Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

ep1

Published by วรัญญา แก้วล่องลอย, 2018-11-28 01:19:55

Description: ep1

Search

Read the Text Version

คานา บทเรียนการ์ตูนชุด Makin in Cyber เล่มท่ี 1 เร่ือง ปิ๊ด ป้ี ปิ้ด ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่มนี้ จัดทาขึ้นตามมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 บทเรียนการ์ตูนเล่มนี้ ประกอบด้วย คาช้ีแจงสาหรับครู คาช้ีแจงสาหรับนักเรียน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดจุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา แบบฝึกหัด และเฉลย โดยใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย เหมาะกับวัยของผู้อ่าน นาเสนอความรู้ผ่านตัวการ์ตูนที่มีสีสันสวยงาม น่าสนใจ ทาให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจเน้ือหาได้ในเวลาอันรวดเร็วและประสบผลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี งั้ ไว้

1 คาช้แี จงการใชบ้ ทเรยี นการต์ นู สาหรบั ครูผสู้ อน1. ศกึ ษาเน้ือหา แผนการจัดการเรยี นรู้ให้เข้าใจและเตรยี มสอื่ ให้พรอ้ มก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน2. ครคู วรแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้และบทบาทของนักเรยี น ให้นกั เรยี นทราบทกุ ครั้งกอ่ นการทากจิ กรรม3. ครูควรดาเนินการสอนตามแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทีก่ าหนดไว้4. ครูเปน็ ผ้ใู หค้ าแนะนาและเป็นท่ปี รึกษาของนักเรียน ขณะท่นี กั เรยี นมีขอ้ สงสยั หรือทาแบบฝกึ หัดทกุ ครั้ง5. เก็บข้อมูลผลงานของนกั เรียน เพ่อื สังเกตการณพ์ ฒั นาและความก้าวหน้า บทบาทของผเู้ รยี น1. อ่านคาชี้แจง กอ่ นใชบ้ ทเรยี นการต์ ูนใหเ้ ขา้ ใจ2. ศึกษาบทเรียนการต์ นู ด้วยความตัง้ ใจ และมสี มาธิ3. ปฏิบัติกจิ กรรมท่ีกาหนด ให้เสร็จทนั เวลา4. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมด้วยความซือ่ สัตยต์ ลอดเวลา

2มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัดอธบิ ายหลกั การเบื้องตน้ ของการส่อื สารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (ง 3.1 ม.2/1) จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ บอกความหมายและประโยชน์ของการสอ่ื สารขอ้ มูลได้ บอกองค์ประกอบการส่อื สารข้อมูลได้ อธบิ ายรูปแบบของการสอื่ สารขอ้ มลู ได้

3 สวัสดคี รบั พีๆ่ ชาว ม.2 ทุกคน ผมช่อื “มาคิน” ครับ ผมมชี ่อื เขียนเปน็ ภาษาอังกฤษว่า Makin ซ่งึ มาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษตอ่ ไปน้ี ครบัM มาจากคาว่า Mature หมายถงึ เปน็ ผ้ใู หญ่A มาจากคาว่า Attractive หมายถึง มเี สน่ห์K มาจากคาว่า Keen หมายถึง กระตือรือรน้I มาจากคาว่า Intelligent หมายถงึ ฉลาดN มาจากคาว่า Nice หมายถึง ดี บุคลิกต่างๆในชื่อของผม เป็นสิ่งที่มุ่งหวังให้เกิดกับพี่ๆทุกคน โดยเฉพาะในการใช้งานอินเตอร์เน็ตครับคือ มีความฉลาดในการเลือกใช้งานอินเตอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุด กระตือรือร้นในการเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆอยู่เสมอมีความเป็นผู้ใหญ่ในการคิด ตัดสินใจกับข้อมูลข่าวสารท่ีได้รับและมีเสน่ห์ นอบน้อมในการติดต่อส่ือสารผ่านอินเตอรเ์ น็ต โดยยึดความดี มีคุณธรรมจริยธรรมในการใชง้ านอินเตอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์

