Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล

Published by ภูวนัย ปราบมีชัย, 2021-05-26 07:38:57

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล

Search

Read the Text Version

3 บทท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกีย่ วกบั ยุคดจิ ทิ ัล ปัจจุบันกลุ่มคนที่เกิดและเติบโตในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลเรียกว่า Digital native ซ่ึงเด็กและ เยาวชนเกย่ี วขอ้ งกับสงิ่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นดิจิทลั ด้วยรูปแบบและชอ่ งทางที่แสนง่ายดายในทุกท่ีและทุกเวลา ที่ตอ้ งการ ตัวอยา่ งการมสี ว่ นร่วมแบบออนไลน์ อาทิเช่น Social networking Instant-massing (IM) Video-streaming การแชรภ์ าพ และการใช้อินเทอรเ์ น็ตแบบเคลื่อนที่ การแนะนาเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตจะไม่ใช่เรื่องจาเป็นสาหรับเด็กและ เยาวชนยุคดจิ ิทัล เพราะพวกเขาสามารถพัฒนาทักษะเก่ียวกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว เม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มคนท่ีมีอายุมากกว่า แต่ทว่าการใช้งานท่ีปราศจากคาแนะนาก็ทาให้พวกเค้า ยังคงเป็นเพียงผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมือสมัครเล่น ซึ่งอาจนาไปสู่ข้อกังวลและ ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ ความรู้ในเรื่องดังกล่าวแก่เด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนจาเป็นต้องพัฒนาความรู้ การคิดเชิง วเิ คราะห์ รวมถงึ ทกั ษะการส่ือสารและการจัดการสารสนเทศสาหรบั ยุคดิจิทัล 1. ความหมายการร้ดู จิ ิทัล การรู้ดจิ ิทลั (Digital Literacy) คอื การผนวกกันของทักษะความรู้และความเข้าใจที่ผู้เรียน ต้องเรียนรู้เพื่อที่จะมีส่วนร่วมอย่างเต็มท่ีและมีความปลอดภัยในโลกยุคดิจิทัลมากข้ึน ทักษะความรู้ และความเข้าใจน้ีเป็นกุญแจสาคัญของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทั้งระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา และควรจะผสานให้อยู่ในการเรียนการสอนของทุกรายวิชาทุกระดับช้ัน นอกจากนี้ยัง เกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถและทกั ษะของบคุ คลในการเข้าถึงดิจิทัล ประเมินคุณภาพของดิจิทัล และใชด้ ิจิทัลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพทุกรูปแบบ ผู้รู้ดิจิทัลจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิด วิเคราะหแ์ ละ/หรอื การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ ทักษะการใชภ้ าษา ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี Digital literacy หมายถึงทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยเป็น ทักษะในการนาเครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ท่มี อี ยใู่ นปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การ ปฏิบตั งิ าน และการทางานรว่ มกัน หรือใช้เพ่อื พฒั นากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กรให้มี ความทันสมัยและมีประสทิ ธิภาพ 9042113 คอมพิวเตอรแ์ ละการรเู้ ทา่ ทนั ในยคุ ดิจิทลั

