนโยนเอื้อเฟอ เผื่อแผ

143 4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวโุ ส การแสดงความเคารพ การใหเกยี รตผิ อู าวโุ ส มผี ลตอ การแสดงออกของคนในสังคม ใน ดา นกริ ยิ าวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทาํ ใหเ ดก็ ๆ หรอื ผนู อ ย รูจักออ นนอม ถอ มตนตอผใู หญ 5. สงั คมไทยเปน สงั คมระบบเครือญาติ สังคมไทย เปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง ใกลชดิ ทําใหมีความผูกพัน และหวงใยในทุกขสุขของกันและกัน อุปการะเกื้อกูลกัน ซง่ึ สมาชกิ ในครอบครวั ทกุ คน ถือเปน หนาท่ีท่ีตอ งประพฤติปฏิบตั ิตอกนั

144 6. สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว เนอ่ื งจากมีการเปดรบั วฒั นธรรมตา งชาติเขา มามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบทนุ นิยม โดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี การเปล่ียนแปลงชากวา เมอื งใหญ ทําใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู

145 หากเราสามารถใชชีวิตโดยการประยุกตใ ชห ลักการของระบอบประชาธปิ ไตย ท้ัง 5 หลกั ใหเ ขา กบั สภาพสังคมและวิถีชีวิตไทยไดอยางสมดุล เชื่อวาสังคมไทย จะสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติมี สทิ ธิเสรีภาพ และความอบอุนในรูปแบบของวิถีชีวิตได โดยมีแนวทางของการเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย โดยพจิ ารณาจากบทบาทหนา ท่ขี องตนเองที่มีตอสว นเกย่ี วขอ ง ดังนี้ 1. บทบาทหนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ไดแก 1.1 ยดึ มั่นในคุณธรรมและศีลธรรม 1.2 พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของตนเองใหม คี วามรู ฉลาดทนั โลก ทันเหตุการณ 1.3 ประกอบอาชีพที่ซื่อสตั ยด วยความขยันหมนั่ เพยี ร 1.4 สนใจตดิ ตามขา วความเปนไปในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม 2. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอครอบครวั 2.1 ทาํ หนาท่สี มาชกิ ในครอบครวั ใหสมบรู ณ 2.2 ชว ยกิจกรรมงานตา ง ๆ ในครอบครวั อยา งเต็มใจ 2.3 ชว ยกันดูแลประหยัดคาใชจ ายในครอบครวั 2.4 รบั ฟง และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นซึ่งกนั และกนั ในครอบครัว 2.5 ไมท ําใหส มาชิกในครอบครวั รูสกึ วาถูกทอดท้ิง 3. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอ สังคมและประเทศชาติ 3.1 ดานเศรษฐกจิ 1) ประกอบอาชีพที่เกดิ ผลดีทางเศรษฐกจิ ตอชมุ ชนและประเทศชาติ 2) เสยี ภาษีอากรใหแ กร ฐั อยางถกู ตอ ง 3) ประหยดั การใชจ า ย 3.2 ดานการเมือง 1) สนใจตดิ ตามขา วคราวความเปน ไปทางดา นการเมืองในประเทศ 2) สนบั สนนุ การปกครองระบอบประชาธิปไตย 3) เขา รวมในกิจกรรมตา ง ๆ ทม่ี อี ยูในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 4) เคารพสิทธแิ ละเสรภี าพของบุคคลอน่ื 5) สนใจตดิ ตามความเปน ไปและปญ หาทางดา นสงั คมของชุมชน 3.3 ดานสงั คม 1) ยึดมัน่ ในระเบยี บวนิ ยั และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของบา นเมือง 2) ยอมรบั ความแตกตา งในดา นบุคคล 3) มีความรูสกึ เปนสว นหน่ึงของสังคมและประเทศชาติ

146 4) ใหค วามชว ยเหลอื ในการทํางานเพ่ือสังคม หากแตล ะบคุ คลสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบไดอยางครบถวนกไ็ ด ชือ่ วา เปน “พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย” กจิ กรรมที่ 12 1. ใหผ ูเรียนวิเคราะหและเขยี นบอกลักษณะสาํ คัญของสงั คมในปจจุบัน โดยเปรยี บเทียบกับ ลักษณะของสังคมไทยตามท่ีมีผูวิเคราะหไวแลว เพ่ือพิจารณาวามีลักษณะใดบางท่ี เปล่ยี นแปลงหรอื สญู หายไปแลว และลักษณะใดบางท่ียังคงอยูพรอมกับบอกความรูสึกของ ผเู รียนที่มีตอสภาพสงั คมในปจจุบนั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผูเรียนวิเคราะหบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูเรียนที่ปฏิบัติตอสมาชิกใน ครอบครัววา เปนไปตามหลักการของระบอบประชาธิปไตยหรือไม บทบาทหนาที่ดังกลาวมี เรือ่ งใดบางที่ควรสงเสรมิ และมเี รือ่ งใดบางทีค่ วรละท้ิง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในฐานะทผ่ี เู รียนเปน หนวยหนึ่งของสังคมและประเทศผเู รยี นจะปฏิบตั ติ นอยา งไร จึงจะไดชอื่ วา เปน พลเมอื งดขี องประเทศท่ีมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รง เปนประมขุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

147 บทท่ี 5 สทิ ธมิ นษุ ยชน สาระสาํ คญั มนุษยทุกคน เกิดมามีเกียรติศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐตาม มาตรฐานเดียวกันกับประเทศอ่ืน ๆ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได บญั ญตั สิ ิทธมิ นุษยชนขน้ั พื้นฐานไว เพอื่ ปกปองคมุ ครองประชาชนทุกคนมิใหถ กู ละเมิดสิทธิและรักษา สิทธขิ องตนได ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั 1. อธิบายที่มาของแนวคดิ เรื่องสิทธิมนุษยชนได 2. อธบิ ายหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากลได 3. ยกตัวอยา งแนวทางในการคุม ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลกั สทิ ธิมนุษยชนได ขอบขายเนือ้ หา เรือ่ งท่ี 1 กําเนดิ และหลกั สิทธมิ นษุ ยชน เรื่องที่ 2 การคมุ ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลักสิทธิมนษุ ยชน สอื่ ประกอบการเรียนรู 1. คอมพวิ เตอรอ นิ เทอรเ นต็ 2. เอกสารสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล 3. บทความทางวิชาการ

148

149 เรือ่ งที่ 1 กําเนดิ และหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน (Human Rights) 1.1 ความเปนมาของสิทธิมนุษยชน สิทธมิ นุษยชน คอื อะไร ไดม ผี ใู หค วามหมายของสิทธมิ นษุ ยชนไววา หมายถึง สทิ ธิตา ง ๆ ที่แสดงถึงคุณคาแหงความ เปน มนษุ ย หากสทิ ธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิตาง ๆ ท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษยแลวแตในสภาพ ขอ เทจ็ จรงิ ทางสังคมมนุษยกลับมิไดรับสิทธิหรือการปฏิบัติท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษย จึงเกิด พฒั นาการในเรอื่ งสทิ ธมิ นุษยชนขน้ึ ความตื่นตวั ในเรือ่ ง สิทธมิ นุษยชน โดยเฉพาะในประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนมีที่มาอยางไร วไล ณ ปอมเพชร. http:/www.action4change.com/ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2553 ไดศึกษาคนควาและเรยี บเรยี งถึงความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชน ไวว า สิทธิมนุษยชน ไดม ีพฒั นาการมาจาก ความพยายามของมนุษยที่จะใหศักดิ์ศรีของมนุษยชน ไดรบั การเคารพ และจากการตอสู เพ่ือเสรภี าพ และความเสมอภาคท่ีเกิดข้ึนในดินแดนตาง ๆ ทั่วโลก แนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน เกิดจากบรรดานักคิดที่มาจากหลากหลายประเพณีทางวัฒนธรรม และศาสนา ตอมาผูบริหารประเทศและนักกฎหมายตางก็มีบทบาทในการสงเสริมแนวความคิด ดังกลาว และรางข้ึนเปนเอกสารที่ใชปกปองสิทธิของบุคคลและคอย ๆ กลายเปนบทบัญญัติและ รัฐธรรมนญู ของชาติตาง ๆ ในชวงปลายสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีการดําเนินการจัดต้ังองคการสหประชาชาติขึ้นบรรดา ผนู ําของประเทศสมาชกิ ดง้ั เดมิ 50 ประเทศไดรวมลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ (The Charter of the United Nations) เมือ่ วนั ท่ี 26 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ซ่งึ ประกาศเปาหมายหลักของ องคการสหประชาชาติ ซึ่งไดถือกําเนิดข้ึนอยางเปนทางการ ในวันท่ี 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) วา “เพ่ือปกปองคนรุนตอไปจากภยั พบิ ัตสิ งคราม และเพ่อื ยืนยนั ความศรัทธาในสิทธิมนุษยชน ข้ันพ้ืนฐานในศักด์ิศรีและคุณคาของมนุษยและในสิทธิอันเทาเทียมกันของบุรุษและสตรี” มาตรา 1 ของกฎบัตรสหประชาชาติ ระบวุ า จดุ มงุ หมายประการหน่งึ ของสหประชาชาติ คือ “เพ่ือบรรลุความ รว มมือระหวางชาติ ในการสงเสริมและสนบั สนุนใหมกี ารเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรภี าพขัน้ พื้นฐาน สาํ หรบั มนษุ ยทกุ คน โดยไมค ํานึงถงึ เช้อื ชาติ เพศ ภาษา หรอื ศาสนา”

150 ดวยเหตุท่ีกฎบัตรสหประชาชาติ เปนสนธิสัญญาท่ีบรรดาประเทศสมาชิกองคการ สหประชาชาตริ วมลงนาม จงึ ถอื วา มีขอผูกพันทางกฎหมายทีบ่ รรดาสมาชกิ จะตอ งปฏิบัติตามรวมถึง การสงเสริมสิทธิมนุษยชนและการรวมมือกับสหประชาชาติตลอดจนนานาประเทศ เพ่ือใหบรรลุ วัตถุประสงคท่ีบัญญัติไวในกฎบัตร อยางไรก็ตาม กฎบัตรสหประชาชาติมิไดมีรายละเอียดเกี่ยวกับ สทิ ธมิ นษุ ยชนโดยตรงหรอื กลไกท่ีจะชว ยใหประเทศสมาชกิ ปกปอ งสทิ ธิมนุษยชน คร้นั ป ค.ศ.1945 (พ.ศ. 2488) องคการสหประชาชาติ ไดจัดต้งั คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Committee on Hunan Rights) ข้ึน มีหนาที่รางกฎเกณฑระหวางประเทศเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน จึงเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ซ่ึงสหประชาชาตไิ ดมีมติรับรอง เมื่อวันท่ี 10 ธนั วาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธมิ นุษยชน ซ่ึงบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดรวม รับรอง เมื่อ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ถือเปนมาตรฐานในการปฏิบัติตอกันของมวลมนุษย และของ บรรดานานาชาติ ถงึ แมว าปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน จะมไิ ดม ผี ลบังคับทางกฎหมายเชนเดียวกับ สนธสิ ญั ญา อนสุ ญั ญา หรือขอตกลงระหวางประเทศ แตปฏิญญาสากลฉบับนี้ นับวามีพลังสําคัญทาง ศลี ธรรม จริยธรรม และมอี ทิ ธิพลทางการเมืองไปท่ัวโลก และถือเปนหลักเกณฑสําคัญในการปฏิบัติ เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชนท่บี รรดาประเทศทว่ั โลกยอมรบั ขอ ความในปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เปน พ้ืนฐานในการดาํ เนนิ งานขององคการสหประชาชาติ และมีอิทธิพลสําคัญตอการรางรัฐธรรมนูญ ของบรรดาประเทศท่ีมกี ารรา งรฐั ธรรมนญู ในเวลาตอ มา โดยเฉพาะอยางยงิ่ บรรดาประเทศอาณานคิ ม ไดอางปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน ในการประกาศอสิ รภาพ ชวง ค.ศ. 1950 ถึง 1960 (พ.ศ. 2493 - 2503) และหลายประเทศนําขอความในปฏิญญาสากลมาใชในการรางรัฐธรรมนูญของตน รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ก็มีขอความที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลฯ เชน ใน มาตรา 4 วา : “ศักด์ิศรคี วามเปน มนษุ ยส ิทธิและเสรีภาพของบคุ คลยอมไดร บั ความคุมครอง” เมือ่ สหประชาชาติ มีมติรบั รองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ ประกอบดวย ประเทศสมาชิกเพียง 58 ประเทศ จากน้ันมาจํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มข้ึน จนมี จํานวนเกินกวาสามเทาของสมาชิกเดิม อทิ ธิพลของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขยายมากขึ้น จนเปนท่ียอมรับในระดับสากล และเปนท่ีอางอิงถึงเม่ือมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ ท้ังหลายทั่วโลก เมื่อพิจารณาดูมาตราตาง ๆ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน จะเห็นวา มาตราแรกแสดงถงึ ความเปนสากลของสทิ ธิมนษุ ยชน โดยกลา วถงึ ความเทาเทียมกันของศักดิ์ศรีและ สิทธิของมนษุ ยทุกคน ปรากฏในคําปรารภ ซึ่งเร่ิมดวยขอความที่เนนการยอมรับ“ศักด์ิศรีประจําตัว และสทิ ธิซ่ึงเทา เทยี มกนั และไมอาจโอนใหแ กกันไดของสมาชิกทงั้ มวล ของครอบครัวมนษุ ย”