4 ยาวหนึ่งครง้ั ……. เราฟงั ไดค้ วามว่าหยดุ เปา่ ยาวเป็นชดุ ....... เราตอ้ งรบี รดุ ไปตอ่ ไป สน้ั ติดต่อกนั ……. เราพลันเข้าแถวทันใดสัน้ ยาวน้นั ไซร้..... เรารีบไปเพราะมเี หตกุ ารณ์ นายหมมู่ านี่…… ฟงั ซีส้นั สามยาวหนง่ึ ลูกเสอื ราพงึ จดจาคานงึ .... นค่ี อื สญั ญาณ

5 สวสั ดีครับ ลกู เสอื มาคินกลบั มาแล้วครบั สวสั ดคี ะ่ มาคนิเรยี นลูกเสือสนุกม๊ัยคะ

6 สนุกครบั แม่วันนี้คุณครสู อนเร่อื งสัญญาณนกหวดี ดว้ ย มาคนิ ทาตามสญั ญาณ ได้มย๊ั คะ

ไดค้ รบั 7 มาคนิ รอ้ งเพลง ทาไมเราตอ้ งใชส้ ญั ญาณนกหวีด กเ็ ลยจาไดค้ รบั ดว้ ยครบั แม่ ทาไมไมใ่ ชค้ าพูดเพราะการส่อื สารของ ในสมัยกอ่ นยุคกอ่ นท่จี ะมภี าษามนุษย์เรา ไมไ่ ดม้ แี ค่ มนุษย์เราก็ใช้ภาษามอื หรือ การพดู คุยไงคะ การแสดงท่าทางในการส่อื สารคะ่

8ถา้ ไม่มีคาพูด เราเรียกวา่ ใชซ่ จิ ๊ะการสอ่ื สารดว้ ยเหรอครบั เพราะ การสอื่ สาร คือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหวา่ งผรู้ ับและผสู้ ่งโดยผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆเพอ่ื ให้ ผูส้ ่งและผู้รบั เกิดความเข้าใจซงึ่ กนั และกัน

9ถ้าผู้รบั สาร เข้าใจในสิ่งทผ่ี ูส้ ่งสารตอ้ งการบอกกแ็ สดงว่าการสอ่ื สารนน้ั ประสบความสาเรจ็ คะ่ สมยั กอ่ นไม่มีโทรศพั ท์ ถา้ อยู่ห่างไกลกันเราจะตดิ ตอ่ สื่อสารกนั ยังไงครับ

10 กใ็ ช้สัญญาณควนั ไฟ การเคาะไม้ หรือตกี ลองไงคะ แต่ในสมัยนี้ เทคโนโลยดี า้ นไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ได้พฒั นาไปมาก ทาให้การ สื่อสารระหวา่ งกนั ทาได้สะดวกรวดเร็ว

11 การที่มาคนิ เคาะไม้แบบน้ีกเ็ ป็นการสอื่ สารดว้ ยไหมครับไม่ใช่คะ่ เพราะไมม่ ใี ครเขา้ ใจ อา้ ว..... วา่ มาคินเคาะทาไม

12การติดตอ่ สือ่ สารท่ใี ช้สัญญาณตา่ งๆ จะต้องมกี ารทาข้อตกลงกันก่อน ว่าสัญญาณแตล่ ะอยา่ งคอื อะไรออ๋ ๆ.. ใชค่ ะ่ เหมอื นทม่ี ีการกาหนด เสยี งนกหวีดใช่ไหมครับ

และการสอ่ื สารขอ้ มูล กจ็ ะต้องมี 13 องค์ประกอบพ้นื ฐาน คอื ผูร้ ับ ผ้สู ง่ ข่าวสารภาษาไทย ตัวกลางข้อตกลงรว่ มกันในการสอื่ สาร หรอื โพรโตคอล

14 องค์ประกอบของการสอ่ื สาร ผสู้ ง่ ขา่ วสารตวั กลาง นกั เรียนรู้ไหมคะวา่ องค์ประกอบของการสอื่ สารมอี ะไรบา้ ง ผรู้ บัการทแี่ มไ่ ปสอนพีน่ กั เรยี นในห้องเรยี น กเ็ ปน็ การสอ่ื สารขอ้ มลู นะคะ

ผสู้ ่ง คือ คณุ ครู 15 ที่สอนนักเรยี น ผ้รู บั คือ นักเรียนขา่ วสาร คือ เรอื่ งราวหรือ ท่นี ง่ั ฟงั ครูสอน เนอ้ื หาที่ครสู อน