4 ทักษะดังกล่าวครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ ได้แก่ การใช้ (Use) เข้าใจ (Understand) การสร้าง (create) และเข้าถึง (Access) เทคโนโลยดี ิจิทัลได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ีคาที่แสดงลักษณะความรู้สามารถดิจิทัลคือ รู้ใช้ รู้เข้าใจ รู้สร้างสรรค์ ซึ่งถือเป็น ความสามารถสาหรบั การรูด้ จิ ทิ ลั โดยมีรายละเอียดดังน้ี ใช้ (Use) แสดงถึงความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จาเป็นในการใช้กับคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตชุดรูปแบบพ้ืนฐานสาหรับการพัฒนาทักษะทางเทคนิคที่จาเป็น รวมถึงความสามารถใน การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคา เวบ็ เบราเซอร์E-mail และการสื่อสารอ่ืนๆ เครอ่ื งมอื คน้ หาและฐานข้อมลู ออนไลน์ เขา้ ใจ (Understand) คอื ความสามารถท่ีจะเข้าใจบริบทที่เก่ียวข้อง และประเมินสื่อดิจิทัล ตระหนักถึงความสาคญั ของการประเมนิ ผลทส่ี าคัญในการทาความเข้าใจดจิ ิทลั เนื้อหาของสื่อ และการ ประยุกต์ใช้สามารถสะท้อนให้เห็นถึงรูปร่างการเพิ่มหรือจัดการกับความรู้สึ กความเชื่อของเราและ ความรู้สึกเกี่ยวกับโลกรอบตัวเราความเข้าใจความสาคัญของสื่อดิจิทัลท่ีช่วยให้บุคคลเก็บเก่ียว ผลประโยชน์และลดความเส่ียง การมีส่วนร่วมในสังคมเต็มรูปแบบดิจิทัล ทักษะชุดนี้ยังรวมถึงการ พัฒนาทักษะการจัดกาสารสนเทศและการแข็งค่าของสิทธิคนและความรับผิ ดชอบในการไปถึง ทรัพย์สินทางปัญญา ในเศรษฐกิจความรู้ ชาวแคนาดาจาเป็นต้องรู้วิธีการหาประเมินผลและมี ประสิทธภิ าพใช้ข้อมูลเพ่ือการสื่อสารการทางานรว่ มกันและแก้ปัญหาในชีวิตส่วนตัวและเป็นมืออาชีพ ของพวกเขา สร้างสรรค์ (Create) ความสามารถในการสร้างเนื้อหาและมีประสิทธิภาพ การติดต่อ สื่อสารโดยใช้ความหลากหลายของส่ือดิจิทัลเป็นเครื่องมือ การสร้างสื่อดิจิทัลมีความหมายมากกว่า ความสามารถในการใช้โปรแกรมประมวลผลหรือเขียนอีเมล์ รวมถึงความสามารถในการปรับ การสื่อสารกับสถานการณ์และผู้รับสารการสร้างและติดต่อสื่อสารโดยใช้ส่ือผสม เช่น ภาพวีดิโอและ เสียงประกอบอย่างมีประสิทธิภาพและมีความรับผิดชอบ ประกอบกับเน้ือหาเว็บไซต์ที่ผู้เรียนสร้าง เช่นบล็อกและเวทีสนทนา วีดิโอและภาพถ่ายร่วมกัน เล่นเกมทางสังคม และรูปแบบอื่นๆ ของสื่อ สังคม แนวคิดนี้ยังตระหนักถึงสิ่งที่เป็นความรู้ในโลกดิจิทัลที่ไม่เพียงแต่สร้างความชานาญทางด้าน เทคโนโลยีเท่านั้น แต่ยังคานึงถึงจริยธรรม การปฏิบัติทางสังคมและการสะท้อนสิ่งท่ีฝังอยู่ในการ เรียนรู้ การใช้เวลาว่าง และการใชช้ วี ติ ประจาวัน ภายใต้การรู้ดิจิทัล คือความหลากหลายของทักษะต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กันซึ่งทักษะ เหล่าน้ันอยู่ภายใต้การรู้สื่อ (Media literacy) การรู้เทคโนโลยี (Technology literacy) การรู้ สารสนเทศ (Information literacy) การรู้เก่ียวกับส่ิงที่เห็น (Visual literacy) การรู้การสื่อสาร (Communication literacy) และการรสู้ ังคม (Social literacy) 9042113 คอมพิวเตอร์และการรู้เท่าทันในยคุ ดิจิทัล

5 การรสู้ อื่ (Media Literacy) การรสู้ ือ่ สะทอ้ นความสามารถของผู้เรียนเกี่ยวกับการเข้าถึง การวิเคราะห์ และการผลิตส่ือ ผ่านความเข้าใจและการตระหนักเกี่ยวกับ 1.ศิลปะ ความหมาย และการส่งข้อความในรูปแบบต่างๆ 2.ผลกระทบและอทิ ธพิ ลของสื่อมวลชนและวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยม 3. ส่ือข้อความถูกสร้างข้ึนอย่างไร และทาไมถึงถกู ผลติ ข้ึน และ 4.สอ่ื สามารถใชใ้ นการสือ่ สารความคิดของเราเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไดอ้ ย่างไร การร้เู ทคโนโลยี (Technology literacy) 9042113 คอมพวิ เตอรแ์ ละการรู้เทา่ ทนั ในยุคดิจทิ ัล