151 สิทธิทร่ี ะบุไวในปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจําแนกออกไดอยางกวาง ๆ 2 ประเภท คอื ประเภทแรก เกย่ี วกับสทิ ธขิ องพลเมอื งและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิตเสรีภาพและ ความมนั่ คงของบุคคล อิสรภาพจากความเปน ทาสและการถูกทรมาน ความเสมอภาคในทางกฎหมาย การคมุ ครองเมือ่ ถกู จับกกั ขัง หรือเนรเทศ สิทธทิ ี่จะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม การมีสวนรวม ทางการเมอื ง สทิ ธิในการสมรส และการตั้งครอบครัว เสรีภาพขั้นพ้ืนฐานในทางความคิด มโนธรรม และศาสนา การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออก เสรีภาพในการชมุ นุม และเขารวมสมาคม อยางสนั ติสิทธิ ในการมสี วนในรฐั บาลของประเทศตน โดยทางตรงหรือโดยการสงผูแทน ที่ไดรับการ เลอื กตั้งอยางเสรี สวนสทิ ธิ ประเภทที่สอง คอื สทิ ธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุม ถงึ สทิ ธิในการทาํ งานการ ไดร บั คาตอบแทนเทา กันสําหรับงานท่ีเทากัน สิทธิในการกอต้ังและเขารวม สหภาพแรงงาน สทิ ธใิ นมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม สิทธใิ นการศึกษา และสิทธิในการเขารวม ใชชวี ติ ทางวัฒนธรรมอยา งเสรี ลักษณะเฉพาะของสิทธิมนุษยชนท่ีระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มี ดังตอไปนี้ 1. เปน สทิ ธิทตี่ ิดตวั มากบั มนษุ ย (Inherent) เมอื่ คนเกิดมาจะมสี ิทธิมนุษยชนติดตัวมาดวย เพราะมคี วามเปน มนษุ ย ดังนน้ั สิทธิมนษุ ยชน จงึ เปน สทิ ธิท่ตี ดิ ตัวแตล ะคนมา ไมมีการให หรือซอ้ื หรือสืบทอดมา 2. เปนสทิ ธทิ เี่ ปนสากล (Universal) คอื เปนสิทธขิ องมนุษยท กุ คนเหมอื นกัน ไมว า จะมี เชื้อชาติ เพศ หรอื นับถือศาสนาใด ไมวาจะเปนผูที่มาจากพ้ืนฐานทางสังคมหรือการเมือง อยางใด มนุษยทกุ คนเกิดมามีอิสรเสรี มคี วามเทา เทียมกนั ในศักดิศ์ รีและสิทธิ 3. เปนสิทธิที่ไมอาจถายโอนใหแกกันได (Inalienable) คือ ไมมีใครจะมาแยงชิงเอา สทิ ธมิ นษุ ยชนไปจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งได ถึงแมวากฎหมายของประเทศจะไมยอม รับรองสิทธิมนษุ ยชน หรือแมว าจะละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนก็ตาม ประชาชนของประเทศนนั้ ก็ยังมีสิทธิมนุษยชนอยู ตัวอยาง เชน ในสมัยคาทาส ทาสทุกคนมีสิทธิมนุษยชน ถึงแมวาสทิ ธิเหลาน้ันจะถกู ละเมดิ ก็ตาม 4. เปนสิทธิที่ไมถูกแยกออกจากกัน (Indivisible) กลาวคือ เพ่ือที่จะมีชีวิตอยูอยางมี ศักดิ์ศรี มนุษยทุกคนยอมมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพ มีความมั่นคง และมีมาตรฐานการ ดาํ รงชีวติ ท่ีเหมาะสมกับความเปน มนษุ ย ดงั นัน้ สิทธิตา ง ๆ ของมนษุ ยชนจะตอ งไมถูก แยกออกจากกนั

152 ตอมา หลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดมีการแปลเจตนาและขยาย ขอความใหละเอียดยิ่งข้ึนดวยการรางเปนกติการะหวางประเทศท่ีมีผลบังคับทางกฎหมายและ สหประชาชาติ มีมติรบั รอง เมอ่ื วนั ที่ 16 ธนั วาคม ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) คอื กตกิ าระหวางประเทศ วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) การทีส่ หประชาชาติ มีมตริ ับรองกติการะหวางประเทศดงั กลา วนี้ ทําใหบรรดานานา ประเทศสมาชกิ ขององคการสหประชาชาติไมเ พยี งแตเหน็ ชอบดว ยกับสิทธติ า ง ๆ ทีร่ ะบุไวในปฏิญญา สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน แตยังถือเปนมาตรการในการปฏิบัติตามดวย หมายความวา บรรดา ประเทศที่ใหสตั ยาบรรณ (Ratify) หรือ รับรองกติการะหวางประเทศดังกลาว จะตองปฏิบัติตาม ขอความในกติการะหวางประเทศ มีขอผูกพันท่ีจะตองเคารพ และปฏิบัติตามเง่ือนไขของกติกา ระหวางประเทศ และรวมไปถึงตองสงรายงานการปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศใหแก สหประชาชาติเปนประจาํ ดว ย เม่อื กตกิ าระหวางประเทศท้งั สองฉบบั มีผลในการบังคับใช ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ไดเขาเปนภาคีจนปจ จบุ นั นับได 134 ประเทศ นอกจากกติการะหวางประเทศทั้งสองฉบับที่กลาวมาแลวน้ียังมีอนุสัญญา (Conventions) คําประกาศ (Declarations) ขอเสนอแนะ (Recommendations) ท่ีเกี่ยวกับรายละเอียดของสิทธิ มนษุ ยชนตามเจตนารมณของปฏิญญาสากลวา ดวยสทิ ธิมนษุ ยชนและกตกิ าระหวา งประเทศท้ังสองฉบับ คําประกาศและขอเสนอแนะ คือ เปนมาตรฐานสากลสําหรับบรรดาประเทศสมาชิกขององคการ สหประชาชาติ แตไมมีผลผูกพันทางกฎหมายเชนเดียวกับอนุสัญญา ซึ่งมีผลบังคับใหประเทศที่เปน ภาคีของอนสุ ัญญาตองปฏบิ ตั ติ าม ตัวอยา งของอนุสญั ญาวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เชน อนุสญั ญาวาดวย สิทธิเด็ก (Convention on The Rights of the Child) อนุสญั ญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ สตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination Against Women) อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธิเดก็ มีผลบงั คบั ใชเ ม่ือวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2523) ท่ีไดมี มติรับรองของสมชั ชาสหประชาชาติ เมื่อวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2520) ปจจุบันน้ีประเทศ สมาชกิ องคก ารสหประชาชาตกิ วา 180 ประเทศ ใหสัตยาบรรณรับรองอนสุ ญั ญาดงั กลาว และบรรดา ประเทศภาคีของอนุสัญญาวา ดวยสิทธิเด็กตางก็หาวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตามขอผูกมัดของอนุสัญญา โดย ถอื วา เดก็ เปนผูทจี่ ะตอ งไดรับการดูแลปกปอง และเนนถึงความสําคัญของชีวติ ครอบครวั ของเดก็ ดว ย (โปรดดรู ายละเอียดในอนุสัญญาวาดว ยสิทธิเดก็ ในภาคผนวก) อนสุ ญั ญาวาดวยการขจัด การเลอื กปฏิบัติตอสตรีในทกุ รปู แบบ ไดร บั การรบั รองจากสมัชชา สหประชาชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) และมผี ลบังคับใชในวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) ในปจจุบันประเทศภาคีของอนุสัญญาดังกลาวนับไดกวา 150 ประเทศจุดประสงคของ อนุสัญญาฉบับนี้ คือ ความเสมอภาคระหวางชายและหญิง และเพ่ือปองกันการเลือกปฏิบัติตอสตรี

153 โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเลือกปฏิบัติในรูปแบบของการบังคับใหแตงงาน ความรุนแรงในครอบครัว โอกาสในการศกึ ษา การดแู ลดานสาธารณสขุ ตลอดจนการเลอื กปฏบิ ตั ิในสถานทีท่ าํ งาน ทก่ี ลา วมาทั้งหมดนี้ เปน ความเปน มาของสิทธมิ นษุ ยชนสากล ความเปน “สากล” เร่มิ เห็นได ชัดเจนจากปฏญิ ญาสากลวาดวยสทิ ธมิ นษุ ยชน ซึ่งเปนมาตรฐานระดับนานาชาติท่เี กย่ี วกบั การปกปอ ง ศกั ดศ์ิ รี และสทิ ธมิ นษุ ยชน ตอ มาจึงเกิดกตกิ าสญั ญาระหวา งชาติ ตลอดจน อนสุ ัญญาฉบับตา ง ๆ ซ่งึ มี ขอผูกพันในทางกฎหมายที่จะตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในกติการะหวางประเทศ และอนุสัญญา ทแ่ี ตล ะประเทศไดเ ขารวมเปน ภาคี ความเปน “สากล” ของปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสิทธิมนุษยชน แสดงไวอ ยา งชัดเจนในปฏญิ ญา ขอท่ี 1 ซึ่งเนน ถงึ ความเทา เทียมกนั ของศักดศ์ิ รี และสทิ ธขิ องมนุษยทุกคน และในขอที่ 2 ซ่ึงกลาวถึง ความชอบธรรมของมนุษยทุกคนในสิทธิและเสรีภาพท่ีระบุไวในปฏิญญาสากล โดยไมมีการจําแนก ความแตกตา งในเร่ืองใดทัง้ สน้ิ สหประชาชาตแิ ละองคกรตา ง ๆ ในระบบของสหประชาชาติ เชน ยูเนสโก และยูนิเซฟ เปนตน ไดหาวิถีทางท่ีจะใหบรรดาประเทศสมาชิกปฏิบัติตามมาตรฐานสากลแหงสิทธิมนุษยชน แตความ พยายามตาง ๆ ยอมไรผล ถาปราศจากความรวมมือของแตละประเทศ สําหรับประเทศไทยสิทธิ มนษุ ยชน หมายความถึง ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย ความเสมอภาค เสรีภาพ และอิสรภาพในชีวิตและ รางกาย ซึ่งเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยและเปนสิทธิที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครองตาม บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) กฎหมายที่เกี่ยวของและตามหลักสากล วาดวยสิทธมิ นษุ ยชน ตลอดจนแนวปฏิบตั ขิ องกฎหมายระหวา งประเทศ และขอตกลงระหวา งประเทศ ท่ปี ระเทศไทยมพี นั ธกรณี ทจี่ ะตองปฏิบตั ติ าม แตกระน้ันก็ตามสทิ ธิมนษุ ยชน ก็ยงั มีการละเมิดกนั อยู โดยทั่วไปในสงั คมไทย และถาหากไมหาทางปองกันและแกไข แนวโนมของการละเมิดก็จะทวีความ รนุ แรงขนึ้ ยากแกการแกไข และยังทําลายชือ่ เสียง เกียรตภิ มู ิ และภาพพจนข องประเทศดวย อยา งไร- กต็ าม ถาคนไทยเขาใจความหมายของสทิ ธิมนษุ ยชนอยางถูกตอง ถาเรายอมรับวา มนษุ ยทุกคนเกิดมา มเี สรภี าพ และมคี วามเสมอภาคในศักดิศ์ รีและสิทธิ และถามกี ารปฏบิ ัติตอกนั ดว ยความรักและเคารพ ในศักดศ์ิ รีของกันและกันฉันทพี่นอง คนในสังคมไทยท่ีมีความแตกตางหลากหลาย ก็จะสามารถอยู รว มกนั ไดอ ยา งสนั ตสิ ุข ปราศจากการเบยี ดเบยี น และละเมิดสิทธขิ องกันและกัน 1.2 พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย นพนิธิ สุริยะ http://gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 ไดศึกษาพัฒนาการ ของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ไวว า ภายหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 มีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก คือ พระราชบญั ญัติธรรมนูญการ

154 ปกครองแผนดนิ สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475 แมธรรมนูญการปกครองฉบับแรกของไทย จะมิไดกลาวถึง หรอื รับรองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสทิ ธมิ นษุ ยชนเลย แตจากคําประกาศของคณะราษฎรทป่ี ระกาศวา 1. ตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย ไดแก เอกราชในทางการเมือง การศาล การเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศใหม่ันคง 2. ตองรกั ษาความปลอดภัยภายในประเทศใหการประทษุ รา ยตอกันลดนอ ยลงใหม าก 3. ตองบาํ รุงความสขุ สมบูรณในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะจัดหางานใหทุกคนทํา และจะตอ งวางโครงการเศรษฐกจิ แหง ชาติ ไมละเลยใหราษฎรอดอยาก 4. ตองใหราษฎรมสี ิทธเิ สมอภาค 5. ตองใหราษฎรมอี สิ รภาพ มคี วามเปน อสิ ระ เมอื่ เสรภี าพนไ้ี มข ัดหลกั ดงั กลา วขา งตน การไดนําหลักการของสิทธิมนุษยชนไปใชในทางปฏิบัติ และระบุรับรองใหราษฎรมีสิทธิ เสมอภาคกนั แสดงใหเหน็ การตระหนกั ถึงความสําคัญของเร่ืองดังกลาว จึงวิเคราะหไดวา เปาหมาย ของการเปล่ยี นแปลงการปกครองไปสรู ะบอบประชาธปิ ไตยโดยคณะราษฎร เปนจุดเร่ิมตนของความ เคลื่อนไหวในดานสทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยอยางชัดเจน และเปนรปู ธรรมครั้งแรก รัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 2 ของไทย คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ไดปรากฏ บทบัญญตั ิที่ใหการรับรองสิทธิเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยไวใ นหมวดท่ี 2 วา ดว ยสทิ ธแิ ละหนา ที่ของ ชนชาวสยาม ซ่งึ มีสาระสําคญั ใหก ารรับรองหลกั ความเสมอหนา กันในกฎหมาย เสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เสรภี าพในรางกาย เคหสถาน ทรัพยส ิน การพดู การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การ ประชุม การตั้งสมาคม และการอาชีพ โดยบทบัญญัติดังกลาว ถือเปนการใหค วามรับรองสิทธิและ เสรภี าพของประชาชนอยางเปนทางการในรฐั ธรรมนญู เปนคร้ังแรก ขณะเดียวกันนั้น สยามประเทศไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายและระบบกระบวนการ ยุตธิ รรม เพื่อใหท ดั เทียมนานาอารยประเทศ และเปนทีย่ อมรับของรฐั ตา งชาติดวย ความมงุ หมายทจี่ ะ เรยี กรองเอกราชทางการศาลกลับคืนมาเปนของไทย แนวความคิดในการคุมครองสิทธมิ นุษยชนจึง ปรากฏอยใู นกฎหมายหลายฉบับ อีกท้ังมีความพยายามสรางกลไกคุมครองสิทธิมนุษยชนไวโดยตรง และโดยออมผานทางสถาบันตุลาการดวย โดยเฉพาะอยางย่ิงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา พ.ศ. 2477 มบี ทบญั ญตั ิทใ่ี หก ารรับรองและคุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญา ซ่ึงแตกตา งจากระบบจารีตนครบาลท่ีมีมาแตเ ดมิ อยา งสน้ิ เชงิ ตอมา วนั ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 เปน รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 3 และเปน ครั้งแรกที่มีการบญั ญตั ริ บั รองสทิ ธขิ องประชาชนในการเสนอ เรอ่ื งราวรองทกุ ข และเสรีภาพในการจัดต้งั คณะพรรคการเมืองในรัฐธรรมนูญ สวนเสรีภาพในการประชุม โดยเปด เผย ในรัฐธรรมนญู ฉบับกอ นไดเ ปล่ียนเปน เสรภี าพในการชุมนุมสาธารณะ