16ตวั กลาง คือ ส่อื ที่ครใู ชส้ อน เช่น กระดานดา ขอ้ ตกลงรว่ มกันในการสอ่ื สาร หรอื โพรโตคอลก็คือ ภาษาไทย ท่ีครแู ละนกั เรียนเข้าใจตรงกันคะ่

17ออ๋ ! การท่ีมาคินคยุ กับแม่ ก็เปน็ การสื่อสารข้อมูลด้วยใช่ไหมครบั ใชค่ ะ่ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์กม็ ี การส่อื สารขอ้ มลู ด้วยนะคะ

การสอื่ สารข้อมลู ทางคอมพวิ เตอร์ หมายถึง การโอนถา่ ยขอ้ มูล 18หรอื การแลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหว่างผูส้ ่งต้นทางกับผรู้ ับปลายทาง 10100101010101010101000110101010011011000110 101010011001011100011100010101011100011011000110ทงั้ ขอ้ มลู ประเภท ขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง หรือข้อมลู ส่ือผสม

โดยผู้ส่งต้นทางส่งข้อมลู ผ่านอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ 19 หรือคอมพิวเตอร์ ซง่ึ มีหน้าทแ่ี ปลงข้อมูลเหลา่ น้นั ให้อยูใ่ นรูปสญั ญาณทางไฟฟา้ จากนน้ั ถึงสง่ ไปยงั อุปกรณห์ รือคอมพวิ เตอรป์ ลายทางใครเปน็ ผ้สู ง่ ข้อมลู ครบั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ หรอื อาจจะเป็นโทรศัพท์ ที่ทาหน้าที่ส่งข้อมลู ขา่ วสารออกไปยัง จดุ หมายปลายทางทต่ี อ้ งการค่ะ

20 ผู้รบั เป็นส่งิ ท่ีทาหน้าทรี่ บั ข้อมูลขา่ วสารจากผูส้ ่งซึ่งส่งผา่ นสือ่ กลางชนดิ ตา่ งๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ โทรทศั น์ วทิ ยุ ข้อมูลข่าวสาร ท่สี ง่ ทางคอมพวิ เตอรม์ ีอะไรบ้างครับ กม็ ีทั้งเสยี ง ขอ้ ความ รปู ภาพและสอ่ื ประสม วดี โี อต่างๆคะ่

แล้วตวั กลางในการส่งขอ้ มูล 21 หล่ะครบั แม่ ตวั กลาง คอื สง่ิ ทชี่ ว่ ยให้ขอ้ มลู ข่าวสารเดินทางจากผู้สง่ ไปยงั ผู้รับได้โดยสะดวก ในการสอื่ สารขอ้ มลูทางคอมพิวเตอร์ กม็ ที ั้งแบบมีสาย และไรส้ ายคะ่ เชน่ สายโทรศัพท์ สายอินเตอร์เน็ต คลื่นวทิ ยุ

เคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ 22ตา่ งๆ สามารถส่งข้อมูลหากัน ไดท้ กุ อุปกรณห์ รอื เปลา่ ครับ ไดค้ ่ะ แตจ่ ะตอ้ งอยภู่ ายใต้ โพรโตคอลเดยี วกนัโพรโตคอล (Protocol) เปน็ ขอ้ กาหนดหรอื ขอ้ ตกลงถึงกฎระเบยี บและวิธกี ารท่ีใช้ ในการสอื่ สารเพอ่ื ให้ ผู้ส่งและผู้รบั มคี วามเข้าใจตรงกนั

23 พักความสนกุมาทากจิ กรรมรว่ มกนั กอ่ นนะครบั

การส่ือสารข้อมลู ทางคอมพิวเตอร์ 24 มกี ่แี บบครบั มี 3 แบบคะ่การสอื่ สารขอ้ มลู ทศิ ทางเดยี ว เปน็ การตดิ ตอ่ สื่อสารเพียง(Simplex Transmission) ทศิ ทางเดียว คอื ผสู้ ง่ จะส่งข้อมลู เพียงฝง่ั เดยี วและโดยฝงั่ รบั ไม่มี การตอบกลับ

การสง่ ขอ้ มูลแบบไหน 25 ถือเป็นการสอื่ สารข้อมูลทศิ ทางเดียวครบั การฟังวิทยไุ งคะ ผู้สง่ กท็ าหน้าที่ส่ง สว่ นผู้รบั ก็ทาหน้าท่ีรบั ข้อมลู โดยไมม่ ี การตอบกลับ