6 ความชานาญในเทคโนโลยีส่วนใหญ่มักจะเก่ียวข้องกับความรู้ดิจิทัล ซ่ึงครอบคลุม จากทักษะคอมพิวเตอร์ข้ันพ้ืนฐานสู่ทักษะที่ซับซ้อนมากขึ้น เช่นการแก้ไขภาพยนตร์ดิจิทัลหรือ การเขียนรหสั คอมพิวเตอร์ การร้สู ารสนเทศ (Information literacy) การรู้สารสนเทศเป็นอีกสิ่งท่ีสาคัญของการรู้ดิจิทัลซ่ึงครอบคลุมความสามารถในการ ประเมินว่าสารสนเทศใดท่ีผู้เรียนต้องการ การรู้วิธีการท่ีจะค้นหาสารสนเทศท่ีต้องกาแบบรออนไลน์ และการรกู้ ารประเมินและการใช้สารสนเทศที่สบื ค้นได้ การรู้สารสนเทศถูกพัฒนาเพ่ือการใช้ห้องสมุด มันยังสามารถเขา้ ไดด้ ีกับยุคดิจิทัลซ่ึงเป็นยุคท่ีมีข้อมูลสารสนเทศออนไลน์มหาศาลซ่ึงไม่ได้มีการกรอง ดงั น้นั การรู้วธิ ีการคดิ วิเคราะห์เก่ยี วกบั แหล่งทีม่ าและเนอ้ื หานับเปน็ สง่ิ จาเป็น 9042113 คอมพิวเตอรแ์ ละการรเู้ ทา่ ทันในยุคดิจทิ ัล

7 การรู้เกี่ยวกบั ส่งิ ทเ่ี ห็น (Visual literacy) การรู้เก่ียวกับสิ่งท่ีเห็นสะท้อนความสามารถของของผู้เรียนเกี่ยวกับความเข้าใจ การแปล ความหมายสง่ิ ทเ่ี ห็น การวิเคราะห์ การเรยี นรู้ การแสดงความคิดเห็น และความสามารถในการใช้ส่ิงที่ เห็นน้นั ในการทางานและการดารงชวี ิตประจาวันของตนเองได้ รวมถงึ การผลติ ขอ้ ความภาพไมว่ า่ จะผ่านวัตถุ การกระทา หรือสัญลักษณ์ การรู้เก่ียวกับส่ิงท่ีเห็นเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับการเรียนรู้และ การสือ่ สารในสังคมสมยั ใหม่ การรกู้ ารสอ่ื สาร (Communication literacy) 9042113 คอมพิวเตอร์และการรู้เท่าทนั ในยคุ ดิจิทัล

8 การรู้การส่ือสารเป็นรากฐานสาหรับการคิด การจัดการ และการเช่ือมต่อกับคนอื่นๆ ใน สังคมเครือข่าย ทกุ วนั นเ้ี ด็กและเยาวชนไม่เพียงจาเป็นตอ้ งเขา้ ใจการบูรณาการความรู้จากแหล่งต่างๆ เช่น เพลง วิดีโอ ฐานข้อมูลออนไลน์ และส่ืออ่ืนๆ พวกเค้ายังจาเป็นต้องรู้วิธีการใช้แหล่งสารสนเทศ เหลา่ น้นั เพอ่ื เผยแพร่และแลกเปลย่ี นความรู้ การรสู้ ังคม (Social literacy) การรู้สังคมหมายถึงวัฒนธรรมแบบการมีส่วนร่วม ซ่ึงถูกพัฒนาผ่านความร่วมมือและ เครือข่าย เยาวชนตอ้ งการทกั ษะสาหรับการทางานภายในเครอื ขา่ ยทางสังคม เพ่ือการรวบรวมความรู้ การเจรจาข้ามวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ ง และการผสานความขัดแยง้ ของข้อมลู 2. ความสาคัญของการรู้ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีให้โอกาสในการมีส่วนร่วมของการเรียนรู้ ชุมชน สังคม และกิจกรรมการทางาน ทุกคนจะต้องมีความรูด้ จิ ทิ ัลเพ่อื ใชป้ ระโยชน์สงู สดุ ดงั น้ี 1. ดา้ นการศกึ ษา การรู้ดิจิทัลเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการศึกษาของบุคคลทุกระดับ ท้ังการศึกษาในระบบ โรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ การศกึ ษาในปจั จบุ นั ที่ มกี ารปฏิรูปการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ดังนั้นบทบาทของผู้สอน จึงเปลี่ยนเป็นผู้ให้คาแนะนาชี้แนะโดยอาศัยทรัพยากรเป็นพ้ืนฐานสาคัญ รวมไปถึงทรัพยากรทาง เทคโนโลยดี ว้ ย 9042113 คอมพิวเตอรแ์ ละการรเู้ ทา่ ทนั ในยคุ ดิจทิ ัล