155 ในระหวางท่ีรัฐธรรมนูญ ฉบับท่ี 4 มีผลใชบังคับป พ.ศ. 2490 ปรากฏกระแสที่สําคัญ คือ เกิดการรวมตวั ของกรรมกร ในชื่อวา “สหอาชวี ะกรรมกรแหงประเทศไทย” ซึง่ เปนการรวมตวั กนั ของ กรรมกรจากกจิ การสาขาตา ง ๆ เชน โรงเลื่อย โรงสี รถไฟ เปนตน เนื่องจากกรรมกรเหลานี้ถูกกดขี่ คาจางแรงงานอยางมาก อันเปนผลมาจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอยา งรวดเร็ว ภายหลัง สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 กระแสความเคลอื่ นไหวที่เกิดขึ้น เปน การรวมตัวกนั เพอ่ื เรยี กรอ งตอสังคมและรฐั ใหสนองความตอ งการท่ีจาํ เปน ของตน ทาํ ใหสงั คมตระหนักถงึ สทิ ธเิ สรีภาพและสิทธิมนุษยชนอันเปน การแสดงออกถึงการคุมครองสทิ ธิมนุษยชนอีกรปู แบบหนง่ึ ที่เกิดจากการกระทําของเอกชนดวย ใน ป พ.ศ. 2491 สหประชาชาติ ไดประกาศใชปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 อันเปน ชวงเวลาทปี่ ระเทศไทยกาํ ลังรา งรฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 5 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 5 คอื รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 จงึ ไดร ับอทิ ธิพลจากการประกาศใชป ฏิญญาสากลของสหประชาชาติมี บทบัญญัตทิ ใ่ี หก ารรับรองสิทธิและเสรีภาพเปนจาํ นวนมาก และละเอยี ดกวารัฐธรรมฉบับกอ น ๆ หลกั การในปฏิญญาสากลวา ดว ยสิทธิมนษุ ยชน ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ท่ีไดร ับการบรรจุลง ไวใ นรัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 5 นอกเหนือจากสทิ ธทิ ่เี คยรับรองไวในรัฐธรรมนูญฉบับกอน ๆ ไดแก หลักการ ไดร ับความคมุ ครองอยา งเสมอภาคกนั ตามรัฐธรรมนญู ท้งั นี้ ไมวา บุคคลน้ันจะมีกําเนิดหรือนบั ถือ ศาสนาแตกตา งกันกต็ าม (มาตรา 26) สิทธิของประชาชนที่ไมถ ูกเกณฑแ รงงาน ท้ังน้ี เวน แตในกรณีที่ เปนการปองกนั ภยั พบิ ตั สิ าธารณะ ซ่งึ เกิดขน้ึ โดยฉกุ เฉนิ เฉพาะเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการรบ หรือ ภาวะสงคราม หรือในสถานการณฉุกเฉินเทาน้ัน (มาตรา 32) เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทาง ไปรษณียห รือทางอ่นื ท่ชี อบดว ยกฎหมาย (มาตรา 40) เสรีภาพในการเลอื กถน่ิ ทีอ่ ยู และการประกอบ อาชพี (มาตรา 41) สิทธิของบคุ คลทีจ่ ะไดรับความคุมครองในครอบครัวของตน (มาตรา43) ตลอดจน การใหก ารรบั รองแกบ คุ คล ซ่งึ เปนทหาร ตํารวจ ขาราชการประจําอ่ืน และพนักงานเทศบาลท่ีจะมี สทิ ธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เหมือนดังพลเมืองคนอ่ืน ๆ (มาตรา 42) ปรากฏการณท่ีสําคัญอีก ประการ คือ มกี ารนําเอาสิทธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญามาบญั ญัตริ บั รองไวในรฐั ธรรมนญู เชน หลักท่วี า “บุคคลจะไมตองรบั โทษทางอาญา เวนแตจะไดกระทําการอนั กฎหมายซง่ึ ใช อยูในเวลาที่กระทํานั้น บัญญตั ิเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษท่ีจะลงแก บุคคลน้ันจะหนักกวาโทษทีก่ ําหนดไวในกฎหมายซึ่งใชอยใู นเวลาที่กระทําความผิด มิได” (มาตรา 29) ซึง่ เปนหลกั พนื้ ฐานทส่ี ําคญั ในการดําเนินคดีอาญาและไดรับการ บญั ญัติในรัฐธรรมนูญฉบบั ตอมาจนถงึ ปจจุบนั หลักความคมุ ครองผูตอ งหาและจําเลยทีจ่ ะไดรบั การสนั นิษฐานไวก อ นวา ไมม คี วามผิด กอนที่จะมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสุด รวมถึงสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาในการประกัน และการเรยี กหลักประกนั พอสมควรแกก รณีดว ย (มาตรา 30) และ

156 สิทธิที่จะไมถ ูกจับกมุ คุมขงั หรือตรวจคน ตวั บคุ คลไมวา กรณีใด ๆ เวนแตจ ะมีกฎหมาย บัญญตั ไิ วใ หส ามารถกระทาํ ได (มาตรา 31) นอกจากน้แี ลว การกาํ หนดแนวนโยบายแหงรฐั ไวใ นหมวด 5 อนั เปน หมวดที่วาดวยแนวทาง สําหรับการตรากฎหมายและการบรหิ ารราชการตามนโยบาย ซึง่ แมจ ะไมก อใหเกิดสิทธิในการฟองรองรัฐ หากรฐั ไมปฏิบัติตาม แตกเ็ ปนการกําหนดหนาที่แกรัฐ ซ่ึงมีความเก่ียวพันกับการสงเสริมและพัฒนา หลักสทิ ธมิ นษุ ยชนในรัฐธรรมนญู ฉบับตอ ๆ มา ในทางปฏบิ ัติสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยไดรับการรับรองคุมครองอยางจริงจังเพยี งใดน้ัน ขึน้ อยูกบั สถานการณบานเมืองสภาพเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนทัศนคติของผูปกครอง เจาหนาท่ีรัฐ และประชาชน ผูเปนเจาของสิทธนิ ั่นเอง เพราะตอ มาธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พ.ศ. 2502 รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 7 ไมป รากฏบทบญั ญัตริ ับรองสิทธิเสรภี าพแตอ ยางใด และการประกาศใชธ รรมนูญ การปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2515 เมอ่ื วันที่ 15 ธนั วาคม 2515 ชวงรัฐบาลเผด็จการไมมี บทบัญญตั ิมาตราใดท่ใี หก ารรับรองสทิ ธิและเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยเลย จนกระท่งั ภายหลังเกิด เหตุการณเ รียกรองประชาธิปไตยโดยนิสติ นักศึกษา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จึงมีการประกาศใช รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2517 ซึ่งไดรับการยอมรับวาเปน รฐั ธรรมนูญฉบับที่ดีท่ีสุดและเปนประชาธิปไตยมากที่สุด มีบทบัญญัติคลายคลึงกับรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 และมีการวางหลักการใหมในการใหความคุม ครองสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้งในดานท่ีมีการจํากัดอํานาจรัฐท่ีจะเขามาแทรกแซงอันมี ผลกระทบตอสิทธิและเสรภี าพของประชาชน และในดานการเพ่ิมหนาที่ใหแกรัฐในการใหบริการแก ประชาชนใหมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ขี ้นึ เชน ชายและหญงิ มีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา 28) สิทธิทางการเมือง ในการใชสิทธเิ ลือกต้ังและสทิ ธอิ อกเสียงประชามติ (มาตรา 29) สทิ ธทิ ี่จะไมถกู ปด โรงพมิ พหรอื หามทํา การพิมพเวนแตม คี ําพพิ ากษาถงึ ทสี่ ุดใหป ดโรงพิมพหรอื หามทําการพิมพ (มาตรา 40) เสรีภาพในทาง วิชาการ (มาตรา 42) การกําหนดใหพรรคการเมือง ตองแสดงท่ีมาของรายไดและการใชจายโดย เปด เผย (มาตรา 45) และเสรีภาพในการเดินทางภายในราชอาณาจักร (มาตรา 47) นอกจากน้ีแลว สิทธิในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาและจําเลยยังไดรับการบัญญัติรับรองไวใน รัฐธรรมนญู ฉบับน้ีดว ย ไดแก สทิ ธิทจี่ ะไดรบั การสอบสวนหรือพจิ ารณาคดีดวยความรวดเร็วและเปน ธรรมสทิ ธิท่ีจะไดร บั การชวยเหลอื จากรฐั ในการจัดหาทนายความ (มาตรา 34) สิทธิที่จะไมใหถอยคํา เปนปฏิปกษตอตนเอง อันจะทําใหตนถูกฟองเปนคดีอาญาและถอยคําของบุคคลที่เกิดจากการถูก ทรมาน ขูเ ขญ็ หรือใชก ําลังบังคับหรอื การกระทําใด ๆ ทท่ี ําใหถ อ ยคําน้ันเปน ไปโดยไมสมัครใจ ไมอ าจ

157 รบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานได (มาตรา35) และสิทธิที่จะไดคาทดแทนหากปรากฏในภายหลังวาบุคคล นัน้ มไิ ดเปน ผกู ระทําความผิด (มาตรา 36) เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2519 ประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 เปนรฐั ธรรมนูญฉบับที่ 11 ซ่ึงมีบทบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเพียงมาตราเดียว คือ มาตรา 8 ซ่ึงบัญญัติวา “บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย” นับวาเปน บทบัญญัติที่ใหสิทธิเสรีภาพกวางขวางมาก แตไมมีการกําหนดวาเปนสิทธิเสรีภาพชนิดใด ตอมา เม่ือวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 มีการประกาศใชร ัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2520 เปน รฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี 12 ซงึ่ ไมม บี ทบัญญตั ิใดเลยทีใ่ หก ารรับรองสิทธิและเสรภี าพแกป ระชาชน รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 13 ประกาศใช เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 นําบทบัญญัติที่ใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพมาบัญญัติไวอ ีกโดยมี สาระสําคัญสวนใหญเหมือนกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 แตตัด บทบัญญตั เิ กยี่ วกับการรับรองความเสมอภาคของชายและหญิง เสรภี าพในทางวิชาการ และเสรีภาพ ในการประกอบอาชพี ออกไป ภายหลังจากหัวหนารักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ ไดกระทําการยึด และควบคุมการ ปกครองประเทศไวเ ปนผลสําเรจ็ เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพนั ธ 2534 และประกาศยกเลิก รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 แลวไดป ระกาศใช ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2524 แทนโดยใหไว เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2534 ซ่ึงไมปรากฏมีบทบัญญัติใดเลยที่ใหการรับรองสิทธิ เสรีภาพแกประชาชน ตอมาในป พ.ศ. 2538 ไดมีการแกไขเพ่ิมเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 โดยเพมิ่ หมวดท่ี 3 วา ดวยสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ตามทปี่ ระกาศไวใ นรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทยแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 เม่ือวันที่ 10กุมภาพันธ 2538 ซ่ึง นําเอาบทบัญญัติท่ีใหการรับรองสิทธิเสรีภาพที่เคยบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517 มาบัญญัติไวอ กี ครง้ั แตไ ดตัดเสรีภาพในทางวชิ าการออกและเพมิ่ บทบญั ญตั ริ บั รอง สทิ ธิในการไดร ับบริการทางสาธารณสขุ ทไ่ี ดมาตรฐาน (มาตรา 41) สิทธใิ นการเสนอเรอ่ื งราวรองทุกข (มาตรา 48) และสิทธิในการรบั ทราบขอมูลหรือขา วสารหนว ยงานราชการ (มาตรา 48 ทวิ) ตลอดระยะเวลาของการพฒั นาแนวความคดิ เก่ยี วกับสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย แมจะถูก ขัดขวางโดยปญหาการเมืองการปกครองเปนบางเวลา แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทางออม ปรากฏใหเห็นผานทางกลไกของรัฐ เชน กรณีที่ฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายท่ีไมเปน การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจนเกินไป การตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารโดย ฝายนิตบิ ญั ญัติ การตรวจสอบการทํางานของเจา หนาท่ีฝายปกครองโดยฝายบริหาร เพอ่ื มิใหเจาหนาท่ี ใชอาํ นาจในทางทมี่ ิชอบดวยกฎหมายและเปนการละเมิดสทิ ธขิ องประชาชน การพิจารณาพพิ ากษาคดี

158 ขององคกรตุลาการโดยยึดหลักกฎหมาย เพ่ืออํานวยความยุติธรรมแกประชาชนเหลาน้ี นับวาเปน กลไกการคุม ครองสิทธิมนุษยชน แมจะมิไดมคี วามมุงหมายใหเ ปนผลโดยตรงก็ตาม การดําเนินการขององคกรรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงปรากฏขึ้นพรอมกับการจัดต้ัง สาํ นักงานคุมครองสทิ ธเิ สรภี าพและผลประโยชนข องประชาชน (สคช.) สังกดั กรมอยั การ เม่ือ พ.ศ. 2525 ซ่ึงปจจุบันไดเปล่ียนช่อื เปน “สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทาง กฎหมายแกประชาชน (สคช.)” แตการดําเนินงานขององคกรมีขอบเขตจํากัด สืบเน่ืองจากกรอบ อํานาจหนา ท่ขี องพนกั งานอัยการตามกฎหมายตา ง ๆ สว นการดําเนนิ งานขององคก รพัฒนาเอกชนเพ่งิ มีการกอตัวขึ้นอยางเปนทางการภายหลังเกิดเหตุการณวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม2519 องคกรแรกท่ีถูกกอตงั้ เมือ่ พ.ศ. 2519 คอื สหภาพเพื่อสิทธิเสรภี าพของประชาชน และในปเดียวกันน้ัน ก็มกี ารกอตัง้ “กลมุ ประสานงานศาสนาเพ่อื สังคม” (กศส.) หลงั จากนั้นก็มีการรวมตวั กันของบคุ คลทง้ั ในรปู องคกรสมาคม มลู นิธิ คณะกรรมการ คณะทํางาน กลมุ ศูนย สถาบนั ตาง ๆ เพ่ือทําหนาที่ในการ สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสิทธิมนุษยชนในแงตาง ๆ แกประชาชน เชน สิทธิของ จําเลยหรือสิทธิทางการเมือง เปนตน ผูตองหาในกระบวนการยุติธรรมสิทธิของเกษตรกร สิทธิเด็ก สทิ ธิสตรี สทิ ธผิ ใู ชแ รงงานและสทิ ธจิ ากการกาํ เนดิ และความเปน มาของสิทธิมนษุ ยชนในตา งประเทศ และประเทศไทยจนถงึ ปจจบุ ัน สามารถแบง พฒั นาการในเรอ่ื งสิทธิมนุษยชน ไดเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะทหี่ นงึ่ ระยะแหง การเรมิ่ ตน เปน ยคุ ที่สภาพทางสงั คม มีการกดข่ีขมเหง ไมเคารพ ตอศักดิ์ศรีประจําตัวของมนุษย มีการเอารัดเอาเปรียบแกงแยง และไมมีกฎหมายหรือกฎเกณฑที่ ชัดเจนในการใหห ลกั ประกันเรอ่ื ง สทิ ธิแกป ระชาชน ระยะที่สอง ระยะแหงการเรียนรู เปนชวงที่ผูคนในสังคมเรียกรองถามหาสิทธิและ เสรภี าพ มีความขัดแยง ระหวางผูป กครองกับกลุม คนในประเทศ มีการตอสูในระยะน้ี เร่ิมมีกฎหมาย หรือกลไกในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ผูคนเริ่มเรียนรูถึงสิทธิของตนเอง โดยชวงทายของระยะน้ี ผคู นใหค วามสาํ คัญของสิทธติ นเอง แตอาจละเลย หรือมกี ารละเมดิ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของผูอน่ื บา ง ระยะท่ีสาม ระยะแหง การเคารพสทิ ธิมนุษยชน เปนชวงท่ีประชาชนมีการรวมกลุมกัน เพื่อเหตผุ ลในการปกปองและพิทักษสิทธิมนุษยชน มีการรณรงคใหตระหนักถึงการเคารพสิทธิของ ผูอ่ืนการใชอํานาจหรือใชสิทธิ มีการคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน การใชสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนเปน ไปอยา งกวางขวาง