26แบบท่ี 2 การสอ่ื สารข้อมูลสองทศิ ทางสลบั กนั (Half Duplex Transmission) วธิ ีน้ี ผู้ส่งสามารถส่งขอ้ มูลไปใหแ้ กผ่ รู้ บั ส่วนผรู้ บั ก็สามารถโต้ตอบกลับได้ แต่ไม่สามารถส่งสวนทางกัน ได้ในเวลาเดยี วกัน

27 การสง่ วทิ ยขุ องตารวจเปน็ การสอ่ื สารขอ้ มูลสองทศิ ทางสลบั กนั

แบบที่ 3 ต้องเปน็ แบบ 28สองทศิ ทางพร้อมกันแนเ่ ลย ใช่แลว้ ค่ะนอ้ งมาคนิแบบที่ 3 การสอื่ สารขอ้ มลู สองทศิ ทางพรอ้ มกนั(Full Duplex Transmission) ผสู้ ่งและผ้รู บัสามารถโต้ตอบสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน

29 มาคินรักแม่ครบั แมก่ ็รกั มาคินคะ่ การพดู คยุ โดยใชโ้ ทรศพั ท์เป็นการส่อื สารขอ้ มลู สองทิศทางพรอ้ มกนั

30มาคินรมู้ ยั๊ คะ วา่ การส่ือสารข้อมูลในสมัยน้ีมีการเปล่ียนแปลงไปจากสมัยกอ่ นมากสมัยกอ่ นมนี กพริ าบด้วย ใชไ่ หมครับ ใช่ค่ะ...สมยั กอ่ นเราใช้ นกพิราบในการส่งข้อมลู ด้วย

31สมยั โบราณ พัฒนาการของการสอื่ สาร พ.ศ.24191 การส่งขอ้ ความระยะไกล ต้องอาศยั 2 พ.ศ.2379 3 คนนาสาร สญั ญาณควันไฟหรอื เซมมัวล์ มอร์ส คิดคน้ รหัสมอส ซง่ึ ถกู อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮมเบล ประดษิ ฐ์ นกพริ าบ นามาใช้อยา่ งกว้างขวางและใช้ในการ สอ่ื สารดว้ ยโทรเลข โทรศัพทเ์ พือ่ การสื่อสารด้วยเสียงผ่าน สายตวั นา พ.ศ.2444 4 พ.ศ.2512 พ.ศ.2501 กูกลิโกโม มารโ์ คนี ทดลองส่งรหสั มอร์สดว้ ยคลืน่ วิทยเุ พ่ือการส่ือสารได้6 อนิ เตอร์เน็ต 5 สาเรจ็ สหรัฐอเมรกิ าสง่ ดาวเทียมเพื่อการ สื่อสารขึ้นสู่อวกาศ พ.ศ.2522พ.ศ.2513 7 9การส่ือสารระหว่างเครอื่ งปลายทางที่ พ.ศ.2516 ระบบโทรศัพท์เซลลลู ารเ์ รม่ิ มีใชเ้ ป็น พ.ศ.2530-ปัจจุบัน อยหู่ ่างไกล เข้ามายังคอมพิวเตอร์ 8 ครั้งแรกที่ประเทศญ่ีปนุ่ y006[yo ศูนย์กลางเพอ่ื ประมวลผล 10 การส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ การส่ือสารแบบไร้สาย ระยะใกล้ เพ่ือทางานรว่ มกนั

32พฒั นาการของการสือ่ สารขอ้ มูล แบ่งเปน็ 3 ยคุการสอื่ สารยุคโบราณ นยิ มส่ือสารข้อมลูผ่านตัวกลางท่เี ป็นสง่ิ มชี วี ิตหรอื ธรรมชาติ

33การสอ่ื สารยคุ อตุ สาหกรรม เป็นการสื่อสาร ทพ่ี ฒั นามาจากการสือ่ สารยคุ โบราณ แตม่ ีแนวโน้มวา่ จะเลกิ ใช้ในอนาคตอนั ใกล้