9 2. ดา้ นการดารงชวี ติ ประจาวนั การรู้ดิจิทัลเป็นสิ่งสาคัญย่ิงในการดารงชีวิตประจาวัน เพราะผู้รู้ดิจิทัลจะเป็นผู้ที่สามารถ วิเคราะห์ประเมินและใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง เม่ือต้องการ ตัดสินใจเรื่องใดเร่ืองหนงึ่ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ก็สามารถใช้ความรู้จากการรู้ดิจิทัลเข้ามาช่วยในการ หาข้อมูล แล้วจงึ คอ่ ยตัดสินใจ เป็นตน้ 3. ดา้ นการประกอบอาชีพ การรู้ดิจิทัลมีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพของบุคคล เพราะสามารถแสวงหาดิจิทัล เพ่ือเป็นตัวช่วยด้านสารสนเทศ ท่ีมีความจาเป็นต่อการประกอบอาชีพของตนเองได้ เช่น เกษตรกร เม่ือประสบปัญหาโรคระบาดกบั พชื ผลทางการเกษตรของตน สามารถใช้ความรู้ด้านการรู้ดิจิทัลเข้ามา ช่วยในการหาตวั ยาหรือสารเคมเี พอื่ มากาจัดโรคระบาด ดังกลา่ วได้ เป็นต้น 4. ดา้ นสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื ง การรู้ดิจิทัลเป็นส่ิงสาคัญโดยเฉพาะสังคมในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคคลจาเป็นต้องรู้ ดิจิทัล รู้สารสนเทศเพ่ือปรับตนเองให้เข้ากับสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เช่น การอยู่ร่วมกันใน สงั คม การบรหิ ารจัดการ การดาเนนิ ธุรกิจและการแขง่ ขัน การบริหารบ้านเมืองของผู้นาประเทศ เป็น ต้น การรู้ดิจิทัลจะทาให้ก้าวหน้ามากกว่าผู้อ่ืนหนึ่งก้าวเสมออาจกล่าวได้ว่าผู้รู้ดิจิทัล คือ ผู้ท่ีมี อานาจ สามารถาชี้วัดความสามารถขององค์กรหรือประเทศชาติได้ ดังน้ันประชากรท่ีเป็นผู้รู้ดิจิทัล จึงถือว่าเป็นทรพั ยากรท่มี คี ่ามากที่สุดของประเทศ 3. ผลกระทบของการรูด้ ิจทิ ัล การรดู้ ิจทิ ลั มีความสาคัญมาก ในยคุ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะมีการนามาประยุกต์อยู่ใน ทกุ ดา้ น ตลอดจนชวี ติ ประจาวัน จงึ สง่ ผลกระทบหลายดา้ น ทัง้ ดา้ นการเรยี น ด้านสังคม ด้านเมืองการ ปกครอง การประกอบอาชีพ เพราะทุกด้านล้วนแล้วแตใ่ ชเ้ ทคโนโลยีเข้ามา ช่วยเพ่ิมโอกาสและการใช้ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนีย้ ังชว่ ยให้ออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั หากแต่ละบุคคลมีความสามารถในการตัดสินใจ ท่ีเหมาะสมและมีข้อมูลเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีที่จะส่งผลกระทบ ต่อการศึกษาตลอดชีวิต รวมถึง ชีวิตการทางานในอนาคตดว้ ย หากขาดทกั ษะการรดู้ ิจทิ ัล อาจจะสง่ ผล กระทบ ดงั น้ี -โอกาสหรอื ขอบเขตทางการศึกษาแคบลง -โอกาสในการประกอบอาชีพที่ดีลดน้อยลง -พัฒนาศกั ยภาพของตนเองได้ไม่เต็มที่ เน่ืองจากไม่มีการติดตามข้อมูลขา่ วสารที่ทนั สมัย 9042113 คอมพวิ เตอร์และการรเู้ ทา่ ทนั ในยุคดิจิทลั