159 เร่ืองที่ 2 การคุม ครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสิทธมิ นุษยชน หากจะกลา วถงึ การคมุ ครองตนเองและผูอืน่ ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชนคําถาม คือ การคุมครอง สทิ ธิมนุษยชนควรเร่มิ จากที่ไหน? หากเราจะหาคําตอบจากกวา งไปหาแคบ ไดแก รัฐบาล สังคม สถานท่ที าํ งาน ครอบครวั และ ปจเจกบคุ คล หากเราจะหาคําตอบจากแคบขยายไปกวางก็ตองเริ่มจากปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ี ทาํ งาน สงั คม และรัฐบาล หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเร่ิมตนกับทุก ๆ ภาคสวน โดยเฉพาะอยางย่งิ การปลกู ฝงมโนธรรมสํานกึ ในแตละปจเจกชน หลกั การพ้นื ฐานในเรอ่ื งสิทธมิ นุษยชนมีดงั น้ี 1. สิทธมิ นษุ ยชนเปน สิทธติ ามธรรมชาตทิ ่มี มี าตั้งแตเกดิ 2. สิทธมิ นุษยชนเปน สทิ ธิซ่ึงเสมอกนั ของมนุษยทุกคน 3. สิทธมิ นุษยชนเปนสิทธขิ ั้นพ้นื ฐานท่ีไมอ าจโอนใหแกกันได 4. สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สิทธขิ น้ั พน้ื ฐานที่ไมอ าจแบงแยกได

160 จากหลกั การพืน้ ฐานในเรือ่ ง สทิ ธมิ นุษยชน เราจึงมองเหน็ เปา หมายของการดําเนินการเรื่อง สิทธมิ นษุ ยชนวา เปา หมายน้ันกค็ อื เพื่อใหม วลมนุษยชาตมิ อี ิสรภาพไดร บั ความเปน ธรรมและอาศยั อยู รว มกันอยา งสันติ หากมนษุ ยท ุกคนจะไดรบั การคุมครองตามสิทธมิ นุษยชน จะตอ งมีเสรีภาพในชวี ติ เร่ืองใดบา ง จึงจะไดรับสิทธิตาง ๆ ตามหลักการพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เสรีภาพที่มนุษยทุกคนตองไดรับ เพ่อื ใหไดร บั สิทธติ า ง ๆ ตามหลักการพ้นื ฐานของสทิ ธมิ นษุ ยชน คือ 1. เสรีภาพในการแสดงออก 2. เสรภี าพในความเชอื่ 3. เสรีภาพจากความหวาดกลวั และอสิ รภาพทพี่ ึงปรารถนา การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ตัวอยาง การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยท่เี กดิ ขึ้น เชน 1. การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนจากภาคเอกชน/ประชาชน ไดแก การประทุษรายตอชีวิต รางกาย เสรภี าพอนามยั ทรัพยส นิ รวมถึงการเอารัดเอาเปรียบอยางไมเปนธรรมจาก ผูที่มสี ถานภาพทางสงั คมหรือทางเศรษฐกจิ ท่ีดีกวา เปนตน 2. การละเมิดสิทธิมนุษยชนจากภาครัฐ เชน การใชอํานาจท่ไี มเปนธรรมหรือการใช อํานาจโดยมีทัศนคติเชิงอํานาจนิยม ไมวาจะเปนการละเมิดทางนโยบายของรัฐ การออกกฎหมาย หรือบริหารราชการท่ีมีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพรวมตลอดถึงวิถี ชวี ิตของชุมชน เปนตน แนวทางการคมุ ครองตนเองและผอู น่ื จากการถูกละเมดิ สิทธิมนุษยชน 1. ไมเปนผูก ระทาํ ความรนุ แรงใด ๆ ตอ บคุ คลอน่ื 2. ไมยอมใหบ คุ คลอ่นื กระทําความรุนแรงตอ ตนเอง 3. ไมเ พิกเฉยเมื่อพบเห็นการละเมิดสทิ ธิตอบคุ คลอ่นื ควรแจง เจา หนาทท่ี ่ีเกยี่ วขอ งหรือให ความชว ยเหลอื ตามสมควรในสว นทีท่ าํ ได 4. มกี ารรวมกลมุ ในภาคประชาชนอยา งเปนระบบ และจัดตงั้ เปน องคก รมูลนิธิ ฯลฯ เพ่ือ ปกปอ งคุม ครองผูออนแอกวาในสงั คม เพื่อใหเ กดิ พลังในการตรวจสอบเรียกรองใหรัฐ มกี ารจดั ทํากฎหมายทเ่ี กดิ ประโยชนตอ สวนรวม 5. รณรงคใ หม ีการเหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ของการปกปองและสง เสริมสิทธิมนุษยชน

161 กิจกรรมท่ี 13 1. ใหศ กึ ษาและสรุปความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………....................................................................... 2. ใหหาตัวอยา งการถกู ละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากเอกชนและ แนวทางในการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………...................................................................... 3. ใหหาตัวอยา งการถูกละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากภาครฐั และ แนวทางการแกไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..............................................................................

162 บทที่ 6 การมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจริต สังคมไทยใหความสําคัญกับ เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความดี ความซื่อสัตย สุจริต มาตง้ั แตสมัยโบราณถงึ กบั มีคําพงั เพยวา “ซื่อกนิ ไมห มด คดกนิ ไมน าน” ไวส อนลกู หลานมาจนทุกวนั น้ี และเน่ืองจากเรามีศาสนาเปนท่ียึดเหนี่ยว กาํ กับจิตใจใหต้ังม่ันอยูในความดี ความงาม ความซื่อสัตย ไมค ดโกงใหผ ูอืน่ เดอื ดรอ น จงึ มีคาํ สอนทีถ่ า ยทอดกันมาหลายช่วั อายคุ น เชน “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชัว่ ” “คนดีตกนํา้ ไมไหล ตกไฟไมไหม” ความเชือ่ เชนนม้ี ีอยูในหมูคนทุกระดับในสังคมตั้งแตพระมหากษัตริย ขาราชการ และ ไพรฟา ประชาชน มพี ธิ กี รรมทางการปกครองท่ีสะทอนใหเห็นถึงคานิยมในความดีและ คนดตี องมีความซือ่ สตั ยทยี่ ังคงเช่อื มันอยใู นกลมุ ของขา ราชการระดับสําคัญ ๆ อยูคือ พิธีดื่มน้ําพิพัฒนสัตยา สาบานตนตอ พระมหากษัตริย และสิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ ซง่ึ ปจจุบันยังมีใหเ หน็ อยู อยา งไรก็ตาม กระแสโลภาภิวัตนท่ีกําลังเกิดข้ึนท่ัวโลก รวมทั้งการไหลบาของสังคม และวัฒนธรรมนานาชาติท่ไี มส ามารถหยุดย้งั ได ประชาชนคนไทยโดยเฉพาะเยาวชนและผูใชแรงงาน ตา งถูกชกั นาํ ใหหลงใหลการเปน นกั บรโิ ภคนยิ ม วัตถุนิยม ตดิ ยึดอยกู ับความสุขจากเงินทอง ความฟุมเฟอย ฟุงเฟอ สุรุยสุราย ความมีหนามีตาในสังคม ยกยองคนรวยมากกวาคนดี ไมใหความสําคัญกับ ครอบครัวและสายใยผกู พนั ในครอบครวั เหมือนเดมิ กลา วกนั วา เดก็ ๆ สมัยนี้จะเลือกไหว เลือกนับถือ คนรวย คนมีอาํ นาจวาสนา มียศ มีตาํ แหนงมากกวาคนจน คนดีที่เปนผูเฒาผูแกท่ีเปนหลักของชุมชน เหมือนเดิมแลว ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความเมตตาอารี ความชวยเหลือเกื้อกูล สมัครสมานสามัคคี พ่ึงพาอาศัยกันระหวางผูคนในชุมชน เกือบไมมีปรากฏใหเห็นมีการแขงขันชิงดีชิงเดนกันรุนแรง ท้ังการเรียน การทํางาน การดํารงชีวิตทวีมากข้ึน กอใหเกิดการทุจริต เลนพรรคเลนพวก อยาง กวา งขวาง แพรหลายไปทกุ ระดบั ทกุ วงการ พฤติกรรมท่ีทุจริตไมถูกตองบางครั้งมองเปนเร่ืองท่ีเปนประโยชนแกบานเมืองและ ไดรับการยกยอง เชน ผูมีอํานาจออกกฎหมายหรือจัดทําโครงการที่เปนประโยชนแกสังคม ประเทศชาติ แตเ บื้องหลังมีพฤติกรรมท่ีแอบซอนผลประโยชนใหตนเอง ญาตพิ ่ีนอง หรือครอบครัว หรือพรรคพวกมากกวา ที่เรียกกันวา มีผลประโยชนทับซอน มองผิวเผินเปนเร่ืองท่ีดียอมรับไดแต จริง ๆ แลวเปนการทุจริต ประพฤติมิชอบท่ีบานเมืองประสบความเสียหายอยางยิ่ง มีการเปดเผย ผลการศกึ ษาขององคก รความโปรงใสระหวางประเทศในป 2555 วา ประเทศไทยมีการทุจริตโกงกิน เปนอันดับท่ี 88 จากการสํารวจ 176 ประเทศทั่วโลก โดยหลนมาจากอันดับท่ี 80 ในการจัดลําดับ ครั้งกอน ติดกลุมเดียวกับประเทศดอยพัฒนาในแอฟริกา เชน มาลาวี มอร็อคโก แซมเบีย และ สวาซีแลนด และเช่ือวาอนั ดับการทุจรติ คอรรัปชนั่ ระดบั โลกของไทยจะหลน ลงตอ ไปอีกอยางตอเนื่อง สวนผลการสํารวจความเหน็ คนไทยท่ัวประเทศของสํานักโพลลห ลายแหง ในป พ.ศ. 2555 พบขอมูลท่ี

163 นาตกใจอยางย่ิงในทํานองเดียวกัน คือ ประชาชนกวารอยละ 79 - 58 ยอมรับไดถารัฐบาลทุจริต คอรรัปชนั่ แตข อใหตนเองไดป ระโยชนดว ย ทง้ั น้ี ประชาชนดงั กลา วเนน กลมุ เดก็ และเยาวชนมากที่สดุ รองลงมา คือ กลุมนักเรียน นักศึกษา พอคานักธุรกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เกษตรกร ขาราชการ พนักงานรฐั วิสาหกจิ และกลมุ แมบานเกษียณอายรุ าชการ ตามลําดับ ผลการสาํ รวจวิจยั ดังกลาวนี้ จะเห็นไดวา คานิยมในความดีในปจจุบันเปล่ียนไปมาก เปน คานยิ มทมี่ ีใหเห็นในทกุ แหงของสังคมไทย ตง้ั แตในครอบครัว ในชุมชนรา นคา ในหมูนักการเมือง ขาราชการ แมกระทั่งในหองเรียนและสถานศึกษา จะเปนปญหาสังคมท่ีหย่ังรากลึกลงไปทุกทีใน สงั คมไทย ฉะน้นั จงึ เปน เร่ืองทเ่ี ราจะตองรเู ทาทนั มจี ิตสํานกึ และมีสวนรวมที่จะชวยกันปองกันแกไข ขจัดปญหาทุจริตคอรรัปชั่นเหลาน้ีใหหมดไป ตามแนวทางท่ีสํานักงานปองกันและปราบปราม การทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ไดกําหนดเปนมาตรการในการแกไขปญหาในภาพรวมท่ีเนนการมีสวนรวม ของประชาชนในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต ซึง่ หมายถงึ การใหประชาชนเขาไปมีบทบาท ในฐานะที่เปนสวนหน่ึงของผูดําเนินการดวย โดยการวางระบบใหประชาชนกลาคิดกลาทําในส่ิงที่ ถกู ตอ ง กลาตดั สินใจในกรอบของการเคารพสทิ ธ์ขิ องผูอ ่นื และสงเสริมใหทาํ งานเปนรูปแบบเครือขาย เช่ือมโยงกันทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรโดยมีฐานะเทาเทียมกัน ถักทอรอยเรียงกันดวย วตั ถุประสงคเดียวกนั เพ่อื เพมิ่ พลงั และความมน่ั ใจในการมสี ว นรว มของประชาชนในการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตใหหมดไป มาตรการดงั กลาวพอสรปุ ได ดังนี้ 1. วธิ สี รา งความตระหนักใหประชาชนมสี วนรวมในการตอ ตานการทจุ รติ การใหป ระชาชนมสี วนรวมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในการตอตานการทุจริตโดยวิธีการ สรางความตระหนกั อาจพิจารณาไดดังน้ี 1.1 ปลูกจติ สาํ นกึ คานยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรมและสรางวินัยแกทุกภาคสวน โดยการ สงเสริมการดําเนินชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและวินัย ใชการศึกษาเปน เครอ่ื งมอื ในการปอ งกันเสรมิ สรางความรู ทกั ษะ ทศั นคติ ปลูกฝง จิตสํานึกใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนอยางตอเน่ือง รวมทั้งผลักดันคานิยม การปอ งกันการทจุ ริต ความซอื่ สัตยสจุ รติ รังเกียจการทุจรติ เปนคานยิ มแหง ชาติ 1.2 รวมมือในการสรา งการมสี ว นรว มและเครอื ขา ยปองกันและปราบปรามการทุจริต ในทุกภาคสว นโดย 1) การประชาสัมพันธตอตา นการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบทกุ รปู แบบ 2) เสรมิ สรา งกระบวนการมสี ว นรวมของประชาชนทกุ ภาคสว น 3) เสรมิ สรา งความเขม แข็งของเครือขา ยใหมขี วญั และกาํ ลังใจในการทาํ งาน