34 และการส่อื สารยคุ โลกไรส้ าย เป็นการส่ือสารท่มี งุ่ เนน้ ความสะดวกสบายของผู้ใช้และประสทิ ธิภาพ ของขอ้ มูลทใี่ ช้ในการสอ่ื สาร

35 มาคินโชคดีจงั เลยครบั ทเ่ี กิดมาในยุคท่ีการสื่อสารขอ้ มูล มคี วามทันสมยัใชแ่ ล้วค่ะ โดยเฉพาะเทคโนโลยขี องโทรศพั ทม์ ือถอื ท่มี กี ารพัฒนามาถึงยคุ 4G แล้ว

มาคินไดย้ ินบอ่ ยครับ คาวา่ 3G หรือ 36 4G แตไ่ ม่เขา้ ใจครับ คาว่า G ย่อมาจากคาวา่ Generation ทีแ่ ปลว่า ยุค, สมยั , ร่นุ เมอ่ื เอาไปใชร้ วมกบั ตัวเลข ในภาษาองั กฤษ จะออกเสียงว่า First Generation, SecondGeneration, Third Generation และถูกย่อเปน็คาว่า 1G, 2G, 3G ซึ่งเป็นชอ่ื เรียกในแต่ละยุคของเทคโนโลยีการสื่อสารทางไกลผา่ นโทรศัพท์มือถือ

1G ความเร็วในการรบั สง่ ขอ้ มูลตา่ มาก 37 รบั ส่งข้อมูลแบบอนาล็อกและ สง่ ไดแ้ ตข่ อ้ มูลเสียงเทา่ นัน้ ไม่มกี าร รกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มูล2G ความเรว็ ในการรบั สง่ ขอ้ มลู 10-14 kbps รับส่งข้อมูลแบบดิจิตอล แต่ยังรองรับ ก า ร ใ ช้ ง า น ข้ อ มู ล เ สี ย ง เ ป็ น ห ลั ก ส า ม า ร ถ ใ ช้ ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ข้ อ มู ล ได้ดว้ ยความเร็วตา่

3G ความเรว็ ในการรับส่งขอ้ มูล 144 kbps-2 Mbps 38 ร อ ง รั บ ก า ร ส่ ง ข้ อ มู ล วี ดิ ทั ศ น์ แ ล ะ มัลติมีเดีย สามารถใช้งานเชื่อมต่อ เข้ากับอินเตอร์เน็ตได้ดี มีความเร็ว ในการสง่ ข้อมลู สูง4G ความเรว็ ในการรบั ส่งข้อมูล 100 Mbps- 1 Gbps มีการเชื่อมต่อเครือข่าย อุปกรณ์และ ผู้ใช้เข้าด้วยกันอย่างกว้างขวางเพ่ือ รองรับข้อมูลทุกรูปแบบและมีการ ทางานในลักษณะทเี่ ปน็ ดิจติ อลทงั้ หมด

39ถา้ ไมม่ เี ทคโนโลยีทท่ี นั สมยั แบบนี้ เวลาแมไ่ ปประชุมไกลๆมาคินต้องร้องไห้เพราะคิดถึงแมแ่ นๆ่ เลยเป็นลูกเสือต้องเขม้ แขง็ นะคะ ครบั แม่

มาคนิ ไปอาบนา้ 40 กอ่ นนะครบั อาบน้าซู่ซา่ ล้างหนา้ ล้างตา ฟอกสบ่ถู ูตวั ชาระเหงอ่ื ไคล ราดนา้ ให้ทว่ั เสรจ็ แล้วเช็ดตวั อยา่ ไดข้ นุ่ มวั สุขกายสบายใจ....ลลั ลา้

41แบบฝึกหดัตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรียนพิจารณาข้อความตอ่ ไปน้ีวา่ ถูกหรอื ผิด ถ้าถกู ให้กาเคร่อื งหมาย  ถ้าผดิ ใหก้ าเคร่ืองหมาย × ลงในช่องวา่ ง ______1. ผู้รับสาร หมายถึง คน อปุ กรณท์ ่ีใชก้ าเนิดขา่ วสาร หรือแหล่งกาเนิด เปน็ ตน้ ทางของขอ้ มลู ขา่ วสาร______2. Protocol เปน็ เคร่ืองมอื หรอื เทคโนโลยีทใี่ ช้ในการส่อื สาร ส้ๆู ครบั พี่ม.2 คนเก่ง______3. การดโู ทรทศั น์ เป็นการสอ่ื สารแบบ Simplex______4. การส่ือสารขอ้ มูลสมยั ใหม่ สามารถเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์ได้ 2 ตัวเท่านน้ั______5. วตั ถปุ ระสงคข์ องการส่อื สารขอ้ มลู คือ ให้ผ้รู บั สารเข้าใจขอ้ มลู ของผ้สู ง่ สารแบบฝึกหัดยังมีอกี นะครบั