10 -อาจเกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี เน่ืองจากความรู้เท่าไม่ถึงกาล และขาด ทักษะการรดู้ จิ ทิ ลั จนส่งผล กระทบไปในทางท่ีไม่ดไี ด้ 4. ทกั ษะสาคญั ในการรดู้ ิจทิ ลั ในยุคแห่งการแข่งขันทางสังคมค่อนข้างสูงในปัจจุบันส่งผลต่อการปรับตัวให้ทัดเทียมและ เท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในบริบททางสังคมในทุกมิติรอบด้าน ดังน้ันการเสริมสร้างองค์ ความรู้ (Content Knowledge) ทักษะเฉพาะทาง (Specific Skills) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Expertise) และสมรรถนะของการรู้เท่าทัน (Literacy) จึงเป็นตัวแปรสาคัญท่ีต้องเกิดข้ึนกับตัว ผเู้ รยี นในการเรียนรู้ยคุ สงั คมแห่งการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 นีไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะ 3R4C ประกอบด้วย 3R ได้แก่ Reading (อา่ นออก) ความสามารถด้านภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพ่ือรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสาคัญ ประเมินสิ่งท่ีอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันและการอยู่ร่วมกันในสังคม ใช้การอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต และสื่อสาร เปน็ ภาษาเขยี นได้ถกู ตอ้ งตามหลักการใชภ้ าษาและอยา่ งสร้างสรรค์ 1. ความสามารถในการอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเข้าใจ การสรุปสาระสาคัญ การวิเคราะห์ และการประเมนิ ได้ 2. รู้ หมายถึง ความสามารถบอกความหมาย เรือ่ งราว ขอ้ เทจ็ จริง และเหตกุ ารณต์ ่างๆ 3. เข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการแปลความ ตีความ ขยายความ และสรปุ อ้างองิ 4. สรุปสาระสาคัญ หมายถึง ความสามารถในการสรุปใจความสาคัญของเนื้อเรื่องได้อย่าง สั้น ๆ กระชบั และครอบคลุม 5. วิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราว ข้อเท็จจริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณคา่ และส่วนประกอบอื่น ๆ 6. ประเมิน หมายถึง ความสามารถในการตัดสนิ ความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คณุ ค่า ตามเกณฑท์ ี่กาหนด 9042113 คอมพวิ เตอร์และการรูเ้ ทา่ ทันในยคุ ดิจทิ ัล

11 (W)Riting (เขยี นได)้ ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกับการเขียน การเขียนเป็นการส่ือสารด้วยอักษร ถ่ายทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณข์ องผูเ้ ขียนไปสูผ่ อู้ ่าน ทักษะการเขียนเป็นทักษะท่ีเป็นท้ังศิลป์และศาสตร์ กล่าวคือ การ เขียนต้องใช้ภาษาท่ีไพเราะประณีต สื่อได้ทั้งอารมณ์ ความคิด ความรู้ ต้องใช้ศิลปะ ท่ีกล่าวว่าเป็น ศาสตรเ์ พราะการเขยี นทุกชนดิ ต้องประกอบดว้ ยความรู้ หลกั การและวธิ กี าร การเขียนมีความสาคัญสาหรับมนุษย์ ย่ิงโลกในปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าไปอย่าง รวดเร็ว การเขียนย่ิงทวีความสาคัญมากขึ้นตามไปด้วยซ่ึงสามารถสรุปความสาคัญของการเขียนได้ ดงั นี้ 1. การเขียนเปน็ การส่ือสารอยา่ งหน่ึง 2. การเขียนเปน็ การแสดงออกซึ่งภมู ปิ ญั ญาของมนุษย์ 3. การเขียนเป็นเคร่ืองมือถ่ายทอดมรดกทางสตปิ ัญญา 4. การเขียนเป็นเคร่ืองมือสร้างความสามัคคีและความเจริญรุ่งเรือง ในทางตรงกันข้ามก็ใช้ เป็นเครือ่ งบ่อนทาลายไดเ้ ช่นกนั การเขียนจะบรรลุผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่นั้น ส่ิงสาคัญอย่างหนึ่ง คือ การเขียนต้องมี จดุ มุ่งหมายซง่ึ สามารถจาแนกได้ดงั น้ี 1. การเขียนเพื่อการเล่าเร่ือง > เป็นการนาเรื่องราวที่สาคัญมาถ่ายทอดเป็นข้อเขียน เช่น การเขียนเลา่ ประวัติ 2. การเขียนเพื่ออธิบาย > เป็นการเขียนเพื่อชี้แจงอธิบายวิธีใช้ วิธีทา ข้ันตอนการทา เช่น อธิบายการใชเ้ ครอ่ื งมอื ตา่ งๆ 3. การเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น > เป็นการเขียนเพ่ือวิเคราะห์ วิจารณ์ แนะนา หรือ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรอื่ งใดเรอื่ งหนึ่ง 4. การเขียนเพ่ือโน้มน้าวใจ > เป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์ที่จะชักจูง โน้มน้าวใจให้ ผอู้ ่านยอมรบั ในสง่ิ ที่ผเู้ ขยี นเสนอ 5. การเขียนเพื่อกิจธุระ > เป็นการเขียนท่ีผู้เขียนมีจุดประสงค์อย่างใดอย่างหน่ึง การเขียน ชนดิ น้ีจะมรี ปู แบบการเขียนและลักษณะการใช้ภาษาท่ีแตกต่างกันไปตามประเภทของการเขียน (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น) ความสามารถในการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใน ชีวิตประจาวัน ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การ สอ่ื สาร การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้และการมีความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ 9042113 คอมพวิ เตอรแ์ ละการรเู้ ท่าทันในยคุ ดจิ ทิ ัล

12 คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจาวัน หมาย ถึงการนาความรู้ เน้ือหา หลักการทางคณิตศาสตร์ ใน ระดับท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน ไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับผู้เรียน หรือใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ เหตุการณ์ใกล้ตัวท่ีสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจาวันท่ัวไป ทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ ว่าจะเกิดขึ้นทุกวันหรือนาน ๆ ครั้ง ท้ังท่ีเก่ียวข้องกับเราโดยตรงหรือโดยอ้อม ล้วนแต่สามารถโยง ให้เข้ากบั คณติ ศาสตรไ์ ด้ทัง้ ส้นิ 4C ได้แก่ Critical Thinking การคิดวเิ คราะห์ การเรียนรทู้ ักษะการคดิ วิเคราะห์ ควรมีเป้าหมายและวธิ กี ารดังตอ่ ไปน้ี เป้าหมาย : สามารถใช้เหตผุ ล คิดได้อย่างเป็นเหตุเป็นผลหลากหลายแบบ ได้แก่ คิดแบบอุปนัย (inductive) คิด แบบอนมุ าน (deductive) เป็นตน้ แลว้ แตส่ ถานการณ์ เป้าหมาย : สามารถใชก้ ารคดิ กระบวนระบบ (systems thinking) วเิ คราะหไ์ ดว้ ่าปจั จยั ย่อยมีปฏสิ ัมพันธ์กนั อยา่ งไร จนเกดิ ผลในภาพรวมเปา้ หมาย วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ข้อมูลหลักฐาน การโตแ้ ยง้ การกลา่ วอา้ งและความเชื่อ วิเคราะห์เปรียบเทียบและประเมนิ ความเหน็ หลัก ๆ สงั เคราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงระหวา่ งสารสนเทศกับข้อโตแ้ ย้ง แปลความหมายของสารสนเทศและสรปุ บนฐานของการวเิ คราะห์ ตีความและทบทวนอยา่ งจริงจัง (critical reflection) ในดา้ นการเรียนรู้ และกระบวนการ เปา้ หมาย : สามารถแก้ปญั หาได้ ฝึกแก้ปัญหาท่ีไม่คุ้นเคยหลากหลายแบบ ท้ังโดยแนวทางที่ยอมรับกันท่ัวไป และแนวทางท่ี แหวกแนว ตั้งคาถามสาคญั ทีช่ ว่ ยทาความกระจา่ งใหแ้ ก่มุมมองต่าง ๆ เพอ่ื นาไปสทู่ างออกทีด่ กี ว่า การเรียนทกั ษะเหล่านที้ าโดย PBL (Project-Based Learning) Communication การสอ่ื สาร การออกแบบการเรียนร้ทู กั ษะการสื่อสาร ควรมเี ป้าหมายและวิธกี ารดงั ตอ่ ไปนี้ เป้าหมาย : ทักษะในการสอ่ื สารอยา่ งชัดเจน เรยี บเรยี งความคดิ และมุมมอง (idea) ได้เป็นอย่างดีส่ือสารออกมาให้เข้าใจง่ายและ งดงาม และมีความสามารถส่อื สารไดห้ ลายแบบ ทัง้ ดว้ ยวาจา ขอ้ เขียน และภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูดและ เขยี น (เช่น ทา่ ทาง สีหนา้ ) ฟังอย่างมีประสิทธิผล เกิดการสื่อสารจากการต้ังใจฟังให้เห็น ความหมาย ท้ังด้านความรู้ คณุ ค่า ทศั นคติ และความตั้งใจ 9042113 คอมพิวเตอรแ์ ละการรเู้ ทา่ ทันในยุคดจิ ทิ ัล

13 ใชก้ ารส่อื สารเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายหลายด้าน เชน่ แจ้งใหท้ ราบบอกให้ทา จงู ใจ และชกั ชวน ส่ือสารอย่างได้ผลในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลาย รวมทั้งในสภาพท่ีส่ือสารกันด้วยหลาย ภาษา เปา้ หมาย : ทกั ษะในการรว่ มมือกบั ผอู้ ่นื แสดงความสามารถในการทางานอยา่ งไดผ้ ล และแสดงความเคารพให้เกียรติทีมงานที่มีความ หลากหลาย แสดงความยืดหยุ่นและชว่ ยประนีประนอมเพอ่ื บรรลุเปา้ หมายรว่ มกัน แสดงความรับผดิ ชอบร่วมกนั ในงานที่ต้องทาร่วมกันเป็นทีมและเห็นคุณค่าของบทบาทของผู้ ร่วมทีมคนอ่นื ๆ Collaboration การร่วมมือ การออกแบบการเรียนรูท้ ักษะการร่วมมอื ควรมเี ป้าหมายและวิธกี ารดังตอ่ ไปนี้ เปา้ หมาย : ทกั ษะในการร่วมมอื กบั ผ้อู ่นื แสดงความสามารถในการทางานอย่างได้ผล และแสดงความเคารพให้เกียรติทีมงานที่มี ความหลากหลาย แสดงความยืดหยุ่นและชว่ ยประนปี ระนอมเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายรว่ มกนั แสดงความรบั ผิดชอบร่วมกันในงานที่ต้องทาร่วมกันเป็นทีมและเห็นคุณค่าของบทบาทของ ผู้รว่ มทมี คนอ่นื ๆ Creativity ความคดิ สร้างสรรค์ การออกแบบการเรียนร้ทู กั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ ควรมีเป้าหมายและวธิ กี ารดังต่อไปน้ี เป้าหมาย : ทกั ษะการความคิดสรา้ งสรรค์ ใชเ้ ทคนคิ สร้างมุมมองหลากหลายเทคนคิ เช่น การระดมความคิด (brainstorming) สรา้ งมมุ มองแปลกใหม่ ทงั้ ทเ่ี ปน็ การปรบั ปรงุ เลก็ น้อยจากของเดิม หรือเป็นหลักการที่แหวก แนวโดยสิน้ เชงิ ชักชวนกันทาความเข้าใจ ปรับปรุง วิเคราะห์ และประเมินมุมมองของตนเอง เพ่ือพัฒนา ความเข้าใจเกย่ี วกบั การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ 5. สรปุ ในอนาคตเนื้อหาการเรียนรู้แบบดิจิตอลจะเข้ามาแทนท่ีและบทบาทในการศึกษา หนังสือ ทั่วไปจะกลายเป็นเอกสารประกอบในเนื้อหารายวิชาที่เป็นทฤษฏีพ้ืนฐาน เพราะเน้ือหาไม่ค่อยมีการ เปลี่ยนแปลง แตส่ าหรับเนอื้ หารายวชิ าที่มกี ารเปล่ยี นแปลงได้ตลอดเวลา เชน่ เน้ือหาด้านคอมพิวเตอร์ 9042113 คอมพิวเตอรแ์ ละการรเู้ ทา่ ทันในยุคดิจทิ ลั

14 และวิทยาการต่างๆ เน้ือหาการเรียนรู้แบบดิจิตอลจะเข้ามาแทนท่ีได้เพราะสามารถแก้ไขเนื้อหาได้ สะดวก อกี ทัง้ ขั้นตอนการผลิตหนังสอื ทวั่ ไปจะใช้ เวลานาน เน้ือหาการเรียนรู้แบบดิจิตอลจะทาให้ผู้ที่ สนใจในเนอ้ื หาตา่ ง ๆได้มีความรู้จากเนื้อหาน้ัน ๆ โดยที่ไม่จาเป็นต้องเข้าเรียนในสถานศึกษา อนาคต ของเนื้อหาการเรียนรู้แบบดิจิตอลไม่ได้ข้ึนอยู่กับผู้อ่านเท่าน้ัน แต่ยังข้ึนอยู่กับการพัฒนาและการ คิดค้นรูปแบบใหม่ ๆ เพ่ือทาให้มีความสะดวกในการอ่านให้มากขึ้น และทาให้เนื้อหามีความน่าสนใจ มากข้ึน นอกจากน้ันแล้วเน้ือหาการเรียนรู้แบบดิจิตอลจะเข้าไปทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในตลาด ส่ิงพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร เป็นต้น จะถูกผลิตมาในรูปแบบท่ีเป็นแบบดิจิตอลมาก ขึน้ ในอนาคต แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 1 1. จงอธิบายความหมายของการรู้ดจิ ทิ ัล 2. จงอธบิ ายความหมายของการรสู้ อ่ื 3. จงอธบิ ายความหมายของการรู้เทคโนโลยี 4. จงอธิบายความหมายของการรู้สารสนเทศ 5. จงอธิบายความหมายของการรู้เกี่ยวกับส่ิงที่เห็น 6. จงอธิบายความหมายของการรกู้ ารส่ือสาร 7. จงอธิบายความหมายของการรสู้ งั คม 8. จงอธบิ ายความสาคญั ของการรดู้ ิจิทัล 9. จงยกตวั อย่างผลกระทบจากการรู้ดิจิทัล 10. จงอธิบายทักษะสาคัญในการรู้ดิจิทัล 9042113 คอมพิวเตอร์และการรูเ้ ท่าทันในยคุ ดจิ ิทลั

15 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 1 กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรงุ เทพฯ: ผู้แต่ง. จนิ ตนา ตันสวุ รรณนนท.์ (2558). “เท่าทนั สอ่ื : แนวทางการพฒั นาตนเพ่อื กา้ วพน้ ภยั ส่ือ.” สถาบันวจิ ัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว ครบรอบ ๖๐ ปี (สงิ หาคม): 151-166. เด่นพงษ์ สุดภักดี. (2557). “การรู้ดิจิทัล”. สรุปการบรรยายเรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสารในการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลเพ่ือการวิจัย ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 21 พฤศจกิ ายน. วรพจน์ วงศก์ ิจรงุ่ เรืองและอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแหง่ อนาคตใหม่: การศกึ ษาเพือ่ ศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: โอเพน่ เวลิ ด์ส. MediaSmarts. (n.d.). Digital literacy fundamentals. Retrieved June 25, 2018 from http://mediasmarts.ca/digital-media-literacy-fundamentals/digital-literacy- fundamentals. 9042113 คอมพวิ เตอร์และการรู้เทา่ ทนั ในยคุ ดจิ ทิ ลั