164 1.3 สง เสริมความเปน อสิ ระ และสรางประสิทธิภาพใหแกองคกรท่ีมีหนาที่ตรวจสอบ การทุจริต โดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหปราศจากการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาคการเมือง ภาคราชการ และภาคธุรกิจ และถวงดลุ อาํ นาจภาครฐั ทเ่ี กย่ี วของทกุ ระดับ เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึง ขอ เทจ็ จรงิ อยางทันการณ 1.4 สงเสริมการสรางมาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพแกบุคลากรของหนวยงาน ท่ีมี หนาท่ีตรวจสอบการทุจรติ รวมท้ังการเสริมสรางความรูทักษะและจริยธรรมแกบุคลากร รวมท้ัง เสริมสรางขวัญกําลังใจและการบริหารงานบุคลากร การสรางความรวมมือดานวิชาการกับองคกร ตา งประเทศดวย 2. สรา งความเขาใจท่ีถกู ตอ งใหก ับประชาชนและหนวยงานเครอื ขายเก่ยี วกบั กฎหมายท่เี กี่ยวของ ในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตองรับเปน หนาท่ีในการดําเนินงานรวมกับหนว ยงานเครือขาย ในการสงเสริมใหประชาชนชาวไทยมีความรู ความเขา ใจที่ถูกตองในเรื่องกฎหมาย ระเบียบ และ มาตรการตา ง ๆ ทจ่ี ะเปนประโยชนในการรวมมือกนั ปองกันพฤติกรรมการทุจริตคอรรัปช่ันรูปแบบ ตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย กําหนดใหรัฐตองมีหนาที่สงเสริม สนับสนนุ การมสี ว นรว มของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคกร ทางวิชาชพี โดยเฉพาะขอ กฎหมายท่เี กี่ยวขอ งในการปฏิบัตงิ าน เพอื่ ปองกนั ปญหาการทจุ รติ คอรรปั ชน่ั ท่ีผูปฏิบัติงานและเครือขายภาคประชาชนควรทราบ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (3) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ ประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ และพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ย การปองกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศกั ราช 2542 (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19 (13) วาดวยการเสรมิ สรางทศั นคติและคานยิ มเกี่ยวกบั ความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้งดําเนินการใหประชาชน หรือกลมุ บคุ คลมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ทัง้ นี้ มรี ายละเอยี ดทส่ี ามารถศกึ ษา คน ควาไดจาก www.nacc.go.th (เว็บไซตของ ป.ป.ช.) 3. การกระตนุ จติ สาํ นึกการมีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต เพ่ือใหผเู รียนเกิด ความเขาใจ ตระหนัก และมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมท่ีจะปองกัน การทุจริตประพฤติมิชอบในชุมชน และสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ ไดก าํ หนดแนวทางการเรียนรู ในรูปแบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝก ทักษะการคิด วิเคราะห การมีสวนรวมในการแกปญหาการทุจรติ รูปแบบตาง ๆ ดวยเจตนาที่จะให ผเู รยี นสามารถนาํ ไปเปน แนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม

165 จนเกิดการพฒั นาจติ สาํ นกึ ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ได กิจกรรมทั้งหมด ประกอบดวย 6 กรณีศึกษา ไดแก 1. เร่ือง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมครวั ” 2. เรื่อง “การตรวจรบั สงเดช” 3. เรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนที่ยังไมเ คยเลา” 4. เรื่อง “สายนําจบั เท็จ” 5. เรื่อง “อะไรอยใู นกลอ งไม” 6. เรอื่ ง “รถปลูกสะระแหน” ทั้งนี้ผเู รียนและผูสอนจะตอ งรวมมอื กนั นําขอมลู ทั้งดาน วชิ าการ ระเบียบ กฎหมาย ทไ่ี ดม กี ารสรุปรวบรวมไวในเอกสาร คูมือการจดั กิจกรรมการเรยี นรู เรื่อง การมีสว นรวมของประชาชน ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต รวมกบั ขอ มูลปญหาความตอ งการสภาพแวดลอม ของชุมชน ทองถ่นิ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ท่ีตนเองมอี ยมู าตดั สนิ ใจแกป ญหาตา ง ๆ ใหล ลุ วงไปไดอยางเหมาะสม ตอ ไป

166 กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 1 เร่ือง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครวั ” วตั ถปุ ระสงค 1. ระบปุ ญ หาการทจุ รติ จากการใชอํานาจหนาทใี่ นทางทไี่ มถ กู ตอ ง 2. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ัติงานได 3. เกิดจติ สํานึกในการปองการการทจุ ริต เนอื้ หาสาระ 1. คณุ ธรรมในการทํางานเพ่อื ปองกนั หรอื หลีกเลยี่ งการทจุ ริต 2. สาํ นกึ ดานความซือ่ สตั ยตอ การปฏบิ ัตงิ าน กรณีศึกษา เจาหนาท่ี ป.ป.ช. ช่ือ คุณสืบ ไดไปตรวจดูบัญชีท่ี ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ บญั ชที รัพยส ินของนักการเมอื งทแ่ี สดงตอ ป.ป.ช. คุณสืบเปดดบู ญั ชตี าง ๆ ของนักการเมืองพบวา หุนของนักการเมอื ง ระดับหัวหนา พรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญที่เปนของนักการเมืองผูน้ันเอง ทําไม จึงมีหนุ อยูไมมาก แตผ ถู ือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี ซึ่งเปนแมครัวบานนักการเมืองใหญ รายนั้น คุณสบื เรมิ่ ไดเ คาของการถือหนุ แทนนกั การเมือง จงึ ไดทาํ การปลอมตัวเขาไปเพื่อหาหลักฐาน และพบวา คุณสมศรี เปน ผูถือหนุ รายใหญข องบรษิ ัทนักการเมอื งทค่ี ณุ สมศรเี ปนแมครัว ประเดน็ 1. จากเนื้อหาเรื่อง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ หรือไม เพราะเหตใุ ด 2. จากเนื้อหาเรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรอื “แมค รวั ” การกระทําของนายจา งของนางสมศรี สะทอนถงึ การขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร ใบความรู - เรอ่ื งความซือ่ ตรงกับความซ่อื สตั ย

167 ใบงาน 1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณศี กึ ษา 2. แบงกลุมอภิปรายตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต ัวแทนกลุมออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผูสอนและผเู รียนรวมกนั สรปุ แนวคดิ ท่ไี ดจ ากผลการอภิปรายกลมุ 5. ใหผ เู รียนรว มกันวางแผนและจัดทํากจิ กรรมการเรียนรูต อ เนื่องพรอมสรุปรายงานผล กิจกรรมเรียนรูตอเนือ่ ง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ พรอ มจัดทาํ สรปุ รายงานผล เสนอผสู อน สือ่ และแหลง การเรียนรู - Internet - ส่อื สง่ิ พิมพ/ วารสาร/หนงั สอื พมิ พ

168 กรณศี ึกษาเรือ่ งที่ 1 เรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมค รวั ” กฎหมาย ป.ป.ช. กาํ หนดใหนักการเมืองตั้งแต นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. รวมทง้ั เจาหนา ทขี่ องรฐั ทีม่ ีตาํ แหนง สงู ตอ งย่ืนบญั ชีแสดงรายการทรพั ยส นิ และหน้ีสิน ตอ ป.ป.ช. เม่อื เขาดํารงตําแหนงและพนจากตําแหนง เพ่ือตรวจสอบวามีทรัพยสินอะไรเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือไม หลังจากยน่ื บญั ชแี ลว ป.ป.ช. ตอ งเปดเผยบัญชฯี ของนกั การเมืองตอสาธารณะ เจา หนาที่ ป.ป.ช. ช่อื คณุ สืบ ไดไปตรวจดูบญั ชฯี ที่ ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา ตรวจสอบ คุณสืบเปดดูบัญชีฯ ตาง ๆ ของนักการเมืองแลวก็มาสะดุดสงสัยและต้ังขอสังเกตวา หุนของนักการเมืองระดับหัวหนาพรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญท ี่เปนของนักการเมืองผูนั้นเอง ทําไมจงึ มีหุน อยูไ มมาก แลว หุนท่ีเหลอื เปน ของใคร เมอ่ื คณุ สบื ต้ังขอสังเกตแลว จงึ คนหาความจริงโดยคณุ สืบเริ่มจากการไปคนหารายชื่อ ผูถือหุนในบริษัทยักษใหญดังกลาว จึงพบวามีผูถือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี แสดงวา คุณสมศรตี อ งเปน “เศรษฐีใหม” แน ๆ เพราะไมเ คยไดย ินชอ่ื ติดอนั ดับเศรษฐเี มอื งไทยมากอ น คุณสืบ จึงไปตรวจสอบจากทะเบียนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงจะมีชื่อของคนไทยทุกคนที่มี บัตรประจําตัวประชาชนในทะเบียนราษฎรจะมีขอมูลบุคคลวา ชื่อ – สกุลใด เคยเปลี่ยนช่ือ สกุล อยา งไร อายเุ ทา ใด หนา ตาเปน อยา งไร บดิ ามารดาชอ่ื อะไร พรอมที่อยอู าศัย คุณสืบ ทราบวา คุณสมศรีน้นั มบี านพักอยูในจดั หวัดภาคอีสาน คุณสืบจงึ เก็บสมั ภาระ เดินทางไปจังหวัดภาคอีสาน เพ่ือไปหาคุณสมศรี เมื่อไปถึงบานเลขท่ีตามท่ีปรากฏในทะเบียนราษฎร คุณสืบไดพบกับบานไมเกา ๆ หลังหน่ึง ตั้งอยูนอกเขตอําเภอเมืองเล็กนอย คุณสืบคิดอยูในใจวา “เศรษฐใี หม” เปน คนสมถะ มีบา นหลังเล็ก ๆ พออยูอาศัย ไมฟงุ เฟอ เหมือนเศรษฐีคนอ่ืน จึงไดเขาไป เคาะประตบู าน ปรากฏวา มคี ณุ ยายคนหนึง่ เดินออกมาเปดประตู คณุ สืบอางวา รูจักกบั คุณสมศรีจะ มาหาคุณสมศรี ไดรับคําตอบจากคุณยายวาคุณสมศรีไปทํางานอยูกรุงเทพฯ คณุ สืบจึงถามคุณยายวา คุณสมศรี ทาํ งานทไ่ี หน จะตดิ ตอ ไดอ ยางไร คณุ ยายจึงใหหมายเลขโทรศัพท แตไ มไ ดบ อกวาทํางานทีไ่ หน เม่อื คุณสืบ ไดร บั แลว ก็ขอลาและขอบคุณคณุ ยายตามมารยาทสงั คมไทย จากนนั้ คณุ สืบจึงเดินทางกลบั กรงุ เทพฯ และไดโทรศัพทไ ปตามหมายเลขทค่ี ุณยายใหไว โดยขอพูดกับคุณสมศรี คนรบั สายตอบวา คณุ สมศรไี ปจายกบั ขาวท่ตี ลาด คณุ สืบยงั คิดในใจวา เด๋ียวน้ี เศรษฐีใหมไ ปจา ยกบั ขา วทตี่ ลาดเอง จงึ ไดบ อกกับคนรบั โทรศัพทวา วันน้คี ุณสมศรอี อกไปจา ยกบั ขาวเอง เลยหรอื ผูรบั โทรศพั ทจ งึ ตอบวา ไปจายกับขาวทกุ วนั เพราะเปน แมค รวั

169 คณุ สบื เร่มิ ไดเ คาของการถอื หุนแทนนกั การเมือง แตเ พอื่ ความชัดเจนในเรอื่ งนี้ คุณสืบ จึงไดปลอมตวั ไปทบี่ า นหลงั ดงั กลาว เพ่อื หาขอ มูลใหแ นช ดั วา เปน บา นของนกั การเมอื งเจาของบริษัท ยักษใ หญจริงหรอื ไม โดยคุณสืบไดหาขอ มลู มากอนวา คุณสมศรีจะไปจา ยกบั ขา วในเวลาบาย ๆ จึงได วางแผนเขา ไปเวลาประมาณบายสองโมง และจากการท่ีคุณสบื ปลอมตัวเขาไป จึงมีหลักฐานยืนยันไดวา คณุ สมศรี เปนแมครวั บา นนักการเมอื งใหญรายนจ้ี ริง และเปนคุณสมศรรี ายเดยี วกบั ที่เปนผถู อื หนุ รายใหญ ของบริษทั นกั การเมืองทคี่ ุณสมศรีเปน แมครัว คณุ สมศรีจงึ เปลย่ี นฐานะใหมจ ากเศรษฐีใหม กลายเปน แมค รวั ซะแลว ประเด็น 1.จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ กฎหมายวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริตหรอื ไม เพราะเหตใุ ด 2. จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนายจางของ นางสมศรีสะทอนถึงการขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร

170 ใบความรู “ซื่อตรง” กบั “ซื่อสัตย” ความหมายของคําสองคํา คือ “ซ่ือตรง” กับ “ซ่ือสัตย” ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน ป 2542 ไดก ลา วไว คือ “ซ่ือตรง” แปลวา ประพฤติตรง ไมเอนเอง ไมคดโกง ใหสังเกตคําวา ประพฤติ ประพฤติ คอื วาจา และการกระทํา ถา ทางพระ จะหมายถึง วจกี รรม กายกรรม “ซ่ือสัตย” หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไมคิดคดทรยศ ไมคดโกง และ ไมห ลอกลวงเหมือนกับคําวา คุณธรรม จริยธรรม คําวา จริยธรรม บอกแตเพียงความประพฤติ คือ คําพดู และการกระทํา แตถาพดู ถงึ คุณธรรมตองรวมใจดวย สรุปไดว า ซ่ือตรง คือ ส่ิงทป่ี ระพฤตอิ อกมาใหป รากฏ แลวสังคมตัดสนิ วา ตรงหรือไมตรง แตถา ซือ่ สัตย นอกจากจะประพฤตติ รงแลว ยังตองพัฒนาที่จติ ใจ มคี วามจริงใจดว ย สุภาษิตสะทอนความซือ่ ตรง สุภาษิต เรื่อง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย ซึ่งความจริงคนไทย ไต ลาว ซ่ึงเปน คนกลุมเดียวกัน และมีจํานวนกวารอยลานคนยกยอง เร่ือง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย มาเปน ความดอี นั ดบั หน่งึ โดยสุภาษติ โบราณจากสถานทตี่ า ง ๆ มีดังนี้ คอื กบั ขาวอรอยเพราะเกลือ (The meal is good, thanks to the salt) คนดีเพราะซือ่ สตั ย (A man is good due to his honesty) สวนดี ตองรูวธิ ปี ลูก ซื่อ กนิ ไมหมด ลกู ดี ตองรูวธิ ีสอน คด กนิ ไมนาน

171 สมัยกอนในปม น้ํามันสามทหาร ทตี่ วั ถงั น้ํามันจะมีปายวา “ซ่ือกินไมหมด คดกินไมนาน” ซ่ึงเม่ือกอนคําน้ีมีเยอะ แตปจจุบันหายไปที่หายไปไมใช เพราะสามทหารหมดไป แตอาจหายไป เพราะคนไทยไมเ ชือ่ คา นิยมน้แี ลว คานิยมอาจเปล่ยี นแปลงไปเปน “ซอ่ื ไมม ีกนิ แตคดมีกินจนเหลือกิน” กเ็ ปน ได แตหากพิจารณาแบบยาว ๆ แลวจะเหน็ วา ซ่ือกินไมห มดหรอก แตค ดกินไมน าน น่ันแหละที่ เปน จรงิ

172 กรณศี ึกษาเรือ่ งท่ี 2 เร่อื ง การตรวจรับสง เดช วัตถปุ ระสงค 1. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ตั ิงานได 2. มีสว นรว มในการปองกันการทุจริตในหนวยงาน 3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปองการการทจุ รติ เนื้อหาสาระ 1. ชอ งทางการสงเร่อื งรองเรยี นการทุจรติ 2. คุณธรรม จริยธรรม ของผปู ฏบิ ัติงาน กรณศี ึกษา จากการไตส วนขอเท็จจรงิ ของ ป.ป.ช. ไดความวา เมื่อป พ.ศ. 2545 องคการบริหาร สวนตําบลแหงหนึ่ง ไดสอบราคาจางเหมากอสรางอาคารอเนกประสงคคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน วงเงิน 1,904,000 บาท โดยมีนาย ก ผูถกู กลาวหา เมอื่ ครง้ั ดํารงตาํ แหนงนายกองคก ารบริหารสว นตําบล เปน ประธานกรรมการตรวจการจา ง ในการดาํ เนินการกอ สรา งปรากฏวา ผูรับจางกอสรางไมถูกตองตาม แบบรปู รายการที่องคก ารบริหารสวนตาํ บลกาํ หนดหลายรายการ เปนเหตุใหหัวหนาสวนโยธาในฐานะ ผูควบคุมงาน ทาํ บันทกึ เสนอผูถูกกลาวหาในฐานะประธานกรรมการตรวจการจาง แจงใหผ ูรับจางแกไขให ถูกตอง ตอมาผูรับจางไดเขามาดําเนินการแกไขงานแลว แตก็ยังไมถูกตองตามแบบรูปรายการที่ กําหนดอีก หัวหนาสวนโยธาในฐานะผูควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจาง จึงไดมีบันทึก เสนอผูถกู กลา วหาอกี ครง้ั เพื่อแจงใหผูรบั จางดําเนินการแกไขโดยดวน แตปรากฏวาผูถกู กลา วหาไดมี คาํ สง่ั อนุมัติเบกิ จา ยเงินใหแกผ รู บั จา งทาํ ใหองคก ารบริหารสวนตําบลตองเบิกจายเงินคาจางกอสราง ใหแ กผ รู ับจา งไปโดยท่ีงานยังไมเสร็จสมบูรณเ ปนเหตุใหท างราชการไดร ับความเสียหาย

173 ประเด็น จากกรณีศึกษา เร่ือง ตรวจรับสงเดช นายก อบต. กระทําความผิดในเร่ืองใด และ สงผลตอ คณุ ธรรมในการบรหิ ารงานอยางไร ใบความรู - ชอ งทางการสง เรื่องรองเรียนการทจุ ริต ใบงาน 1. ใหผูเรียนศกึ ษากรณีศกึ ษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ตามประเด็นทีก่ ําหนดให 3. ใหผ สู อนและผูเ รยี นสรุปแนวคดิ ทไี่ ดจ ากการอภปิ รายกลุมรว มกนั กจิ กรรมการเรยี นรูอ ยา งตอ เน่ือง - ใหผเู รียนรวมกนั จัดทํากิจกรรม/โครงการในการรณรงคการปองกันและปราบปราม การทจุ ริตในชมุ ชน พรอ มจัดทําสรปุ รายงานเสนอผูสอน สอื่ /แหลง คน ควา - หนังสือพมิ พ/ วารสาร - ส่ือ Internet - สํานักงาน ป.ป.ช.

174 ใบความรู ชองทางการสงเรอื่ งรอ งเรยี นการทจุ ริต หากพบเห็นเจาหนาท่ีของรัฐกระทําความผิดทุจริตตอหนาที่ กระทําความผิดตอ ตาํ แหนง หนา ท่ี หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตําแหนงหนา ท่ใี นความยุติธรรม รํ่ารวยผิดปกติ หรือมีทรัพยสิน เพม่ิ ขึน้ ผิดปกติ สามารถทําหนงั สือรองเรยี นตอ สํานักงาน ป.ป.ช. ตามหลักเกณฑต อไปน้ี 1. มีหนังสือ “เรียน เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.” หรือ “ตู ปณ. 100 เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300” หรือเขารองทุกขกลาวโทษตอพนักงานสอบสวน ณ สถานีตํารวจในเขตอํานาจ สอบสวน โดยพนกั งานสอบสวนจะสง เรื่องไปยงั สาํ นักงาน ป.ป.ช. เพ่ือดําเนินการตอ ไป 2. ใหมีรายละเอียดการรองเรียน ดงั น้ี (1) ชอ่ื – สกุล ท่อี ยู และหมายเลขโทรศัพทของผกู ลาวหา (2) ชือ่ – สกลุ ตาํ แหนง สังกดั ของผูถกู กลา วหา (ตอ งเปน เจา หนาทีข่ องรัฐ หรือ พน จากตําแหนง ไมเกิน 5 ป) (3) ระบขุ อ กลา วหาการกระทําความผิดฐานทุจริตตอ หนา ที่ การกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการหรือ ตําแหนงหนา ที่ในการยตุ ิธรรม ราํ่ รวยจนผดิ ปกติ หรือมที รัพยสนิ เพิม่ ข้นึ ผิดปกติ (4) บรรยายการกระทาํ ความผดิ อยา งละเอยี ดตามหัวขอ ดังน้ี - กรณีกลาวหากระทําความผิดฐานทุจรติ ตอหนาท่ีกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือ กระทําความผดิ ตอ ตําแหนง หนาทใี่ นการยุตธิ รรม ก. การกระทาํ ความผิดเกดิ ข้ึนเมื่อใด ข. มขี น้ั ตอนหรอื รายละเอียดการกระทาํ ความผดิ อยางไร ค. มีพยานบคุ คลรูเห็นเหตกุ ารณห รือไม ง. ในเรื่องนี้ไดรองเรียนตอหนวยงานใด หรือยื่นฟองตอ ศาลใด เมื่อใด และผลเปนประการใด - กรณกี ลาวหาวารํ่ารวยผิดปกตหิ รือมีทรัพยส นิ เพ่ิมขนึ้ ผิดปกติ ก. ฐานะเดมิ ของผูกลาวหาและภริยาหรือสามี รวมทงั้ บิดามารดาของทงั้ สองฝายเปนอยา งไร ข. ผูถกู กลาวหา และภรยิ าหรอื สามี มอี าชีพอ่ืน ๆ หรอื ไม ถา มอี าชีพอ่ืนแลวมรี ายไดมากนอ ยเพยี งใด ค. ทรัพยส นิ ทจ่ี ะแสดงใหเ ห็นวาร่าํ รวยผดิ ปกติฯ อะไรบาง

175 3. ลงลายมือชื่อ และเขียนช่ือ – สกุล ดวยตัวบรรจง พรอมแจงท่ีอยขู องผูกลาวหาใหชัดเจน หากตองการใหสํานักงาน ป.ป.ช. ปกปดช่ือ – สกุล และที่อยูใหระบุชัดเจนดวย สวนกรณีที่ไมเปดเผย ชื่อ – สกุลจรงิ ถือวาเปน บัตรสนเทห ใหสงแบบไปรษณยี ตอบรับ (เพอ่ื จะไดรบั ทราบวา หนงั สือรองเรียน สงถึง ป.ป.ช. แลว) เพราะสํานักงาน ป.ป.ช. จะติดตอกับผูรองเรียนโดยตรงกับผูรองเรียนที่แจง ชื่อ – สกลุ และทอี่ ยเู ทา นัน้ 4. สายดวน Call Center 1205 5. สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมการปองกันและปราบปราม การทุจริต โดยประสานความรวมมือกับประชาชนและสวนราชการเพื่อเผยแพรความรูแกประชาชน การเสริมสรางทัศนคติและคานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต การสงเสริมใหประชาชนหรือกลุมบคุ คล ทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมท้ังการเสนอมาตรการ ความเห็นหรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปราม การทุจรติ นอกจากน้กี รรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัด ยังไดแบงเบาภาระงาน ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เชน การตรวจสอบขอเท็จจรงิ เพ่ือเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาตอไป การตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินที่ ผูม ีหนา ท่ยี น่ื บญั ชีไดย่ืนตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท้ังน้ี การดําเนินการดังกลาว คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเปนผกู ําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารใหก รรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดดาํ เนนิ การ อนง่ึ กรรมการ ป.ป.ช. ประจําจงั หวดั มีหนาท่ีย่นื บัญชแี สดงรายการทรัพยส ินและหนี้สิน ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. และอาจถูกตรวจสอบโดยประชาชนได กลาวคือ ประชาชนผูมีสิทธ์ิเลือกต้ัง จาํ นวนไมนอยกวาหาพันคน สามารถเขาชื่อรองเรียนขอตอคณะกรรมการ ป.ป.ช วากรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตประจําจงั หวัด ผใู ดขาดความเท่ียงธรรม จงใจฝา ฝนรัฐธรรมนูญ หรอื กฎหมาย หรือมีพฤติการณท่ีเปนการเสื่อมเสียแกเกียรติศักด์ิของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง ซ่ึงหากมี การกลาวหาดงั กลาวแลว คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดใหกรรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดผูนั้น ยตุ กิ ารปฏิบัติหนาที่ไวก อ นกไ็ ด

176 กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 3 เรอื่ งเลา ของโดเรมอนทยี่ งั ไมเคยเลา วัตถุประสงค 1. บอกแนวทางในการเสรมิ สรางคุณธรรมได 2. ใชค ณุ ธรรมในการปฏิบตั ติ นปอ งกันการทุจริตได 3. เกดิ จติ สาํ นึกในการปอ งการการทจุ รติ เนอ้ื หาสาระ 1. คุณธรรมในการทํางานเพ่ือปองกนั หรอื หลกี เลยี่ งการทจุ ริต 2. การมสี วนรวมของประชาชน กรณีศกึ ษา โนบิตะและเพ่ือน ๆ ไดใชของวิเศษของโดเรมอนในการสรางประเทศใหมใน โลกอนาคตและไดอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนท เปนเจาหนาท่ีของรัฐ ซูเนะโอะ เปน บริษทั เอกชน สวนชิซกู ะ เปนฝายตรวจสอบ โดเรมอน เปนฝายสนับสนุนในทุก ๆ เรื่อง ในประเทศ ของโลกใหม มีการบริหารกิจการบานเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพ่ือนําไปสราง สาธารณูปโภค ไฟฟา นํา้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรียน เวลาผานไป โนบิตะ กลายเปน นักการเมืองที่ลงทุนทาํ การซื้อเสียง เพื่อใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เม่อื ไดอํานาจรัฐก็ จับมอื กับไจแอน ททเ่ี ปน เจา หนา ทร่ี ัฐออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนะโอะที่เปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการกระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวน ชิชูกะ ทําอะไรสามคนนัน้ ไมไดเ ลย เพราะถกู จํากดั ทงั้ บทบาทและอาํ นาจหนา ที่ ประเด็น จากเนือ้ หาเรื่อง “เร่ืองเลาของโดเรมอ นทย่ี งั ไมเ คยเลา ” หากผูเ รียนเปนโนบิตะซึ่งเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพื่อใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกันไดอ ยางมีความสุข

177 ใบงาน 1. ใหผเู รยี นศึกษากรณีศกึ ษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นตามประเดน็ ท่ีกําหนดให 3. ใหผ สู อนและผเู รยี นรว มกันศึกษาหาขอมลู ประกอบการอภปิ รายหาเหตผุ ล 4. ใหผ ูสอนและผเู รยี นสรุปแนวคดิ ทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกัน 5. ใหผ ูเ รียนรว มทาํ กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื งพรอ มสรุปรายงานผล กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื ง ใหผูเรียนรว มกันจดั ทํากิจกรรม/โครงการในการปองกันและปราบปรามการทุจริตใน ชุมชน พรอมจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผูสอน สอ่ื และแหลงการเรยี นรู - Internet - บทความตาง ๆ - หนงั สือพมิ พ

178 กรณศี กึ ษาเรื่องที่ 3 เรอื่ งเลาของโดเรมอนทย่ี ังไมเ คยเลา ถาพูดถึงการตูนท่ีเปนท่ีรูจักของผูคนมากมายบนโลกนี้ คงไมมีใครท่ีไมรูจักเจาแมว หุนยนตท ชี่ ่อื วา “โดเรมอ น” ซึง่ เปน การต นู ท่ลี ูกของผมชอบมาก ตองดูกอ นนอนทกุ คนื และดวยเหตุนี้ จึงทาํ ใหผมรบั รเู ร่ืองราวของโดเรมอนไปโดยปริยายแบบไมทนั ต้ังตวั กอนนอนในคืนหน่ึงลูกของผมก็ยงั คงดูโดเรมอนเหมอื นเชนเคย ในคืนฝนตกฟารอง โครมคราม ผมหนังอานหนังสือเก่ยี วกับการทุจรติ เชิงนโยบายไปพราง ๆ เพราะเรอ่ื งนก้ี าํ ลังฮติ แตห ูก็ ไดยินเรื่องทก่ี ําลังฉายอยูจับใจความไดคราว ๆ วา โนบิตะไดคะแนนสอบเทากับศูนย คุณครูฝาก กระดาษคําตอบทไ่ี ดคะแนนไปใหคุณแมดู ระหวางเดนิ ทางกลบั บานพรอ มไจแอนท ซูเนโอะ และซิชูกะ โนบติ ะก็มีความคิดวาจะเก็บกระดาษคาํ ถามไปซอนในโลกอนาคต ซ่งึ เพอ่ื น ๆ ทุกคนเห็นดดี วย จึงได ไปปรกึ ษา (เชงิ บังคับ) กับโดเรมอน แลวไฟฟาก็เกิดดับขึ้นมากะทันหันท้ังบาน เม่ือไมมีอะไรดู ลูกก็ อา งวา นอนไมหลับ รบเราใหผ มเลาเรอื่ งโดเรมอนทก่ี ําลังฉายอยกู อนไฟดบั ใหจ บ ผมจึงแตงเร่ืองตอ ไป เลยวา เร่ืองมีอยูวา เม่ือโดเรมอนไดรับคําปรึกษาแกมบังคับก็เสนอใหทุกคนเขาประตูกาลเวลา นั่งไทมแมชชีนไปสูโลกอนาคต ซึ่งเปนดาวดวงหน่ึงท่ีมีสภาพแวดลอมคลายโลก แตกตางตรงไมมี ส่ิงมีชีวิตอยูเลย เม่ือไปถึงทุกคนเกิดความประทับใจ จึงคิดสรางประเทศขึ้นบนโลกใหมนี้ ตางลง ความเหน็ วา หัวใจของการอยรู วมกนั คอื การมหี ลักเกณฑ แมบทท่ีทุกคนตองเคารพเพื่อความสงบสุข ของสังคม ต้ังชื่อหลักเกณฑแมบทนี้วา “รัฐธรรมนูญ” หลักของรัฐธรรมนูญมีอยูไมก่ีประการ แตประการทส่ี ําคัญท่ีสดุ ทีท่ ุกคนจําข้ึนใจ คอื บคุ คลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา และเพ่ือ ไมใหเกิดความสับสนในการสรางโลกใหม โนบิตะรับอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนทเปน เจาหนาที่ของรัฐ ซูเนโอะเปนบริษัทเอกชน สวนซิชูกะเปนฝายตรวจสอบ การสรางประเทศใหมของ ฝา ยตาง ๆ โดเรมอนทําหนา ทส่ี นบั สนุนในทุก ๆ เรื่อง วิธีที่งายและเร็วท่ีสุดก็คือ หยิบของวิเศษออก จากกระเปาหนาทอ ง ครง้ั นกี้ ห็ ยบิ เคร่ืองถา ยสําเนาประชากรออกมา ปรากฏวาท้ังโนบิตะ และเพื่อน ๆ ตางเอารูปสงิ สาราสตั วม าเขา เคร่ืองถายสําเนาประชากร ผลออกมาปรากฏวา สิงสาราสัตวเหลานั้น เมื่อฟกออกจากไขก็เดิน 2 ขา และพดู ไดเ หมือนคน มกี ารขยายเผาพันธุ โดยการใชเครื่องถายสําเนา ประชากร โดเรมอนกําชับทุกคนวาอยาไปยุงกับปุม Reset ท่ีอยูดานหลังของเคร่ือง มิฉะนั้นจะเกิด ความหายนะ ในประเทศของโลกใหมมกี ารบรหิ ารกิจการบา นเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพือ่ นาํ ไปสรางสาธารณปู โภค ไฟฟา นาํ้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรยี น เวลาผา นไปนิสยั ของแตละคนก็เปล่ยี นไป โนบิตะทเ่ี ปน นกั การเมืองก็ลงทุนทําการซื้อเสียง เพ่อื ใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เมือ่ ไดอํานาจรัฐกจ็ บั มือกบั ไจแอน ททีเ่ ปนเจาหนาที่รัฐ

179 ออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนโอะท่ีเปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการ กระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวนซิชูกะทําอะไรสามคนนั้นไมไดเลย เพราะ ถูกจํากดั ทัง้ บทบาทและอาํ นาจหนาท่ี ลูกผมยงั ไมหลบั แทรกคาํ ถามขน้ึ วา “พอครับทําไมเคาไมโ กงกันตรง ๆ เลยละครบั ” “คอื พวกนักการเมอื งพวกนีเ้ คา กลวั ถูกจบั ไดวา ทุจรติ และเคา ยงั มีจติ สํานกึ อยบู า ง” ผมตอบ “แลว พวกไมมีจติ สาํ นกึ ละพอ เปน แบบไหน” “พวกไมมีจิตสํานึกก็พวกเจาหนาที่ของรัฐที่ใชอํานาจหนาท่ีกําหนดหลักเกณฑตาง ๆ เพื่อ เอือ้ ประโยชนใ หแ กต นเองและพรรคพวกโดยไมส นวาประชากรผเู สยี ภาษีเคาจะคิดยังไง” ผมตอบลูก ไปใหคลายสงสยั แลวโลกใบใหมที่โนปตะกับเพื่อน ๆ สรางข้ึนก็มีคนไรจิตสํานึกเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ประชากรเกิดการตอตานและนําไปสูความรุนแรง เพราะทนการกระทําของเจาหนาท่ีท่ีไรจิตสํานึก ไมได โดเรมอนเองทนไมไหวจึงกดปุม Reset เคร่ืองถายสําเนาประชากรแลวทุกอยางก็หายไปใน พริบตา แลวโดเรมอนพาโนบิตะกับเพื่อน ๆ กลับมาในโลกปจจุบัน จากนั้นโนบิตะก็ตัดสินใจนํา กระดาษคาํ ตอบของตนกลบั ไปใหแ มตามครูส่งั “สนุกจังเลยพอ” ผมย้ิมแลวบอกใหลูกเขานอน ลูกหลับไปนานแลว ผมยังไดยินแต เสยี งเลานิทานของตวั เองอยา งแจมชัดในมโนสํานึกในตอนที่วา “บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล เพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องสถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะกระทาํ มไิ ด บุคคลยอ มมสี ิทธิเสมอกันในการรับการศกึ ษา” ประเด็น จากเนื้อหาเรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนท่ยี ังไมเ คยเลา ” หากผูเรียนเปนโนบิตะซึ่งเปน ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพ่ือใหประชากรในประเทศสามารถอยู รว มกนั ไดอยา งมคี วามสุข

180 กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4 เรือ่ ง สายนาํ จบั เท็จ วัตถุประสงค 1. อธิบายคณุ ธรรมในการปฏิบัติงานได 2. วเิ คราะหวิธีการปองกันการทจุ ริตในการปฏิบตั ิงานได 3. มีจติ สาํ นกึ ในการปอ งกันปญหาการทุจริต เนือ้ หาสาระ 1. กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกบั การปฏิบตั ิหนาที่ 2. คณุ ธรรมในการทํางานเพื่อปองกนั หรือหลีกเลี่ยงการทุจรติ กรณีศกึ ษา สายนําจบั หมายถงึ ผูทแี่ จงขอ มูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมีอํานาจ เพื่อ ดําเนินการจับกุมและการมีคดีสายสืบนําจับ...เท็จ หมายถึง ไมมีสายนําจับตัวจริงเปนการสราง หลกั ฐานเท็จขึ้นมาเปนสายสืบ การจายเงินสนิ บนและเงินรางวัลแกผ ูแจงความนําจับ หรือสายนําจับ รวมท้ังเจาหนาท่ีท่ีทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจาหนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมูลคาสิ่งของทจี่ ับกุมได แตถ า หากมีผแู จงความนาํ จบั หรอื สายแจง ความนําจับตอ เจา หนาที่ สายที่ แจงนําจับกจ็ ะไดเ งนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ทีจ่ ะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คาส่ิงของท่จี บั กมุ ไดรวม เปน เงนิ รางวัลที่จะไดเพ่มิ มากขน้ึ เปน 55% (30%+25%) จงึ เปนมลู เหตจุ งู ใจใหจ ัดทาํ หลักฐานใบแจง ความเท็จขึ้นมา โดยอางวามสี ายแจงความไวท ัง้ ๆ ท่ีเปนการจบั กุมตามหนาท่เี ทา น้ัน ประเดน็ จากเน้อื หาเรอื่ ง “สายนําจับเท็จ” ผเู รียนเห็นวา เจาพนักงานผูสรางหลักฐานการนํา จบั เทจ็ ข้ึนมา เพอื่ ผลประโยชนดา นใด และขดตอหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมในดา นใด

181 ใบงาน 1. ใหผ ูเรียนศึกษากรณศี ึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ที่กาํ หนดให 3. ใหผูสอนและผูเรียนรวมกันศกึ ษาหาขอมูลประกอบการอภปิ ราย 4. ใหผ ูส อนและผเู รียนสรปุ แนวคิดทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกนั 5. ใหผ เู รยี นรวมทาํ กิจกรรมการเรยี นรูต อเนื่อง พรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ใหผ ูเรียนทํากิจกรรม/โครงการ นําเสนอแนวทางการปอ งกนั การทุจรติ ในสว นราชการ พรอมจดั ทาํ รายงานเสนอผูส อน สือ่ และแหลงเรียนรู 1. Internet 2. หนงั สือพิมพ/เอกสารวชิ าการ

182 กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4 เร่อื ง “สายนาํ จับ...เท็จ ความนํา สายนําจับ หมายถึง ผูท่ีแจงขอมูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมี อํานาจ เพื่อดาํ เนนิ การจับกุม และการมีคดสี ายสบื นําจับ..เท็จ หมายถงึ ไมมสี ายนาํ จับตวั จรงิ เปนการ สรางหลักฐานเท็จข้นึ มาเปน สายสบื การจายเงนิ สนิ บนและเงนิ รางวัลแกผ ูแจง ความนาํ จบั หรือสายนําจับ รวมท้ังเจาหนาท่ีที่ทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจา หนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30% ของมลู คา สิ่งของที่จบั กมุ ได แตถ า หากมีผูแจงความนําจับหรอื สายแจง ความนําจบั ตอ เจาหนา ที่ สายท่ี แจงความนาํ จบั ก็จะไดเงนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ท่ีจะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คา ส่ิงของทจี่ ับกมุ ได คาํ กลา วหา รองเรียนวา เจาหนา ท่ีจดั ทาํ ใบแจงความนาํ จับทองคําแทง เปนเท็จ ทั้ง ๆ ท่ี เปนการจบั กุมตามอํานาจหนาท่ี มิไดมีสายแจงความนําจับ เพราะเจาหนาท่ีจะไดท้ังเงินสินบนและ รางวัลเพิ่มขึ้นเปนเงิน 55% (30% + 25%) ของมูลคาส่ิงของท่ีจับได โดยในใบแจงความนําจับระบุ รายละเอยี ดวาในเวลา 06.00 น. ของวันท่ี 10 สงิ หาคม 2552 มีสายมาแจงความนําจับตอเจาหนาท่ี ประจําดานชายแดนวาจะมฝี รง่ั นาํ ทองคาํ แทง ผูกมัดดวยผาขาวมาติดกับตัวฝร่ัง รวมทั้งหมด 30 กิโลกรัม ฝรั่งจะน่ังรถยนตแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 จะมาถึงดานชายแดน เวลา 10.00 น.ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 เรามาดกู ันวาสายที่แจงความนําจับทองคําแทงจํานวน 30 กิโลกรัม จะมีตัวตนจริง หรอื ไม มีขอ สังเกตสาํ หรับคดวี า สายท่ีแจงความนําจับจะไมเปดเผยท่ีอยู จะมีเพียง “ลายพิมพ นว้ิ มอื ” เทา นน้ั การสืบคนไมสามารถคนหาเจาของลายนิ้วมือได จึงตองใชพยานแวดลอม หมายถึง พยานหลักฐานท่ีจะหักลางไดวา ไมมีสายนําจับจริง ในหลักฐานใบแจงความนําจับทราบวามี ผูเก่ียวของ คือ ฝร่ังที่ถูกจับกุม คนขับรถแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 ผูโดยสารในรถแท็กซ่ี หวั หนา ควิ แท็กซ่ี เจา หนาทที่ ด่ี าํ เนนิ การตรวจคนจับกุม และเจาหนาท่ีผูรับแจงความนําจับ จากการ สอบปากคาํ บคุ คลดงั กลาวขางตนไดขอเท็จจริงวา ฝรั่งที่ถูกจับช่ือ นายโจ ไดเดินทางโดยรถไฟจาก กรงุ เทพฯ ถึงหาดใหญ เวลา 07.00 ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 แลวจึงไปทีค่ ิวรถแท็กซี่หมายเลข ทะเบยี น 1234 ซ่งึ มีนายดีเปน คนขับรถ นอกจากน้นั ยังมีผูโดยสารน่ังไปดวยอีก 2 คน รวมคนขับกับ ฝรงั่ เปน 4 คน หวั หนาคิวแท็กซใ่ี หก ารวา แท็กซที่ ่คี วิ จะออกตามคิวที่จัดไว เม่ือผูโดยสารเต็มคันก็จะ ออกทนั ที แลวควิ แท็กซ่ีคันตอไปก็จะเขามาจอดรอรับผูโดยสารตอไป จะไมมีการจองรถแท็กซ่ีคันไหน ไวก อน เพราะเปนไปตามลําดับท่ีจัดไว เมื่อสายสืบไปท่ีคิวรถก็ไดสอบถามวา ในวันที่ 10 สิงหาคม 2552 มีใครจองรถแท็กซี่หมายเลขทะเบียน 1234 ไวกอนหรือไม ก็ไมปรากฏวามีการจอง เม่ือขอมูลเปน อยางน้.ี .. ก็หมายความวา กอ นเวลา 7.20 น. ของวนั ท่ี 10 สิงหาคม 2552 ไมมีผูใดทราบไดวา นายโจ

183 จะข้นึ รถแท็กซ่ีคนั ใด หมายเลขทะเบียนใด... การท่สี ายไปแจงความนําจบั ในเวลา 06.00 น. ของวันที่ 10 สงิ หาคม 2552 ไมนา จะเปน ไปไดจงึ เปนขอ พริ ธุ ขอ ท่ีหนึ่งแลว เมื่อรถแทก็ ซี่ หมายเลขทะเบียน 1234 ออกจากอาํ เภอหาดใหญ ถงึ อาํ เภอสะเดา ตอง ผา นการตรวจจากดานชายแดนทุกคนั กอ นเดนิ ทางออกนอกประเทศ คนขับรถและผูโ ดยสารไดล งจากรถ เพอ่ื ใหเ จา หนาทต่ี รวจดวู า มีของผดิ กฎหมายลกั ลอบออกนอกประเทศหรอื ไม เจา หนา ทไี่ ดตรวจภายในรถ และกระโปรงทายรถ แตไ มพ บสิง่ ของผดิ กฎหมาย ขณะทคี่ นขบั รถและผโู ดยสารจะเขา ไปในรถแท็กซี่ บังเอิญทีค่ นขบั รถไปชนที่ตัวของนายโจผูโดยสาร จงึ รูส ึกวา มขี องแข็งท่ีบริเวณลําตัวนายโจ จึงไปแจง ใหเจาหนาท่ีตรวจคนตว นายโจ จึงไดพบทองคําแทงผูกติดมากับตัวนายโจ เจาหนาท่ีจึงไดทําการ จับกุมนายโจ และเจาหนาที่ที่รับแจงความนําจับซ่ึงเปนผูถูกกลาวหายอมทราบขอมูลดีวาจะมี การลักลอบนําทองคําแทงออกนอกประเทศกลับไมอยูในท่ีเกิดเหตุ กลับไปน่ังดื่มกาแฟในที่ทําการ ชัน้ บน ประเดน็ ใหผูเรียนศึกษาเรอ่ื ง “สายนาํ จบั เท็จ” แลว ผูเ รยี นเหน็ วา เจาพนักงานผสู รา งหลกั ฐาน การนําจับเท็จขึ้นมาเพ่อื ผลประโยชนดานใด และขดั ตอหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในดา นใด

184 กรณศี กึ ษาเร่อื งที่ 5 เร่อื ง อะไรอยใู นกลอ งไม วัตถปุ ระสงค 1. ระบุปญหาการทุจริตจากการใชอํานาจหนา ท่ีในทางทไี่ มถูกตอ ง 2. บอกคณุ ธรรมในการปฏิบัตติ น เพอ่ื การปอ งกันการทุจริตได 3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปอ งกันการทุจริต เน้อื หาสาระ 1. ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิในการนาํ สนิ คา เขาประเทศ 2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปองกัน หรอื หลีกเลีย่ งการทุจริต กรณีศึกษา นายเฮียง (นามสมมติ) เปนพอคาผูมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการเมือง ไดพา นักการเมืองและขาราชการช้ันผูใหญ จํานวนประมาณ 12 คน ไปเที่ยงเมืองจีน โดยนายเฮียง เปน ผอู อกคา ใชจายใหท้งั หมด ในวันเดินทางกลบั นายเฮยี ง ไดส ําแดงรายการส่ิงของโดยอา งวาเปนของทผี่ ูเดนิ ทางทั้ง 12 คน นําติดตัวเขา มาแจงวาเปน ไมแ กะสลกั ธรรมดา บรรจุใน 4 ลงั ใหญ เปนวิธีการที่นายเฮียง กระทํา เพอ่ื การลักลอบนาํ สินคามีคา จากเมืองจนี เขาประเทศ และสรางความสนิทสนมคุนเคยและใหส่ิงของ แกเ จาหนาที่ผูตรวจเปน ประจํา คราวนี้นายเฮียง นําส่ิงของมาฝากนายเอ (นามสมมติ) เจาหนาท่ีผูตรวจสินคาและ แจง วา ส่งิ ของเหลานี้เปน ของผูโดยสาร 12 คน ก็เกิดความเกรงใจและยังไดรับของฝากจากนายเฮียง กย็ งิ่ เกรงใจมากขึ้น จึงไดคํานวณและจัดเก็บภาษีเปนเงิน 1,000 บาท นายเฮียงจึงใชใบเสร็จรับเงิน คาภาษีดงั กลา วเปนใบเบิกทาง เพื่อขนสงิ่ ของออกจากลานสนามบิน นายดี (นามสมมติ) ท่ีอยูบริเวณ ดงั กลาวเห็นทา ทางผิดปกตจิ งึ เขาไปสอบถาม นายเฮียงแสดงใบเสร็จรับเงินคาภาษีใหนายดี ตรวจดู แตนายดี เหน็ วาใบเสร็จรับเงินคาภาษีสําหรับส่ิงของ 4 ลังใหญ ทําไมจึงเสียภาษีเพียง 1,000 บาท จึงขอกักของไวตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา 2 ใน 4 ลัง เปน งาชางแกะสลัก สวนอีก 2 ลัง เปน เคร่ืองลายครามโบราณของแทส มัยราชวงศถัง ประเด็น 1. การทาํ หนาทขี่ องนาย เอ เปน การทุจริตจากการใชอ าํ นาจหนาทห่ี รือไม เพราะเหตุใด และมีผลเสียหายอยา งไร 2. การปฏิบัตติ นของ นายดี สอดคลองกบั หลกั คณุ ธรรมใด เพราะอะไร 3. ทานไดร ับประโยชนอะไรบา ง จากกรณศี ึกษาเรอื่ งนี้

185 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศึกษากรณีศึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ ราย ตามประเด็นที่กาํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม 4. ใหผสู อนและผูเ รยี นรวมกนั สรุปแนวคิด ทไ่ี ดจากผลการอภปิ รายกลุม 5. ใหผ ูเรยี นรวมกนั วางแผนและจดั ทาํ กิจกรรมการเรยี นรตู อเน่ือง พรอ มสรปุ รายงานผล กิจกรรมการเรียนรูตอ เนื่อง ผเู รียนรวมกนั จดั ทํากิจกรรม/โครงการ เพ่อื สงเสรมิ การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ พรอ มจดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผสู อน สื่อและแหลง เรยี นรู 1. สือ่ Internet 2. ผรู ู หรือหนว ยงานเกยี่ วกบั ระเบยี บวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการนําสินคาเขาประเทศ

186 กรณศี ึกษาเรื่องที่ 6 เร่อื ง รถปลกู สะระแหน วตั ถุประสงค 1. ระบกุ ารทจุ ริตในการใชตําแหนงหนาที่ 2. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั งิ านในหนาท่เี พื่อการปอ งกันการทจุ ริตได 3. เกดิ จิตสํานึกในการปอ งกันการทุจริต เน้ือหาสาระ 1. การเสยี ภาษีการนาํ สนิ คาเขา ประเทศ 2. คุณธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปอ งกนั หรอื หลีกเลีย่ งการทจุ ริต กรณีศกึ ษา ตามกฎหมายระบุวา ผูที่นําวัตถุดิบเขามาในประเทศเพอื่ ใชผลิตสินคา แลวสงออก ตา งประเทศภายใน 1 ปนับแตว นั ทน่ี าํ วตั ถุดิบเขามา จะสามารถขอรับคนื เงินภาษีนําเขาวัตถุดิบท่ีจายไว ตอนนําวตั ถดุ ิบเขามา เร่ืองมีอยูวา มีผูประกอบธุรกิจรายหนึ่งไดยื่นขอรับคืนเงินภาษีนําเขาวัตถดุ ิบ รวม 6,400,000 บาท ตอหนวยงานราชการที่ไดเก็บภาษีนําเขาวัตถุดิบ โดยจัดทําหลักฐานวาไดสง สนิ คาออกนอกประเทศ น่ันคือ ใบขนสินคาขาออก จํานวน 8 ฉบับ ใบขนสินคาขาออกไดระบวุ ันท่ี ขนสนิ คา ออกและหมายเลขทะเบียนรถบรรทุกท่ีขนสนิ คา ออกนอกประเทศ ซ่ึงผานดา นชายแดนทาง ภาคใตท่ีอยูติดกับประเทศมาเลเซียโดยผานดานชายแดน - ดานในเวลา 15.00 น. และผานดาน ชายแดน - ดานนอก เวลา 13.00 น. ในวันเดียวกนั โดยมีเจา หนาท่ีดา นชายแดนท้งั ดา นในและดานนอก ตรวจสนิ คาและลงชือ่ กาํ กับไวในใบขนสนิ คาขาออก จากการสืบหาขอมูลและหลักฐาน พบวา ไมมีการใชรถบรรทุกรับจางขนสินคาให ผูประกอบธุรกจิ รายน้ี และจากการดูรถที่มีหมายเลขทะเบียนตรงกับรถบรรทุกท่ีระบุในใบขนสินคา ขาออกหรือไม ปรากฏวา เปน รถทมี่ ีหมายเลขทะเบียนตรงกัน แตสภาพความเปนจริง คือ มีตนไมเลื้อย เตม็ ไปหมด ไมสามารถขับเคล่ือนไดแลว จึงเรียกวา “รถปลูกสะระแหน” น่ีเปนที่มาของการจัดทํา เอกสารใบขนสนิ คาขาออกอันเปนเท็จ โดยนําทะเบยี นรถทไ่ี มไ ดใ ชแ ลวมาระบใุ นใบขนสนิ คา ขาออก เม่ือไปถึงดานชายแดน - มาเลเซีย สภาพแวดลอมของดานที่นี่มีองคประกอบหลัก คลายกับดานชายแดนท่ัวไป คือ มีอาคารที่ทําการ มี “ดานใน” คือ ดานท่ีตรวจรถยนตทุกคันที่จะ เดินทางออกนอกประเทศ ถาเปนรถบรรทุกสินคาจะตองดําเนินพิธีการ โดยผูประกอบธุรกิจท่ีจะ ขนสนิ คาออกจะตอ งยืน่ เอกสารใบขนสินคาขาออก โดยมีรายละเอียดหลกั คือ ระบุสินคา หมายเลข ทะเบยี นรถ เจาหนา ท่ที ด่ี านชายแดนจะทําการตรวจสมุ สนิ คาและตรวจสอบหมายเลขทะเบียนรถวา ตรงตามใบขนสินคาขาออกหรือไม ถาถูกตองเจาหนาท่ีจะลงช่ือผานการตรวจพรอมลงวัน เดือน ป

187 เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก เมื่อผานดานน้แี ลวรถจะแลนออกไปที่ชายแดน ซึ่งมีระยะทางหางออกไป ประมาณ 200 - 300 เมตร จะมอี กี ตําแหนง เรยี กวา “ดานนอก” เจาหนาที่ประจาํ ดานนอกจะตรวจ ใบขนสินคาขาออกวาถูกตองหรือไม เจาหนาท่ีดานในไดลงชื่อผานการตรวจมาแลวหรือไม เม่อื ตรวจสอบแลว เจา หนา ที่ประจําดา นนอกจะลงชอ่ื ผานการตรวจและลงวนั เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก อกี ครงั้ หนง่ึ จากน้นั รถจึงแลน ออกจากประเทศไทยไปยังดานชายแดนของประเทศมาเลเซีย จากการตรวจสถานที่พบวา จากดานนอกของไทยไปยังดานชายแดนของประเทศ มาเลเซียจะมีถนนเพียงเสนเดียวแลนตรงไปที่ดานชายแดนประเทศมาเลเซีย โดยทั้งสองจุดนี้มี ระยะหางประมาณ 500 เมตร ตามปกตคิ วรจะใชเวลาแลน นานสกั เทาไร นอกจากนั้นเจาหนาท่ีดานในและดานนอกยืนยันวาเปนลายมือช่ือของตนจริง โดยมี เวลาผานดา นใน เวลา 15.00 น. แตเวลาผานดานนอกลงเวลา 13.00 น. ในใบขนสินคาขาออก ซึ่ง เปน หลักฐานเท็จท่ที าํ ขึน้ อยางลวก ๆ ประเด็น 1. การกระทาํ ของเจา หนา ที่ดานชายแดนกระทําการทุจรติ หรอื ไม และมผี ลกระทบให เกิดความเสยี หายอยางไร 2. จากกรณีศกึ ษาทานคดิ วาเจา หนา ที่ดานชายแดนควรใชหลักธรรมใดในการดํารงชีวิต เพราะอะไร 3. จากการศกึ ษาตามกรณศี ึกษาทา นไดประโยชนอะไรบา ง

188 ใบงาน 1. ใหผูเรยี นศกึ ษากรณศี ึกษา 2. แบง กลุมผเู รียนอภปิ รายตามประเดน็ ท่กี าํ หนด 3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลการอภปิ รายกลมุ 4. ใหผ ูส อนและผูเรยี นรว มกนั สรปุ แนวคดิ ท่ีไดจากผลการอภปิ รายกลมุ 5. ใหผูเรียนวางแผนและจดั ทาํ กจิ กรรมการเรยี นรตู อเนื่องพรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองปราบการทุจริตพรอม จดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผูส อน สือ่ และแหลง เรียนรู 1. สอื่ Internet 2. ผรู ู หรอื หนวยงานเกีย่ วกบั ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการจดั เกบ็ ภาษีสินคา เขาประเทศ

189 บรรณานกุ รม การทุจริตคอื อะไร, เขาถึง www.oknation.net วันที่ 19 มีนาคม 2556. การศาสนา, กรม. เอกสารเผยแพรเก่ียวกับองคการศาสนาตาง ๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก รมการ ศาสนา, มปพ. การศกึ ษานอกโรงเรยี น,กรม. ชุดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : เอกพมิ พไทย จํากัด, มปพ. ____________________ชุดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : เอกพิมพไ ทย จาํ กัด, มปพ. จม่ืนอรดรณุ ารกั ษ (แจม สุนทรเวช). พระราชประเพณี (ตอน 3). กรงุ เทพฯ : องคการการคา ของ คุรสุ ภา, 2514. จักราวธุ คาทว.ี สันติ/สามัคค/ี ปรองดอง/คา นยิ ม 12 ประการ ของ คสช. : เนื้อหาชวยสอน และ จัดกจิ กรรมเพอื่ นคร,ู 2557. (เอกสารอดั สาเนา). ชุลีพร สุสวุ รรณ และสุทธิราภรณ บริสุทธ์ิ. ความรูรอบตัวขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท พิ ยส ทิ ธิ์, 2544. เดอื น คาํ ดี. ศาสนาเบอ้ื งตน . กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2531. มหามกฎุ ราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ. พระสูตรและอรรถกถาแปลงทุกขกนิกายชาดก เลมท่ี 3 ภาคท่ี 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม หามกฎุ ราชวทิ ยาลัยฒ 2534.

190 ทองสืบ ศุภมารค. พระพทุ ธศาสนาในกัมพูชา. กรุงเทพฯ : สภาวิจยั แหงชาต,ิ 2544. ประยูรศกั ดิ์ ชลายนเดชะ. มุสลิมในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ ร้ินต้ิงกรฟุ จํากัด, 2531. ____________________มุสลิมในประเทศไทย. คร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : โครงการหอสมุดกลาง อสิ ลาม, 2546 บรรเทิง พานจิตร. ประเพณี วฒั นธรรมไทยและคติความเชื่อ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร. 2549. ราชกจิ จานเุ บกษา เลมท่ี 127 ตอนที่ 69 ก. ประกาศวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2553. พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2553. วศนิ อสิ ทสระ. พุทธโอวาทกอนปรินิพพาน. ครง้ั ที่ 4 กรงุ เทพฯ : ศลิ ปะสยามบรรจุภัณฑและ การ พิมพ จาํ กดั , 2548. สมโพธิ ผลเต็ม (น.อ.) ปรชั ญาคมคาํ กลอน 100 เรือ่ งแรก. กรงุ เทพฯ : ทรงสริ วิ รรณ จํากัด, 2545. สชุ ีพ ปญุ ญานภุ าพ. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2534. สาํ นกั กฎหมาย สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.). รวมกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต, 2555. _______. “ยทุ ธศาสตรชาติวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ”. สาํ นกั งาน คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ. _______. กรอบเนือ้ หาสาระ เรอื่ ง การมสี วนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปราม

191 การทุจรติ , 2556. เอกสารอดั สาํ เนา สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.). รวมพลังเดนิ หนาฝาวกิ ฤตคอรรปั ชัน, เอกสารประชาสัมพนั ธ มปป. _______. โครงการเสริมสรางเครือขา ยประชาชนในการพทิ กั ษสาธารณสมบตั ิ, 2553 (เอกสาร อดั สาํ เนา) เวบ็ ไซต http://www.k-tc.co.th/festival.php สบื คนเม่อื วันท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.larnbuddhism.com/grammathan/promvihan.html เรื่อง “พรหมวิหาร 4” สบื คนเม่อื วนั ท่ี 2 มีนาคม 2553. เวบ็ ไซต http://www.th.wikipedia.org/wiki เรื่อง “ประวตั พิ ทุ ธศาสนา” จากวิกิพเี ดีย สารานุกรม เสรี สืบคนเม่ือวันท่ี 3 มนี าคม 2553 เว็บไซต http://www.wlc2chaina.com/about_china.html บทความเรื่องประเพณี วัฒนธรรมจีน สืบคนเมือ่ วนั ท่ี 3 มีนาคม 2553. เว็บไซต http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/16041010/chapter1/Lesson1.htm#13 รวม บทความของพงศเ พ็ญ ศกุนตาภยั . เรื่องรฐั ธรรมนญู และการปกครอง. กรงุ เทพฯ : โรง พมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สืบคน เม่ือวันที่ 3 มนี าคม 2553 เว็บไซต http://www.riis3.royin.go.th/dictionary.asp สบื คน เม่ือวันท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2553. เวบ็ ไซต http://www.gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 บทความของนายนพ นธิ ิ สรุ ิยะ เรื่อง “วิวัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ตอนที่ 2” สืบคนเมื่อวันท่ี 3 มนี าคม 2553.