42ตอนที่ 2 ให้นกั เรียนเรียงลาดบั พัฒนาการของการส่ือสารจากอดตี มาถึงยคุ ปัจจุบนั แลว้ ใส่ลงในชอ่ งว่างด้านซา้ ยมอืตามลาดบั1………………………………………………………………………. -สหรฐั อเมรกิ าส่งดาวเทียมเพอ่ื การสือ่ สารขึ้นสู่2………………………………………………………………………. อวกาศ3………………………………………………………………………. การสื่อสารแบบไร้สาย -เซมมัวล์ มอรส์ คิดคน้ รหัสมอส4………………………………………………………………………. -อินเตอร์เนต็5………………………………………………………………………. การส่อื สารระหว่างคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ เพอื่ ทางานร่วมกัน

43 ทาเสรจ็ แล้วเรามาดูเฉลยกนั นะครบั

44 เฉลยแบบฝึกหัดตอนที่ 1 ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้วา่ ถกู หรอื ผดิ ถา้ ถูก ใหก้ าเคร่ืองหมาย  ถ้าผิด ใหก้ าเคร่ืองหมาย × ลงในชอ่ งวา่ ง ___×___ 1. ผู้รับสาร หมายถงึ คน อุปกรณ์ที่ใชก้ าเนิดข่าวสาร หรือแหลง่ กาเนิด เปน็ ต้นทางของข้อมูลขา่ วสาร ___×___ 2. Protocol เป็น เคร่ืองมอื หรือเทคโนโลยีท่ีใช้ในการสอื่ สาร _____ 3. การดูโทรทัศน์ เปน็ การสือ่ สารแบบ Simplex ___×___ 4. การส่อื สารขอ้ มลู สมยั ใหม่ สามารถเชอ่ื มตอ่ คอมพวิ เตอรไ์ ด้ 2 ตวั เท่านั้น _____ 5. วัตถปุ ระสงคข์ องการสื่อสารข้อมูล คือ ให้ผรู้ บั สารเขา้ ใจขอ้ มูลของผูส้ ่งสาร

45ตอนท่ี 2 ให้นักเรียนเรียงลาดบั พัฒนาการของการส่อื สารจากอดตี มาถงึ ยุคปจั จุบนั แล้วใส่ลงในชอ่ งว่างด้านซ้ายมือตามลาดบั1…เซมมวั ล์ มอร์ส คิดคน้ รหัสมอส สหรฐั อเมริกาสง่ ดาวเทียมเพือ่ การสอื่ สารข้นึ สู่2-สหรัฐอเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารขึน้ สอู่ วกาศ อวกาศ การส่อื สารแบบไร้สาย3..-อินเตอรเ์ นต็ เซมมวั ล์ มอรส์ คิดค้นรหัสมอส4.การสื่อสารระหวา่ งคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ เพือ่ ทางานรว่ มกัน อนิ เตอร์เน็ต5 การสอ่ื สารแบบไร้สาย การส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ เพือ่ ทางานรว่ มกัน

46 บรรณานุกรมจินตนา ใบการซยู ี .(2548) . แนวการจัดทาหนังสือสาหรับเดก็ . กรงุ เทพฯ : สวุ ิรยิ าสาสน์.วเิ ชียร พ่มุ พวง (2556).หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ 2. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ.์ศกั ดิช์ ยั เกยี รตนิ าคินทร.์ (2533). ค่มู ือฝกึ เขียนการ์ตูนด้วยตนเอง. กรงุ เทพฯ : ตน้ อ้อ.สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.). (2557). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด.สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2556). หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพราว.สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตวั ชวี้ ดั และสาระแกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.อารยี า ศรีประเสริฐ,สายสุนีย์ เจรญิ สขุ และสปุ ราณี วงษ์แสงจันทร์ .(2551).เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ม.2. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น์.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook