42 เรอ่ื งท่ี 3 วรี กรรมของบรรพบรุ ษุ สมัยสโุ ขทัย พ่อขุนผาเมือง ในพุทธศตวรรษที่ 18 กลุ่มชนสุโขทัยมีกษัตริย์ท่ีมีอานาจแพร่หลายออกไปจน เป็นที่ยอมรับ กษัตริย์ขอมจึงยอมยกธิดาให้อภิเษกกับพระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนาถม เจา้ เมืองเชลียง ซ่งึ มพี ระโอรส 2 องค์ ได้แก่ พ่อขุนผาเมอื ง และพระยาคาแหงพระราม เมื่อสิน้ รชั สมัยของพ่อขุนศรนี าวนาถม สโุ ขทัยเกิดความไม่สงบ พ่อขุนผาเมืองได้ อภิเษกกับเจ้าหญิงแห่งอาณาจักรขอม ชื่อนางสุขรมหาเทวี ได้มอบพระขรรค์ไชยศรี และเฉลิม พระนามวา่ “ศรอี นิ ทรบดนิ ทราทติ ย์” จากกษตั รยิ ข์ อมให้กับพอ่ ขนุ บางกลางหาว พ่อขุนผาเมือง เป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญในการก่อต้ังอาณาจักรสุโขทัย เปน็ ผพู้ ชิ ติ ศกึ รบชนะขอมสบาดโขลญลาพง และยึดเมืองไว้ให้ก่อนที่พ่อขุนบางกลาวหาว จะนา ทัพมาช่วยปราบปราม แทนที่พระองค์จะใช้สิทธิ์เข้าครอบครองสุโขทัย กลับยกให้พระสหาย พร้อมทั้งอภิเษกและมอบนาม “ศรีอินทรบดินทราทิตย์” ให้ด้วย เม่ือมอบเมืองให้พระสหาย แล้วพ่อขุนผาเมืองยังคงช่วยราชการท่ีสุโขทัย จนสถานการณ์ปกติ จึงเดินทางกลับเมืองราด จากนน้ั ก็ไมป่ รากฏหลกั ฐานเก่ียวกับพ่อขนุ ผาเมอื งอกี เลย กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 3 วรี กรรมของบรรพบุรุษสมัยสุโขทยั (ใหผ้ เู้ รยี นทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ในสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)
43 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 มรดกทางวฒั นธรรมสมยั สุโขทยั สาระสาคัญ มรดกทางวฒั นธรรมสมัยสุโขทัย เรียนรู้เก่ียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และวรรณกรรม ศิลปหัตถกรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรม การละเล่นพ้ืนบ้าน นาฏศิลป์ และดนตรี โบราณวัตถุ โบราณสถานในสมัยสุโขทัย ในเรื่อง ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ พนมเบีย้ พนมหมาก พนมดอกไม้ ลายสือไทย ไตรภูมิพระร่วง เคร่ืองสังคโลก ประเพณี กินสี่ถ้วย ดนตรีไทยและดนตรีพ้ืนบ้านสมัยสุโขทัย สถาปัตยกรรมและปฏิมากรรมสมัยสุโขทัย และแนวทางในการสืบสานวฒั นธรรมสมัยสโุ ขทัย ตัวชี้วดั 1. บอกและยกตวั อย่างวฒั นธรรมสมยั สุโขทัยได้อยา่ งนอ้ ย 3 เรือ่ ง 2. บอกแนวทางในการสืบสานวฒั นธรรมสมัยสโุ ขทัย 3. แสดงความคิดเห็นในการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมสมยั สุโขทยั สู่การปฏิบัตไิ ด้อยา่ งนอ้ ย 1 เร่ือง ขอบขา่ ยเนอื้ หา เรอ่ื งที่ 1 มรดกทางวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั 1.1 ประเพณลี อยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ 1.2 พนมเบย้ี พนมหมาก พนมดอกไม้ 1.3 ลายสือไทย 1.4 ไตรภูมิพระรว่ ง 1.5 เครอ่ื งสังคโลก 1.6 ประเพณีกนิ สถ่ี ้วย (ไขก่ บ นกปลอ่ ย มะลิลอย อา้ ยตื้อ) 1.7 ดนตรีไทยและดนตรีพนื้ บา้ นสมยั สุโขทยั
44 1.8 สถาปัตยกรรมและประติมากรรมสมัยสโุ ขทยั 1) เจดีย์สมยั สโุ ขทัย 2) พระพุทธรูปสมยั สโุ ขทัย เร่อื งที่ 2 แนวทางในการสบื สานมรดกทางวฒั นธรรมสมยั สโุ ขทัย เวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา 30 ช่ัวโมง สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชุดวิชาประวตั ิศาสตรช์ าติไทย รหสั รายวชิ า สค12024 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า
45 เร่ืองที่ 1 มรดกทางวฒั นธรรมสมยั สโุ ขทัย มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทัยที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต และความเป็นอยู่ สภาพ บ้านเมืองในสมัยสุโขทัย ในเร่ืองขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาและวรรณกรรม ศิลปหัตถกรรม ศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรม การละเล่นพื้นบ้าน นาฎศิลป์และดนตรี โบราณวัตถุ โบราณสถาน เปน็ ต้น มรดกทางวัฒนธรรมสมยั สโุ ขทยั ที่น่าสนใจ มีดังนี้ 1.1 ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ สมัยสุโขทัยได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอารยธรรมขอม มีการพบภาพ จาหลกั ที่ปราสาทบายน ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 มีรูปบุคคลกาลังลอยวัสดุในน้า ซึ่งน่าจะมี ความเช่ือมโยงกับความเชื่อเรื่องการลอยประทีปในสมัยสุโขทัย นอกจากน้ี ยังพบชามสังคโลก สมัยสโุ ขทยั ท่มี รี ปู กระทง เปน็ ลายบนชามสังคโลกอกี ด้วย สมัยสุโขทัย ไม่ได้เรียกว่า ลอยกระทง แต่ใช้คาว่า เผาเทียน เล่นไฟ เป็นถ้อยคา ท่ีปรากฎในศิลาจารึก หลักที่ 1 ด้านท่ี 2 กล่าวถึง ประเพณีและพิธีกรรมในสมัยพ่อขุนรามคาแหง มหาราช ประชาชนมีการทาพิธกี รานกฐินตามวดั ต่าง ๆ แล้วพากันมายัง เมืองสุโขทัย ทางประตู เมืองท้ัง 4 ด้าน ที่กลางเมืองสุโขทัยมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ผู้คนต่างมากราบไหว้ และเผาเทียน เล่นไฟ ซึ่งเผาเทียน หมายถึง การจุดเทียนบูชาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ เช่นเดียวกับการจุดธูป ส่วนเล่นไฟ หมายถึง การจดุ ดอกไมไ้ ฟ จากศิลาจารึก หลักท่ี 1 คาว่า เผาเทียน เล่นไฟ คงหมายถึง ประเพณี และ พิธีกรรมในงานเฉลิมฉลองไหว้พระในศาสนสถานสาคัญท่ีอยู่กลางเมืองสุโขทัย เชื่อมโยงกับ ประเพณีกรานกฐิน ท่ีมีวนั ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 เปน็ วันสดุ ทา้ ย ตามพุทธบญั ญตั ิ 1.2 พนมเบีย้ พนมหมาก พนมดอกไม้ พนมเบ้ีย พนมหมาก และพนมดอกไม้ เป็นคาที่ปรากฎในศิลาจารึก หลักที่ 1 ดา้ นที่ 2 บรรทัดท่ี 13 – 17 จารกึ ไวด้ ังนี้ “เมื่อออกพรรษา กรานกฐิน เดือนณึ่งจ่ึงแล้ว เม่ือกรานกฐิน มีพนมเบ้ีย มีพนม หมาก มีพนมดอกไม้ มหี มอนน่ังหมอนโนน บริพารกฐินโอยทาน แล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัติกฐิน ถงึ อรญั ญิกพนู้ ” จากข้อความในศิลาจารึก แสดงให้ทราบว่า พนมเบี้ย พนมหมาก และพนม ดอกไม้ เป็นเคร่ืองไทยธรรมสาหรับถวายพระสงฆ์ในพิธีกรานกฐิน หรือพิธีถวายผ้ากฐิน ตามประเพณีในพทุ ธศาสนา ภายหลงั เทศกาลออกพรรษาแล้ว
46 พนมเบ้ีย พนมหมาก และพนมดอกไม้ คอื เบีย้ หมาก และดอกไม้ ท่ีจัดแต่งเป็น เคร่ืองไทยธรรมสาหรับถวายพระภิกษุ หรือพระสงฆ์ตามธรรมเนียม โดยนาเบี้ย หมาก ดอกไม้ จดั แตง่ บนภาชนะ ให้มีรูปทรงลักษณะเป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัว หรือทาเป็นรูปกรวยยอด เรียวแหลม (ที่มาภาพ : https://board.postjung.com/929339.html) ปัจจุบัน พนมเบี้ย พนมหมาก ได้หมดบทบาทตามความศรัทธาประเพณีนิยม ในพทุ ธศาสนา เนอ่ื งจากเบ้ยี ไมไ่ ด้เป็นวัตถกุ ลางในการซ้ือขาย หมากพลูไม่ได้เป็นเคร่ืองขบเค้ียว ในความนิยมสาหรบั คนปจั จบุ นั สว่ นพนมดอกไม้ ยงั พอตดิ อยู่กับความเช่ือ และความนิยมในคน ปัจจุบันพอสมควร แต่ก็ได้ปรับเปลี่ยนในส่วนวัสดุ วิธีการทา และโอกาสท่ีใช้ไปจากขนบนิยม และธรรมเนยี มเดมิ ตามสภาพสงั คมทีเ่ ปล่ียนไป 1.3 ลายสือไทย ลายสือไทย หมายถึง ตัวหนังสือไทย หรืออักษรไทย ซึ่งพ่อขุนรามคาแหง มหาราช กษัตริย์พระองค์ท่ี 3 แห่งอาณาจักรสุโขทัย ทรงคิดประดิษฐ์ข้ึนในปี พ.ศ. 1826 ดงั ปรากฏในจารกึ หลกั ท่ี 1 ศิลาจารึกพ่อขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี 4 บรรทดั ที่ 8 – 11 ความวา่ “เมื่อก่อนลายสือไทยน้ันบ่มี 1205 ศกปีมะแม พ่อขุนรามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสือไทยนี้ ลายสอื ไทยนีจ้ งึ มเี พอ่ื ขุนผูน้ ั้นใส่ไว้...” ความในจารึกดังกล่าว สื่อชัดเจนว่า ก่อน พ.ศ. 1826 ยังไม่มีลายสือไทย หรือ อักษรไทยปรากฏใช้
47 ลายสือไทยท่ีพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงคิดประดิษฐ์ ขึ้นน้ัน ลักษณะรูปสัณฐานของเส้นอักษร และอักขรวิธีท่ีใช้ เป็นเอกลักษณ์ มีปรากฏเฉพาะในจารึกหลักที่ 1 ศิลาจารึก พ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นหลักแรก ลักษณะของลายสือ ไทย แสดงให้เหน็ ถงึ พระปรชี าสามารถของพ่อขุนรามคาแหง มหาราชท่ที รงศึกษาค้นคว้าด้วยพระวิริยะอุตสาหะ ทรงวินิจฉัย และทรงปรุงแต่งรูปแบบอักษรให้มีลักษณะบ่งบอกความเป็น (ท่มี าภาพ : https://www.baanjomyut.com/ ไทยอย่างแท้จริง และเป็นแบบอย่างให้คนในชาติได้เรียนรู้ library_2/king_ramkhamhaeng_inscription ศึกษา และใชส้ ืบทอดต่อมา / พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงกาหนดให้มีวิธีเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ อยู่ในบรรทัดเดียว เป็นอักษรตวั ตรง คอื เส้นอักษรลากข้ึนลงเป็นเส้นตรง ส่วนเส้นลากขวางโค้ง มนเลก็ นอ้ ย รปู อักษรจงึ มที รงสเี่ หล่ยี ม หรือทีเ่ รียกวา่ อักษรตัวเหลย่ี ม (ที่มาภาพ : https://www.dek-d.com/board/view/1237110/) อิทธิพลของลายสือไทย ได้เผยแพร่ไปสู่อาณาจักรข้างเคียงเพียงช่วงระยะเวลา สั้น ๆ ประมาณหนึ่งศตวรรษ จากน้ันลักษณะของรูปแบบอักษรก็ได้พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตาม การใช้ภูมิภาคน้ัน ๆ จนปรากฏเป็นรูปอักษรแบบใหม่ขึ้นแทนลายสือไทย เช่น ในอาณาจักร ล้านนาได้เปลี่ยนไปเป็นอักษรไทยล้านนา หรืออักษรฝักขาม และในอาณาจักรศรีอยุธยาได้ เปล่ยี นไปเป็นอักษรไทยอยุธยา และสบื ตอ่ มาเปน็ อกั ษรไทยทใี่ ชอ้ ยใู่ นปัจจุบัน
48 1.4 ไตรภมู พิ ระร่วง ไตรภูมิพระร่วง เป็นช่ือท่ีสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงต้ังช่ือไว้ จึงรู้จักแพร่หลาย และเรียกชื่อนี้มากกว่าจะเรียกชื่อว่า ไตรภูมิกถา ตามที่ระบุไว้ในบานแพนก หรือสารบาญเรอ่ื ง ไตรภูมิพระร่วงเป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 พญาลิไท เมื่อปี พ.ศ. 1888 ครั้งยังทรงเป็นพระมหาอุปราชครองเมืองศรีสัชนาลัย ทรงพระราชนิพนธ์เป็นเวลา ถงึ 6 ปี เน่ืองจากเป็นหนังสือท่ีศึกษาและเรียบเรียงสาระสาคัญจากคัมภีร์ที่พระอรรถกถาจารย์ ได้รจนาไว้ มีจานวนถึง 32 คัมภีร์ แสดงถึงพระจริยาวัตรในการศึกษาพระธรรมและพระราช อตุ สาหะที่ฝกั ใฝ่ในธรรมะของพระพุทธองค์ ไตรภูมิพระร่วงจึงมีธรรมะท่ีครอบคลุมพระไตรปิฎก ทั้งพระสุตตันตปิฎก พระวินยั ปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ทรงพระราชนิพนธ์โดยเรียบเรียงให้เห็น “ความเป็นจริง” ในทุกแงท่ กุ มุม จงึ ไดร้ ับยกย่องว่าเป็นวรรณคดีช้ินเอกของไทย มีคุณค่าและมีอิทธิพลต่อคนไทย และสังคมไทยมากว่า 700 ปี สะท้อนให้เห็นว่าพระมหาธรรมราชาลิไท ทรงเป็นกษัตริย์ นักปราชญ์ และนักปกครองแห่งกรุงสุโขทัย คนไทย และสังคมไทย มีความสงบสุข ด้วยเหตุ ปัจจัยจากอิทธิพลของไตรภูมิพระร่วง และมีอิทธิพลต่อด้านภาษา ศิลปกรรม ประวัติศาสตร์ การหลอ่ หลอมค่านิยม อดุ มคติ อดุ มการณ์ และศีลธรรมจริยธรรม พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงมีพระราชประสงค์ในการแต่งเร่ืองน้ี ดังที่ระบุไว้ใน บานแพนกว่า “ไตรภูมิกถาน้ีมูนใส่เพ่ือใดสิ้น ใส่เพื่อมีอรรถพระอภิธรรมจะใคร่เทศนาแก่ พระมารดาทา่ นอนั หน่งึ เมอื่ จาเริญพระธรรมโสด” สรปุ ไดว้ ่า 1. เพอ่ื เผยแพรพ่ ระอภิธรรม ซงึ่ เป็นหลักการสาคญั ในทางพระพทุ ธศาสนา 2. เพือ่ เปน็ บทเรยี นพระอภธิ รรมแกพ่ ระราชมารดาของพระองค์ อน่ึง นักวิชาการได้ศึกษาวิเคราะห์ไตรภูมิพระร่วงเชิงประวัติศาสตร์ และมี ความเห็นว่า จุดประสงค์ของการแต่ง คือ เพื่อสร้างบารมีก่อนเสด็จข้ึนครองราชย์ และแสดงให้ ประจักษว์ า่ ทรงเปน็ “จกั รพรรดริ าช” 1.5 เครื่องสังคโลก สังคโลกหรือเครอ่ื งสังคโลก เปน็ คาทช่ี าวไทยรู้จักกันดีในนามของวัตถุโบราณที่มี คุณค่ายิ่ง มีลักษณะเป็นถ้วยชามส่ิงของเคร่ืองใช้ เคร่ืองประดับสถาปัตยกรรม ส่ิงผลิต
49 อันเนื่องมาจากความเช่ือในพิธีกรรมต่าง ๆ ซ่ึงเป็นเคร่ืองป้ันดินเผาเคลือบขี้เถ้าท่ีผลิตข้ึนใน สมัยสโุ ขทยั เคร่ืองสังคโลกทจ่ี งั หวัดสุโขทัย ปจั จุบันแบ่งตามเตาเผา มอี ยู่ 3 แหลง่ ดงั นี้ 1. เครือ่ งสงั คโลกเตาสโุ ขทยั หรอื เรยี กวา่ เตาทุเรียงสโุ ขทยั ปัจจุบันอยใู่ นบรเิ วณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ตาบลเมืองเก่า อาเภอเมืองสุโขทัย ตั้งอยู่แนวคูเมือง เรียกว่า แม่โจน เป็นเตาก่อด้วยอิฐ กว้าง 2 – 3 เมตร ยาว 5 – 6 เมตร ลักษณะเป็นเตาขุดลงไปในดิน ครึ่งหน่ึง ก่อโค้งเป็นประทุนเกวียน แบ่งออกเป็น 3 ตอน เป็นที่ใส่ไฟตอนหนึ่ง ที่วางถ้วยชาม ตอนหน่ึง และปล่องไฟตอนหน่งึ เคร่ืองสังคโลกท่ีได้จากเตาสุโขทัย เป็นภาชนะถ้วยโถโอชามที่เป็นของใช้สอย เป็นส่วนใหญ่ ลักษณะเฉพาะของเครื่องป้ันจากเตาทุเรียงแหล่งน้ีคือ เคร่ืองป้ันเคลือบลวดลาย สีดาหรือน้าตาล เนื้อดินค่อนข้างหยาบ ชุบน้าดินสีขาว ลวดลายสีเขียวอ่อน การเรียงถ้วยชาม เข้าเตาเผาแห่งน้ีจะใช้กี๋ ซึ่งเป็นจานที่มีขาเป็นปุ่ม 5 ปุ่ม วางคั่นระหว่างชามต่อชาม ฉะนั้น ภายในชามของเตาสุโขทยั จงึ มรี อย 5 จุดปรากฏอยู่เปน็ ส่วนมาก 2. เครอ่ื งสังคโลกเตาทเุ รียงปา่ ยาง ปัจจุบันอยูใ่ นบริเวณอทุ ยานประวตั ิศาสตร์ ศรสี ชั นาลัยบนฝัง่ ตะวันตกของแมน่ ้ายมเหนือแก่งหลวง หา่ งจากกาแพงเมืองเพยี ง 500 เมตร เครื่องสังคโลกที่ได้จากเตาเผาแหล่งน้ีเป็นสังคโลกดี ทั้งลวดลาย น้ายาเคลือบ สวยงาม รูปแบบพิเศษกว่าเตาเผาแหล่งอื่น แยกเป็นเตาเผารูปยักษ์ นาค มังกร และเตาเผารูป ตุก๊ ตา สันนิษฐานว่าเตานี้จะเป็นเตาหลวงท่ที าข้ึนใชเ้ ฉพาะบุคคลชั้นสูง 3. เครื่องสังคโลกเตาทเุ รยี งเกาะน้อย ปัจจุบนั อยใู่ นบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ ศรีสัชนาลัย ตาบลหนองอ้อ อาเภอศรีสัชนาลัย เตาเกาะน้อยนี้อยู่ถัดเตาป่ายางไปทางเหนือ ประมาณ 4 กโิ ลเมตร เครื่องสังคโลกทไ่ี ดจ้ ากแหล่งน้ีเป็นภาชนะถ้วยชาม จาน จานเชิง โถ ขวด สีของ เครื่องสังคโลกมีหลายสี เช่น สีน้าตาล สีเหลืองอ่อน สีเขียวไข่กา สีขาวมีลวดลายท่ีเขียนด้วย สีท่ีเข้มกว่า เขียนลงในภาชนะท่ียังดิบอยู่ ชุบเคลือบแล้วจึงเผา ซึ่งเช่ือกันว่าใช้เถ้าจากต้นก่อ (มะก่อตาหมูและไม้กอง) ซ่งึ เปน็ พนั ธุ์ไมท้ ีม่ ีในสุโขทยั และภาคเหนือ ชนิดและประเภทของเคร่ืองสังคโลก ถ้าพิจารณาวัสดุและความแข็ง อาจแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ ชนิดเน้ืออ่อนหรือ เนอื้ ดินและชนดิ เน้อื แข็งหรอื เน้ือหนิ
50 1. ชนดิ เนื้ออ่อนหรือเน้ือดิน ได้แก่ ภาชนะที่เน้ือดินมีความพรุนตัวค่อนข้างมาก สามารถดูดซึมน้าได้ ใช้ความร้อนในการเผาด้วยอุณหภูมิต่ากว่า 600 องศาเซลเซียส มีเน้ือดิน สีส้มอมแดง ผิวด้านนอกไม่เคลือบ แต่บางชิ้นมีการขัดผิวให้มันแล้วชุบน้าดินสีแดง การตกแต่ง ลวดลายทีพ่ บมากเป็นลายเชือกทาบ และลายขูดหรอื ลายขีดลงไปในเนอื้ ดิน 2. ชนิดเนื้อแข็งหรือเน้ือหิน ได้แก่ ภาชนะที่มีเนื้อแน่น แข็ง น้าและของเหลว ไม่สามารถไหลซึมผ่านได้ เวลาเคาะมีเสียงกังวาน ใช้ความร้อนในการเผาด้วยอุณหภูมิ อยู่ระหว่าง 600 - 1,100 องศาเซลเซียส สังคโลกเน้ือหิน มีท้ังเคลือบข้ีเถ้า การตกแต่งลายทั้ง ขูดขีดลายลงไปในเนื้อดินและการปะติดลวดลายลงไปบนผิว รูปทรงท่ีพบ ได้แก่ ครก สาก ไห ปากผายคอยาว โอ่งต่าง ๆ สังคโลกประเภทนพ้ี บมากท่ีเตาบา้ นเกาะนอ้ ย 2.1 ประเภทไม่เคลือบน้ายา ส่วนมากมีเน้ือดินสีเทาและสีเทาอมม่วง ผิวค่อนข้างด้าน มีบางชิ้นที่ผิวออกมันและมีร่องรอยคล้ายเคลือบน้ายาเป็นจุดประ ซึ่งเป็นการ เคลือบเองโดยธรรมชาติระหว่างการเผา ที่เรียกว่าเคลือบข้ีเถ้า การตกแต่งลายมีทั้งขูดขีดลาย ลงไปในเน้ือดิน และการปะติดลวดลายลงไปบนผิว รูปทรงท่ีพบได้แก่ ครก สาก ไห ปากผาย คอยาว โอ่งตา่ ง ๆ สังคโลกประเภทน้พี บมากที่เตาบ้านเกาะนอ้ ย 2.2 ประเภทผิวเคลือบน้ายา (อุณหภูมิการเผาเกิน 1,200 องศาเซลเซียส) แบง่ ตามลักษณะของสแี ละการตกแตง่ ลวดลายได้ดงั นี้ 2.2.1 ชนิดเคลือบน้ายาสีเขียว มีต้ังแต่สีเขียว สีฟ้า สีเงินอมฟ้า สีเขียว มรกต สีท้งั หมดนจ้ี ดั อยู่ในตระกูล เซลาดอน มที ้งั ลวดลาย และไมม่ ลี วดลาย พวกมีลวดลายก็คือ มลี วดลายบนภาชนะแลว้ เอาไปเคลือบนา้ ยา ผลิตมากทเ่ี ตาป่ายาง และเตาเกาะน้อย 2.2.2 ชนิดเคลือบสีน้าตาล สีของน้ายาเคลือบมีสีน้าตาลอ่อน จนถึง นา้ ตาลเข้ม ใชเ้ คลือบภาชนะหลายชนดิ เช่น ครก คณฑี ตะเกยี ง ไหขนาดเลก็ - ใหญ่ โอ่ง ตุ๊กตา ขนาดเลก็ ผลติ ทเี่ ตาปา่ ยางและเตาเกาะน้อย 2.2.3 ชนิดตกแตง่ ลวดลายดว้ ยการขูดลงไปในเนื้อดิน แล้วเคลือบสองสี ส่วนใหญเ่ ป็นลายพันธ์ไุ ม้เลื้อย แล้วนาไปชุบน้าละลายดินช้ันหนึ่ง ก่อนท่ีจะชุบน้าเคลือบ สีอ่อน เป็นพน้ื เช่น สคี รีมขาว เปน็ ต้น นอกจากน้ียังมีภาชนะเขียนลายใต้เคลือบ คือ การเขียนลายก่อนชุบเคลือบ แล้วนาไปเผา ลวดลายที่เขียนจะมีสีน้าเงินเข้ม ดา น้าตาล สังคโลกชนิดน้ีจะงดงามมาก และมี ราคาแพง
51 เครื่องสงั คโลก เตาสังคโลก ลวดลายท่ปี รากฏในถ้วยชามสังคโลก เครื่องสังคโลกในสมัยสุโขทัย มีลวดลายเฉพาะตัว โดยเฉพาะลวดลายท่ีพบมากใน ถ้วย จาน ชาม ตามคาอธิบายของคุณบุญชู-น้าค้าง ทิมเอม กล่าวว่าลวดลายที่พบมาก ได้แก่ กงจักร ปลา ดอกไม้ โดยเฉพาะลายปลา เป็นแบบเฉพาะของชาวสุโขทัย ไม่ได้มีแต่เพียง แบบปลาอยา่ งเดยี ว มีลายสัตว์นา้ ทกุ ชนิด เชน่ หอย กุ้ง ปู ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ เมืองสโุ ขทยั ดังคาทีว่ า่ “ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว” เครื่องปน้ั ดนิ เผาสโุ ขทัย เป็นศิลปะที่เต็มไปด้วยความย่ิงใหญ่ เป็นความงามท่ีขึ้นอยู่ กับความวิจิตรบรรจง สีท่ีเด่นและถือว่ามีความงดงามมากของเคร่ืองเคลือบสุโขทัยก็คือ สีเขียว ไข่กาหรือที่เรียกว่าเซลาดอน ลวดลายจะเขียนด้วยสีดาหรือสีท่ีมีน้าหนักค่อนข้างแก่สีเดียวกับ ภาชนะ คณุ สมบตั ิเช่นน้ยี ่อมมอี ยู่ในเครอื่ งป้ันดินเผาช้ันฝีมือโดยเฉพาะเทา่ นน้ั เครื่องป้ันดินเผาสุโขทัยสามารถแข่งขันกับงานเครื่องป้ันดินเผาของจีนในตลาด ต่างประเทศได้อยา่ งดีในสมัยน้นั ประเทศญีป่ นุ่ สะสมเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาของไทยเราไว้มาก และถือ ว่าเป็นของชั้นสูงที่มีค่าย่ิง แม้ในปัจจุบันก็ยังเป็นท่ีรู้จักกันไปท่ัวโลก หลักฐานที่ชี้ชัดว่าสุโขทัย ผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาไปจาหน่ายต่างประเทศ จากการค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2518 พบเรือสินค้า สมัยสุโขทัยบรรทุกเครื่องสังคโลกจมทะเลลึกท่ีอ่าวไทย พบเคร่ืองสังคโลกเป็นจานวนมาก ผู้เช่ียวชาญโบราณคดีของรัฐบาลเดนมาร์กและนักประดาน้าไทยได้ลงไปสารวจ มอบให้ กรมศลิ ปากรเก็บรกั ษาไว้ 2,000 กวา่ ชิ้น ล้วนแตม่ สี ภาพสวยงามและสมบูรณ์ เครื่องสังคโลกหรือเคร่ืองป้ันดินเผาของสุโขทัย ปัจจุบันได้รับการฟ้ืนฟูส่งเสริม ให้แพร่หลายและเจริญรุ่งเรือง โดยท่ีคนไทยควรจะอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนได้ช่ืนชม และประจักษ์
52 ชัดถึงความเฉลียวฉลาดของบรรพบุรุษที่สื่อให้เห็นถึงดินแดนแห่งอารยธรรมยิ่งใหญ่ ท่ีเรา ภาคภมู ใิ จ 1.6 ประเพณีกนิ สี่ถ้วย (ไขก่ บ นกปลอ่ ย มะลลิ อย อา้ ยต้อื ) ตามประวัตศิ าสตร์ มหี ลกั ฐานการจารึกชอ่ื ขนมไทยในแท่งศิลาจารึก ขนมที่ปรากฏ คือ ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ ซึ่งไข่กบ หมายถึง เม็ดแมงลัก นกปล่อย หมายถึง ลอดช่อง มะลิลอย หมายถึง ข้าวตอก อ้ายตื้อ หมายถึง ข้าวเหนียวดา ทั้ง 4 ชนิด ใช้น้า กระสายอยา่ งเดียวกันคอื นา้ กะทิและน้าตาลโตนด มีธรรมเนียมที่จะทาขนม 4 อย่างเลี้ยงใน งานแต่งงาน เรียกว่า ขนมสี่ถ้วย มีช่ือเป็น ปริศนาว่า “ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ” ซ่ึง ไข่กบ ก็คือ ขนมเม็ดแมงลัก ท่ีมี รูปร่างเหมือนไข่กบ นกปล่อย คือ ลอดช่อง ไทย ซ่ึงเวลากดลงจากพิมพ์จะเหมือนปล่อย นกจากกรง มะลลิ อย คือ ข้าวตอกรูปร่างขาว ๆ (ทีม่ าภาพ : https://www.wongnai.com/restaurants/237377Tm- เหมอื นดอกมะลิ อ้ายต้ือ คือ ข้าวเหนียวดานึ่ง เสนห่ จ์ นั ทน์/photos/ 1e5018af6fae4c968601b75dcf138908) สุกกินแล้วอิ่มต้ือหนักท้อง ขนมพวกนี้ ราดน้ากะทเิ คีย่ วกบั นา้ ตาลโตนด พิธีกรรมการสร้างครอบครัวใหม่หรือพิธีมงคลสมรสของชาวอาณาจักรสุโขทัย แต่อดีตมคี วามละเอียดปราณีต ดังนี้ 1. ก่อนจัดพิธีมงคลสมรส เจ้าภาพจะต้องข้ึนไปบนเรือนของญาติผู้ใหญ่ แล้วน่ังพับเพียบให้เรียบร้อย บอกวัตถุประสงค์ของการมาในครั้งน้ีว่า “ขอเรียนเชิญไปน่ัง การมงคลด้วยกัน” ญาติผู้ใหญ่และสัมพันธชนก็จะทราบได้ทันทีว่า เจ้าภาพเชิญไปร่วมงาน มงคลสมรส พร้อมทั้งถามวันเดือนปีที่จัดพิธี ถ้าเป็นการจัดงานที่เรือนหอของฝ่ายเจ้าบ่าว เรียกตามภาษาบาลีว่า อาวาหมงคล ถ้าเป็นการจัดงานท่ีเรือนหอของฝ่ายเจ้าสาว เรียกตาม ภาษาบาลวี ่า ววิ าหมงคล 2. เม่ือญาติผู้ใหญ่และสัมพันธชน จะบอกลูกหลานและเครือญาติมิตรสหายว่าจะ ไปไหน หรือมคี นถามวา่ จะไปไหน จะมคี าตอบว่า “ไปกินสี่ถ้วย” หมายถึง ได้รับเชิญไปร่วมงาน มงคลสมรส เมอื่ ตรวจดใู นหนังสอื ดรรชนคี ้นคาศิลาจารึกสุโขทัยแลว้ ไมม่ คี าวา่ กนิ ส่ีถ้วย แต่มิได้ หมายความว่า ไม่มีพิธีกรรมการมงคลสมรสแบบน้ีในสมัยสุโขทัย เพราะคาว่า กินส่ีถ้วยเป็น
53 ตัวชี้วัดหน่ึงของคนพูดภาษาไทยสยามสาเนียงสุโขทัย ในชุมชนท่ีอยู่นอกเหนือพื้นที่จังหวัด สุโขทัย เช่น ตาบลสะเดียง อาเภอเมือง เพชรบูรณ์ ชุมชนรอบ ๆ วัดพระมหาธาตุเมืองฝาง สวางคบรุ ี ตาบลผาจุก อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ตาบลทุ่งย้ัง อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ซ่ึงชุมชนตัวอย่างน้ีพูดภาษาไทยสยามสาเนียงสุโขทัย และมีพิธีกรรมมงคลสมรสท่ีเรียกว่า “กินสี่ถว้ ย” ตา่ งไปจากพธิ ีมงคลสมรสของชาวล้านนา ชาวลา้ นชา้ ง หรือชาวจนี และชาวอนิ เดยี 1.7 ดนตรีไทยและดนตรพี ืน้ บา้ นสมัยสุโขทยั มีคาท่ีพบในจารึกหลักที่ 1 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ด้านท่ี 2 บรรทัด ที่ 18 – 19 กล่าววา่ “ดว้ ยเสียงพาดเสยี งพิณ เสียงเล้อื นเสยี งขบั ” ในกลุ่มคาค่แู รก คอื “เสียงพาดเสยี งพณิ ” แยกออกได้เป็น 2 คา คือ เสียงพาดหรือ เสียงพาทย์ เป็นเสียงเคร่ืองดนตรีประกอบเคร่ืองตี และเสียงพิณ เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องดีด กลมุ่ คาคู่หลัง คือ “เสียงเล้ือนเสียงขับ” แยกได้ออกเป็น 2 คา เช่นเดียวกัน หมายถึง การร้องเพลง 2 ประเภท กล่าวคือ เสียงเล้ือน หมายถึง การเล่นเพลงตอบโต้โดยใช้ไหวพริบ ปฏิภาณ และความรู้รอบตัว สร้างบทเพลงแบบกลอนสด ร้องตอบโต้กัน มีลูกคู่ในฝ่ายของ คนร้องประกอบ ไม่ต้องการเครื่องดนตรีนอกจากการให้จังหวะโดยการปรบมือ ส่วน เสียงขับ หมายถงึ การรอ้ งเพลงรว่ มกับดนตรที ีเ่ รียกกันทั่วไปในปจั จบุ นั ว่า ร้องสง่ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร ไดใ้ หค้ วามหมายว่า เล้ือน หมายถึง ร้องเออ้ื น หรือ ขบั หมายถงึ ร้องเปน็ เนอ้ื เคร่อื งดนตรีไทยในสมัยสุโขทัย ได้แก่ วงแตรสังข์ ท่ีใช้บรรเลงในพระราชพิธีต่าง ๆ ประกอบด้วย แตรงอน ป่ีไฉนแก้ว กลองชนะ บัณเฑาะว์ และมโหระทึก วงปี่พาทย์เคร่ืองห้า ประกอบดว้ ย ปใ่ี น ฆ้องวง ตะโพน กลองทดั และฉ่งิ นอกจากน้ี ยังมีเครื่องดนตรี เช่น พิณ และ ซอสามสาย อย่ใู นสมัยนนั้ อีกด้วย (ท่มี าภาพ : https://thaimusicyoume.wordpress.com)
54 มงั คละเภรี สันนิษฐานว่า มังคละเภรี คงเข้ามาเผยแพร่ในอาณาจักรสุโขทัย สมัยพญาลิไท (ประมาณ 600 ปที ผี่ า่ นมา) โดยมาพรอ้ มกบั ชาวศรลี งั กา มงั คละเภรี เป็นวงดนตรีท่ีชาวศรีลังกา ใชป้ ระโคมบาเรอ พระบรมสารีริกธาตุเข้ียวแก้วของพระพุทธองค์ อันเป็นปูชนียวัตถุสาคัญท่ีสุด ของศรีลังกา ดนตรีพื้นบ้านมังคละ เป็นการละเล่นพื้นบ้าน มาตั้งแต่ยุคสุโขทัยเป็นราชธานี เป็น ดนตรีที่สืบทอดทางพระพุทธศาสนาจากศรีลังกา เข้าสู่นครศรีธรรมราชและสุโขทัย การละเล่น มังคละมีหลักฐานในศิลาจารึก หลักที่ 1 ว่า “เม่ือกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนม ดอกไม้... ไปสูดญัติกฐินเถิงอรัญญิกพู้น... เท้าห้อลานดบงคกลอง ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสยี งเลอ้ื น เสียงขบั ...” คาว่า “ดบงคกลอง” (อ่านว่า ดาบง คากลอง) เป็นคาโบราณที่มีใช้ต้ังแต่สมัย สุโขทัย แปลวา่ เป็นการประโคม หรอื ตกี ลองทข่ี ึงด้วยหนงั คาว่า “มังคละ” แปลว่า มงคล หรือสิ่งที่ เจริญก้าวหน้า ก ล อ ง มั ง ค ล ะ จึ ง เ ป็ น ด น ต รี ที่ เ ป็ น ม ง ค ล เคร่ืองดนตรีมังคละประกอบด้วย กลองสองหน้า จานวน 2 ใบ กลองมังคละ (จ๊กโกร๊ด) 1 ใบ ฆ้องโหม่ง จานวน 3 ใบ ปี่ชวา 1 เลา ฉาบเล็ก 1 คู่ ฉาบใหญ่ (ท่ีมาภาพ : https://sites.google.com/site/ 1 คู่ และอาจจะมีกรับไม้อกี 1 คู่ กไ็ ด้ watkungtaphao/kitchakam/mungkala/ ปจั จบุ นั มงั คละ มกั ใช้แห่ในงานมงคล เช่น sawangkabury) งานบวช ทอดกฐิน เป็นต้น “วงกลองมังคละ” ถ้าใช้ในงานศพ เช่น ประโคมศพ แห่อัฐิธาตุ จะใช้เฉพาะปี่ กลองสองหน้า และฆ้อง เรียกว่า “วงป่ีกลอง”เปน็ ต้น 1.8 สถาปัตยกรรมและปฏมิ ากรรมสมยั สโุ ขทยั สุโขทัยเป็นรัฐ สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนเมื่อประมาณตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 18 โดยมีศูนย์กลางอยู่ท่ีวัดพระพายหลวง ต่อมาในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้มีการย้ายเมืองมา ตง้ั อยบู่ รเิ วณทีเ่ ป็นเมอื งโบราณสุโขทัยท่รี ู้จกั กันในปจั จบุ ัน โดยมศี นู ย์กลางคือวดั มหาธาตุ
55 จากหลักฐานด้านจารึกให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ว่าเมืองสาคัญในแคว้นสุโขทัย มีท้ังหมด 5 เมือง คือ เมืองศรีสัชนาลัย เมืองสร ลวง สองแควหรือพิษณุโลก เมืองสุโขทัย เมืองชากังราว (กาแพงเพชร) และเมืองพิชัย โดยมีเมืองสุโขทัยเป็นเมืองของผู้นาท่ีจะเข้ามา ปกครองดนิ แดนเหลา่ นี้ ศลิ ปะสโุ ขทยั เริ่มตัง้ แต่เม่อื แคว้นสุโขทยั รับพระพทุ ธศาสนาเถรวาทจากลังกา ต้ังแต่ สมัยพ่อขุนรามคาแหงเมื่อพุทธศตวรรษท่ี 19 ศิลปะสุโขทัยจัดได้ว่าเป็นศิลปะไทยที่งดงามที่สุด และมลี กั ษณะเฉพาะของตัวเอง โดยเฉพาะพระพทุ ธรปู สโุ ขทัยซงึ่ มีลักษณะเด่นคือ พระรัศมีเป็น เปลวเพลิง ขมวดพระเกศาเป็นก้นหอย พระพักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์ อมยมิ้ เล็กนอ้ ย พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์เล็ก ครองจีวรยาวลงมาจรดพระนาภี ปลายจีวรเป็น ลายเข้ียวตะขาบ นอกจากนี้ในสมัยสุโขทัยยังนิยมทาพระพุทธรูปตามอิริยาบทท้ังสี่คือ ยืน เดิน น่ัง และนอน ศิลปะสุโขทัยไม่เพียงแต่ทากันในแคว้นสุโขทัยเท่าน้ันแต่ได้ส่งอิทธิพลให้แก่ศิลปะ อยุธยา แมว้ า่ จะถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจกั รอยุธยาแล้วกต็ าม สุโขทัยนอกจากจะมีพระพุทธรูปท่ีมีลักษณะเฉพาะของตัวเองแล้ว ยังมี สถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเฉพาะตัวเองอีกด้วยคือ เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือเจดีย์ทรง ดอกบัวตมู ซง่ึ เปน็ สัญลกั ษณข์ องพุทธศาสนา เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์พบโดยทั่วไปในเมืองสาคัญ สมัยสุโขทัย เช่น ที่จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ นอกจากนี้ยังพบท่ีวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงขึ้นไปพร้อมกับพุทธศาสนานิกายเถรวาทท่ีพระมหาธรรมราชาลิไทส่ง พระสมุ นเถระข้นึ ไปเผยแผ่ศาสนา 1) เจดีย์สมัยสโุ ขทยั เจดีย์สมัยสุโขทัย ได้รับอิทธิพลแบบอย่างมาจากแหล่งต่าง ๆ กัน เช่น อินเดีย ลังกา ขอม มอญ และช่างจากสกุลช่างทางใต้ คือเมืองนครศรีธรรมราช และไชยา ช่างสุโขทัย ได้พยายามดัดแปลงรูปแบบ ให้มีลักษณะแบบอย่างผสมกลมกลืนเป็นของตนเอง คือถือหลัก ร้จู กั รับและปรบั ปรุง จงึ เป็นผลให้ศิลปกรรมสุโขทัยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเป็นที่รู้จักของชาวโลก ทั่วไป ซึ่งบ่งบอกถึงศรัทธาอันแรงกล้าท่ีมีต่อพระพุทธศาสนา และแนวความคิดสร้างสรรค์ ในทางสถาปัตยกรรมทไี่ ม่ซา้ แบบกบั ของชนชาตใิ ด เจดีย์สุโขทัย จาแนกได้ตามลักษณะของรูปทรงดังท่ี มะลิ โคกสันเทียะ ไดจ้ าแนกไว้ ดังน้ี 1. เจดียท์ รงดอกบัวตมู 2. เจดยี ท์ รงกลมแบบลงั กา
56 3. เจดยี ์ผสมแบบลังกาและศรวี ชิ ยั 4. เจดีย์แบบลงั กาผสมปรางค์ 5. เจดีย์ทรงมณฑปภายในตง้ั พระพุทธรูปองคเ์ ดียว และพระพุทธรปู 4 อริ ิยาบท 6. เจดียแ์ บบเบ็ดเตลด็ ในบรรดาเจดีย์ท้ังหมดเจดีย์ทรงดอกบัวตูมเป็นเจดีย์ที่มีปรากฏในสมัยสุโขทัย เป็นจานวนมาก เป็นเจดยี ์ทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของสโุ ขทยั เจดียท์ รงดอกบวั ตูม เ จ ดี ย์ ท ร ง ด อ ก บั ว ตู ม มี รู ป ท ร ง เ ด่ น ส ง่ า ง า ม ฐานช้ันล่างส่ีเหล่ียมจัตุรัสซ้อน ลดหล่ันกัน 3 หรือ 4 ชั้น ถัดข้ึน ไปเป็นฐานแว่นฟ้าซ้อนกันค่อนข้างสูง รองรับเรือนธาตุ โดยเฉพาะพระเจดีย์ประธานวัดมหาธาตุ สุโขทัย มีฐานสูงใหญ่ การจัดแผนผังพิเศษผิดกับเจดีย์องค์อ่ืน ๆ และวัดเจดีย์เจ็ดแถว เมืองศรีสัชนาลัย ส่วนยอดของดอกบัวตูม บางแห่งยังมีร่องรอย ของกลีบบัวป้ัน 8 กลีบ เหลืออยู่ เช่น เจดีย์วัดตระพังเงิน เจดีย์วัดช้างล้อม และเจดีย์รายที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย ลวดลายประดับตรงส่วนฐานของดอกบัวทั้ง 4 ทิศ ของพระเจดีย์ บางองค์ลายหน้าราหู หรือหน้ากาล หรือเกียรติมุขปรากฏอยู่ (ท่ีมาภาพ : https://www.bloggang.com/ ทาเป็นซุ้มเล็ก ๆ ประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ เช่น เจดีย์ mainblog.php?id=chubbylawyer&mon รายวัดมหาธาตุ สุโขทัย สว่ นทางดอกบวั ตมู องคป์ ระธานใน th=29-06-2016&group=44&gblog=6) วัดเจดีย์เจ็ดแถวนั้น ตรงมุขของดอกบัวตูมมีกลีบบัวมุมละ 3 กลีบ เรียงอยู่ระหว่างหน้าราหู ท่ีกลีบบัวมีรูปครุฑปั้นปูนประดับอยู่ทุกกลีบและยังอยู่ในสภาพชัดเจนดี แสดงให้เห็นว่ารูปครุฑ พาหนะของพระนารายณ์ซึ่งเคยพบเห็นประดับเป็นครุฑแบกอยู่ตามมุมพระปรางค์สุโขทัยนั้น ไดน้ ามาใชป้ ระดบั ยอดเจดยี ท์ รงดอกบัวตมู มุมละ 3 ตัว รวม 12 ตวั นักโบราณคดี และนักประวัติศาสตร์ยกย่องว่า เจดีย์ทรงดอกบัวตูม เป็นสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยแท้ (Pure Sukhothai Style) ท่ีศิลปินสุโขทัยคิดแบบอย่าง ของตนข้ึน เจดีย์แบบนี้นิยมสร้างไว้ตามเมืองต่าง ๆ ในสุโขทัยเท่านั้น ไม่มีการสร้างต่อในสมัย กรงุ ศรอี ยธุ ยา แสดงว่าศิลปะแบบนี้ไดส้ น้ิ สุดลงพร้อมกับการสิน้ อานาจของอาณาจักรสโุ ขทยั
57 2) พระพุทธรูปสมยั สุโขทัย พระพุทธรปู สุโขทยั อาจแบ่งไดเ้ ป็น 4 หมวด ดว้ ยกนั คอื 1. หมวดใหญ่ 2. หมวดกาแพงเพชร 3. หมวดพระพุทธชินราช 4. หมวดเบ็ดเตลด็ หรือหมวดวัดตะกวน 1. พระพุทธรปู หมวดใหญ่ (ทม่ี าภาพ : https://sites.google.com/site/wadsakhayniprathesthiy/home/wad-tirmitr-withya-ram-wrwihar) พระพุทธรูปสุโขทัยหมวดใหญ่มีอยู่ท่ัวไป เป็นลักษณะศิลปะสุโขทัยโดยเฉพาะ มลี ักษณะคอื พระรัศมเี ป็นเปลว ขมวดพระเกศาเลก็ พระพักตรร์ ปู ไข่ พระขนงโกง่ พระนาสิกงุ้ม (ตามแบบลักษณะมหาบุรุษจากอินเดีย) พระโอษฐ์อมย้ิมเล็กน้อย พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์เล็ก ครองจีวรห่มเฉียง ชายจีวรยาวลงมาถึงพระนาภี ปลายเป็นเข้ียวตะขาบ นิยมสร้างแบบ ปางมารวิชัย ประทับขดั สมาธริ าบ ฐานเป็นหน้ากระดานเกลี้ยง
58 2. พระพุทธรูปหมวดกาแพงเพชร (ทีม่ าภาพ : http://gotoknow.org/blog/vatin-history/334463) มีลักษณะพระพกั ตร์ตอนบนกว้าง พระหนเุ สยี้ ม อยู่เป็นจานวนมาก แต่ค้นพบนอ้ ย รูปตัวอย่างเป็นเศียรพระพุทธรูปในพิพิธภณั ฑ์สถานพระนคร กรงุ เทพมหานคร 3. พระพุทธรูปหมวดพระพทุ ธชินราช (ทม่ี าภาพ : http://gotoknow.org/blog/vatin-history/334463) พระพกั ตรค์ อ่ นข้างกลม พระองค์คอ่ นข้างอวบอ้วน นว้ิ พระหตั ถ์ท้ังสี่มีปลายเสมอกนั มีลักษณะของมหาบุรุษ 32 ประการอยู่มาก หมวดนี้เช่ือกันว่าคงเร่ิมสร้างคร้ังแผ่นดินพระเจ้า ลไิ ท ราวตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี 20 หรอื หลงั กว่าน้ัน
59 4. พระพทุ ธรปู หมวดเบ็ดเตลด็ หรอื หมวดวดั ตะกวน (ท่ีมาภาพ : http://gotoknow.org/blog/vatin-history/334463) หมวดเบ็ดเตล็ด หรือหมวดวัดตะกวน เป็นหมวดพระพุทธรูปแบบสุโขทัยท่ีมีศิลปะ แบบล้านนาและลังกาเข้ามาปะปนอยู่มาก บางองค์มีลักษณะชายสังฆาฏิหรือจีวรส้ันพระนลาฏ แคบ แต่พระองค์และฐานมักเป็นแบบสุโขทัย ที่เรียกว่าแบบวัดตะกวนน้ัน เพราะได้พบ พระพุทธรูปแบบสุโขทัยและแบบแปลก ๆ เหล่าน้ีที่วัดตะกวนในเมืองสุโขทัยเป็นครั้งแรก พระพุทธรปู แบบนีบ้ างองค์อาจเป็นพระพทุ ธรปู รนุ่ แรกของศิลปะแบบสโุ ขทยั กเ็ ป็นได้ กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 มรดกทางวัฒนธรรมสมยั สุโขทยั (ให้ผ้เู รยี นทากจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 1 ในสมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)
60 เรื่องท่ี 2 แนวทางในการสืบสานมรดกทางวฒั นธรรมสมัยสโุ ขทยั คาว่า “สืบสาน” มีทั้งสืบและสาน คาว่า สืบ ในความหมายหน่ึงหมายถึง สืบสาว คือ ย้อนลงไปในความเป็นมาเพ่ือหาเหตุปัจจัยในอดีต และการย้อนลงไปหาท่ีเรียกว่า สืบสาว นั้น มี 2 ด้าน ด้านหนึ่ง คือ สืบสาวในเชิงประวัติศาสตร์ เพื่อหาความเป็นมาในอดีต ว่าวัฒนธรรมน้ีเกิดสืบเน่ืองมาจากอะไร ต้นตออยู่ที่ไหน สืบต่อกันมาอย่างไร ทุกอย่างท่ีมีอยู่ มคี วามเปน็ มาทส่ี บื สาวไปในอดตี ได้ ถ้าชนชาติใดมีปัญญา มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับรากฐาน ที่มาในประวัติศาสตร์แห่งวัฒนธรรมของตน ชาติน้ันก็มีทางที่จะทาให้วัฒนธรรมของตนเจริญ งอกงามได้ แต่ในบางสังคม คนมีความมืดมัวไม่รู้จักสืบสาว หาความเป็นมาแห่งวัฒนธรรมของ ตนในอดีต กจ็ ะทาให้วฒั นธรรมมดื มวั ไปดว้ ย วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทาความเจริญ งอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมการแตง่ กาย วิถีชวี ิตของหมคู่ ณะ เชน่ วัฒนธรรมชาวเขา เป็นต้น ความม่งุ หมายของมรดกทางวฒั นธรรม 1. เพ่อื ปลกู ฝงั มรดกทางวฒั นธรรม 2. เพ่ือให้มีความร้คู วามเข้าใจ มรดกทางวฒั นธรรม 3. เพอื่ เปน็ การส่งเสรมิ มรดกทางวฒั นธรรม 4. เพอ่ื เปน็ การฝึกใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ัติได้ แนวทางการสบื สานมรดกทางวฒั นธรรม 1. ค้นคว้า วจิ ยั ศกึ ษา และเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. การอนุรักษ์โดยการปลกู จติ สานกึ และสร้างจติ สานึกท่ีตอ้ งรว่ มกนั อนุรกั ษ์ 3. การฟ้ืนฟูโดยเลือกสรรมรดกทางวัฒนธรรมที่กาลังสูญหาย หรือท่ีสูญหายไป แลว้ มาทาใหม้ คี ุณค่า และมคี วามสาคญั ตอ่ การดาเนินชีวติ 4. การพัฒนาโดยริเร่ิม สร้างสรรค์ และปรับปรุงมรดกทางวัฒนธรรมในยุคสมัย ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน 5. การถ่ายทอดโดยนามรดกทางวัฒนธรรมมาเลือกสรร กล่ันกรอง ด้วยเหตุและผล อย่างรอบคอบ และรอบดา้ น แล้วไปถา่ ยทอดใหค้ นในสงั คมรับรู้ 6. การส่งเสริมกิจกรรมโดยการส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสานมรดก ทางวฒั นธรรม
61 7. การเผยแพร่และแลกเปลี่ยนโดยการส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการเผยแพร่และ แลกเปลีย่ นมรดกทางวฒั นธรรมอยา่ งกวา้ งขวางด้วยส่อื และวิธีการต่าง ๆ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 แนวทางในการสบื สานมรดกทางวัฒนธรรมสมยั สโุ ขทยั (ใหผ้ ูเ้ รียนทากิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 ในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)
62 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตรส์ มัยสุโขทยั สาระสาคัญ การบริหารจัดการน้าในสมัยสุโขทัย เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์การบริหาร จัดการน้า และการอยู่กับสายน้าสมัยโบราณ ท่ีมีความสาคัญในเร่ือง การเลือกท่ีตั้งในการสร้าง บ้านแปงเมือง การต้ังถ่ินฐานบ้านเรือน การใช้ทรัพยากรน้าจากธรรมชาติ การทดน้ามาใช้ ในเมือง วิธีการควบคุมน้าด้วยระบบชลประทาน ประโยชน์ของการชลประทาน แหล่งน้าที่บริเวณ รอบเมืองสุโขทัย เช่น การชลประทานในเขตชุมชนวัดพระพายหลวง และการชลประทานในเขต เมืองสุโขทัย ตวั ชว้ี ัด 1. อธิบายวิธบี รหิ ารจัดการน้าสมยั สุโขทัย 2. ยกตวั อยา่ งการประยกุ ต์ใช้การอยู่กับน้าในสมยั โบราณกบั ชีวิตประจาวัน ขอบข่ายเนอื้ หา 1. ความเป็นมาของประวัตศิ าสตรก์ ารบริหารจัดการนา้ 2. การอยูก่ บั นา้ สมัยโบราณ เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา 10 ชว่ั โมง สอื่ การเรียนรู้ 1. ชุดวชิ าประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย รหสั รายวชิ า สค12024 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา
63 เร่อื งท่ี 1 ความเป็นมาของประวตั ศิ าสตรก์ ารบริหารจัดการน้า สมัยสุโขทัย ต้ังเมืองในเขตพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนบน ปรากฏ แนวคูน้าคันดินล้อมรอบเป็นกาแพงเมืองท้ัง 4 ด้าน ขนาดกาแพงเมืองด้านทิศเหนือและ ทิศใต้ ยาวประมาณ 1,800 เมตร ส่วนด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตก กว้างประมาณ 1,600 เมตร พื้นที่ประมาณ 1,810 ไร่ เมืองสุโขทัยตั้งอยู่ท่ีลาดเชิงเขา มีเขาประทักษ์อยู่ทางทิศใต้และ ทิศตะวนั ตก ทาหนา้ ท่ีเปน็ หลังคารบั นา้ กอ่ นจะไหลลงส่ทู ล่ี าดลงมาทางด้านทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนขอบเขตของพื้นท่ีราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาทางด้านทิศเหนือบริเวณน้ีจะปรากฏภูเขาเล็ก ๆ โผลข่ น้ึ มา ไม่สูงมากนัก เป็นพน้ื ที่ราบกว้างสมา่ เสมอตอ่ เน่อื งไปตลอด จนถึงด้านทิศใต้ของพ้ืนที่ ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ที่อยู่ทางภาคกลางของประเทศไทย ด้านทิศตะวันออก ซึ่งเป็นที่ต้ัง เมืองสุโขทัย และต่อเน่ืองไปสู่พื้นที่ราบลุ่มแม่น้ายมท่ีอยู่ห่างออกไปราว 12 กิโลเมตร ด้านทิศ เหนือและทิศตะวันออกของเมือง เป็นที่ลุ่มต่ากว่าเมืองได้ใช้เป็นที่ทาไร่ ทาสวน และทานา จึงมี ผคู้ นอาศยั อยหู่ นาแน่นมากกว่าด้านทศิ ตะวนั ตกและทิศใต้ เป็นพื้นท่ีลาดเชิงเขา มีคลองแม่ลาพัน ซ่ึงเกิดจากภูเขาในเขตเมืองลาปางไหลมารวมกับลาน้ายมท่ีท่าธานี ผ่านแนวกาแพงเบื้อง ตะวันออก
64 แม้ว่าลาน้ายมจะเป็นลาน้าที่มีความสาคัญต่อเมืองสุโขทัยและเมืองอื่น ๆ ที่ใกล้เคียง น่าจะเลือกเป็นท่ีตั้งของเมือง แต่ผู้ที่สร้างชุมชนสมัยสุโขทัยก็ไม่ได้เลือกเช่นน้ัน เพราะเหตุผลว่า พื้นที่ลาดของภูเขาท่ีมีความสูงพอดีกับขอบอ่างที่เป็นที่ลุ่มแบบรูปพัดเชิงเขา ได้ชัยภูมิท่ีเหมาะกว่าการท่ีจะไปต้ังเมืองอยู่ในอ่างที่เป็นท่ีลุ่มต่าทาให้น้าท่วมถึงตลอดเวลา จนเปน็ ทะเลหลวง ในการเลือกที่ต้ังเมืองที่ห่างไกลจากลาน้าเช่นนี้ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการใช้ เส้นทางคมนาคมจากเมืองไปสู่เส้นทางสัญจรใหญ่ เพราะทางด้านตะวันออกของชุมชนมีลาน้า ลาพันไหลเลียบมาตามไหล่ตะพักของเขาประทักษ์ไปลงสู่ลาน้ายม ที่สามารถใช้เป็นเส้นทาง คมนาคมได้ดี และยังมีสายน้าอ่ืนที่ไหลลงมากจากเทือกเขาต่างๆ ทางด้านทิศตะวันตก ผ่านที่ ราบซ่ึงใช้เป็นท่ีการเกษตรไปสู่ลาน้ายม ทั้งยังสามารถใช้เป็นเส้นทางสัญจรและขนส่งไปสู่ลาน้า ใหญไ่ ดเ้ ชน่ กัน จากการเลือกท่ีต้ังของเมืองสุโขทัยบนชั้นเชิงลาดของภูเขาที่มีฐานตัวเมืองเป็ น ดินภูเขาท่ีมีความแข็งและร่วนมาก ไม่สามารถกักเก็บน้าไว้ใช้เพาะปลูกได้ เป็นเหตุอย่างหน่ึงที่ ทาให้แหล่งน้าใต้ดินภายในบริเวณเมืองต่ากว่า 5 เมตรจากผิวดิน นอกจากจะได้รับพัฒนาการ นาน้ามาใช้ด้วยวิธีอื่น ได้แก่ การสร้างสรีดภงส์ (สรีดภงส์ อ่านว่า สะ-หรีด-พง เป็นคานาม แปลว่า เข่อื น หรอื อา่ งเก็บนา้ ทานบ) และฝายกั้นน้าเพ่ือใช้ในการเกษตรกรรม ส่วนพื้นท่ีสร้าง เมืองหรือชุมชนเหมาะแก่การต้ังชุมชน เพราะเมืองสุโขทัยได้แยกเอาพ้ืนท่ีทานา ทาไร่ ออกไป อยู่ในส่วนอ่ืน จากท่ีตั้งของเมืองซึ่งใช้เป็นศูนย์กลางของการปกครองและที่อยู่อาศัยตลอดจน การประกอบกิจกรรมทางดา้ นการศาสนาและค้าขาย ในสมัยสุโขทัยมีการเลือกทาเลที่ตั้งบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย การเลือกภูมิประเทศ จะอยู่ใกล้ลาน้า สะท้อนให้เห็นว่าคนสุโขทัยมีแนวคิดเป็นอย่างเดียวกัน แสดงให้เห็นถึงภูมิรู้ ในเรือ่ งระบบชลประทานแบบเหมืองฝายซึ่งสร้างข้ึนเพ่ือเป็นการป้องกันน้าท่วม ก้ันเก็บน้าไว้ใช้ ในการเกษตร รวมท้ังเป็นแนวป้องกันภัยสงครามที่คุ้นเคยสืบต่อกันมานาน จึงเกิดเป็น ภูมปิ ญั ญาในการบริหารจัดการสร้างบ้านแปงเมืองสมัยโบราณ จะต้ังอยู่ใกล้กับแหล่งน้า เพ่ือใช้ ในการอุปโภคบริโภคของชาวบ้านชาวเมอื ง แตข่ ้ึนอยกู่ ับว่าแหล่งนา้ น้นั เป็นแหล่งน้าแบบใด แหล่งน้านิ่ง เช่น หนอง บึง ทะเลสาบ สระน้า หรือ ตระพัง (ตระพัง หมายถึง แอ่ง บ่อ หนอง กระพัง ตระพัง หรือ สะพัง เรียกบ่อที่เกิดข้ึนเอง หรือสระน้าท่ีขุดลงไปใน พืน้ ดนิ ) บาราย คือ สระน้าทมี่ คี นั ดนิ ล้อมรอบ แหลง่ นา้ ไหล หรอื อา่ งเกบ็ น้าท่สี รา้ งขนึ้ ประเภทลานา้ หรือแมน่ ้า
65 สมัยโบราณการเลือกพ้ืนท่ีต้ังเมืองอยู่ ณ บริเวณใดน้ัน จะต้องพิจารณาจุดแข็ง ทางภูมิศาสตร์ของพ้ืนที่เป็นหลัก ประกอบด้วย สภาพความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ การเป็น ชัยภูมิท่ีดีในทางทหาร และที่สาคัญ บ้านเมืองต้องมีความปลอดภัยจากน้าท่วมในฤดูน้าหลาก และไม่ขาดแคลนน้าใช้อุปโภคบริโภคในฤดูแล้ง การเลือกหาพ้ืนที่ตั้งเมืองให้ตรงตามลักษณะ ดังกล่าว จะต้องอาศัยภูมิความรู้ทางภูมิศาสตร์และความเข้าใจที่ละเอียดทางด้านระบบสังคม สมัยโบราณ จะเชื่อมโยงเป็นระบบด้วยการจัดความสัมพันธ์ระหว่าง คน กับ ธรรมชาติและ อานาจเหนือธรรมชาติ เพราะการสร้างบ้านแปงเมืองถือเป็นสัญลักษณ์แห่งความม่ันคง ของมนุษย์ ท้ังด้านอานาจการเมือง การปกครอง การค้าขายแลกเปล่ียน และการทามาหากิน หากจะย้ายไปสร้างเมอื งใหมท่ ี่ใดอกี กเ็ ป็นไปดว้ ยเหตุภัยสงคราม หรือภยั ธรรมชาติครั้งรุนแรงจน เมอื งพังทลายเสยี หายมากเทา่ นัน้ ส่วนการตงั้ ถิน่ ฐานบ้านเรือนอย่เู มืองสุโขทัยโบราณน้ัน มักจะพบอยู่บริเวณลาน้า เล็ก ๆ และมีพื้นท่ีรับน้าท่ีเป็น หนอง บึง และเล้ียงชีพด้วยการเกษตรเป็นหลัก ดังนั้นจึงมี 2 ปัจจยั ในการเลือกตัง้ ถนิ่ ฐาน คือ 1. แหล่งน้า คือ ปัจจัยสาคัญที่สุดสาหรับการทาเกษตร โดยอาณาบริเวณสมัย สุโขทัยมีลาน้าขนาดใหญ่ผ่านถึง 3 สาย คือ ลาน้าปิง ลาน้ายม ลาน้าน่าน โดยลาน้าท้ัง 3 สาย นี้ไหลลงไปรวมกันที่เมืองนครสวรรค์ ช่วยให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ต่อการเกษตร แต่ในฤดูแล้ง จะมีปัญหาเพราะน้าน้อย ส่วนในหน้าน้าหลากจะไหลล้นตลิ่งในปริมาณสูง ทาให้สองฟากของ แมน่ า้ ท่เี หมาะแกก่ ารเกษตรกรรมไม่สามารถเพาะปลกู ได้ 2. สภาพพ้ืนท่ีดิน คือ ปัจจัยสาคัญรองลงมาจากสภาพพ้ืนที่น้า การตั้งถ่ินฐาน ของชุมชนโบราณบนพ้ืนท่ีรับน้า เช่น ลาน้าเล็ก ๆ หรือ หนอง บึง ธรรมชาติตามฤดูกาล ก่อให้เกิดพื้นที่ 3 ลักษณะ คือ พื้นที่ที่อยู่ระหว่างเขาลงมาตามท่ีราบลุ่มแม่น้า พ้ืนที่บริเวณ ลุม่ นา้ ใกล้เคียงกัน และพื้นที่ราบลุ่มน้า เป็นพ้ืนที่ท่ีเหมาะกับการทาการเกษตรมากท่ีสุด พ้ืนที่น้ี ครอบคลมุ บรเิ วณเมอื งพิษณุโลก สมัยสุโขทัยบ้านเมืองมีความร่มเย็น อุดมสมบูรณ์ด้วยมีพื้นที่ในการทา การเกษตรและมผี ลผลิตเพียงพอในการเลี้ยงประชาชนทมี่ จี านวนไม่มากนัก มีระบบชลประทาน แบบเหมือง ฝาย คันดิน ทานบ เข่ือน นาน้าเข้าพ้ืนท่ีการเกษตร เพื่อใช้อุปโภคบริโภค สาหรับ ชาวบา้ นชาวเมือง คอื 1. สรีดภงส์ 1 (ทานบพระร่วง1) (สรีดภงส์ อ่านว่า สะ-หรีด-พง เป็นคานาม แปลว่า เขื่อน หรือ อ่างเก็บน้า ทานบ) สรีดภงส์ตั้งอยู่ห่างตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
66 พบแนวคันดินเชื่อมต่อระหว่างเขากิ่วอ้ายมาและเขาพระบาทใหญ่ มีการขุดดินจากด้านใน เพ่ือนามาปรับถมเป็นคันดินกั้นน้า รับน้าจากเทือกเขาประทักษ์ เขาค่าย เขาเจดีย์งาม ท่ีเป็น พ้ืนท่ีหลังคารับน้า ไหลลงมาเป็นลาธาร หรือ โซก ต่างๆ เช่น โซกพระร่วงลองพระขรรค์ โซกเรอื ตามอญ โซกอา้ ยกา่ ย โซกนา้ ดิบชะนาง โซกชมพู่ โซกพม่าฝนหอก 2. สรีดภงส์ 2 (ทานบก้ันน้าโคกมน) ต้ังอยู่ท่ีบ้านมนต์คีรี ห่างจากกาแพงเมือง ด้านทิศใต้ไปตามแนวคนั ดินก้นั นา้ ประมาณ 7.6 กิโลเมตร จะไปบรรจบคันดินที่กันน้าโคกมนท่ี ก้ันเขานายา ตรงกลางทานบเจาะขาดเปน็ ชอ่ งระบาย กวา้ งประมาณ 3 - 4 เมตร เพ่ือระบายน้า เป็นแนวโค้งโดยก้ันทางทิศตะวันออกเขานายาและเขากุดยายชี คันดินหายไปตรงบริเวณ เหมืองยายองึ่ 3. เหมืองยายอ่ึง เป็นลาธารขนาดใหญ่ รับน้าจากลาธารเล็ก ๆ 12 สาย ท่ีไหล มาจากเทือกเขาโป่งสะเดา เขาคุยบุนนาคและเขาอีลม น้าจากเหมืองยายอ่ึงจะไหลเลียบลาธาร เขาอ้อมออกไปในที่ราบลุ่มผ่านหน้าผาเขาแดง ซ่ึงจากเขาแดงจะมีลาธารอีกสาย คือ น้าโคก หรือ บอ่ นา้ ผดุ 4. ท่อปู่พระญาร่วง รับน้าจากแม่น้าปิง เข้ามาเลี้ยงทุ่งนา อาเภอพรานกระต่าย (จงั หวัดกาแพงเพชร) และอาเภอครี ีมาศ อาเภอกงไกรลาศ (จังหวัดสุโขทัย) 5. น้าโคก ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักท่ี 1 ที่กล่าวว่า “เบื้องหัวนอน มีป่าม่วง ป่าขาม มีน้าโคก มีพระขพุงผี น้าโคกหรือบ่อน้าผุด ต้ังอยู่ถัดลงมาทางทิศใต้ของเหมืองยายอ่ึง เปน็ แหลง่ น้าทีไ่ หลมาจากใตด้ นิ ทาให้เกดิ ลาธารไหลไปรวมกับเหมืองยายอึ่ง ก่อนไหลไปรวมกัน ทสี่ รีดภงส์ 2 (ทานบกนั้ นา้ โคกมน) เมอ่ื ปรมิ าณนา้ มีมากเกินไป ทางหนึ่งจะระบายออกท่ีปากท่อ กลางทานบอีกทางหนึ่งจะไหลออกไปตามเหมืองยายอ่ึง ไปบรรจบกับทานบก้ันน้า เพ่ือใช้ใน การเกษตรกรรมตามชุมชนรมิ ถนนพระรว่ ง 6. ทรากน้าตกท่ีเกดิ จากเทอื กเขาประทักษ์ ทส่ี าคญั มี 2 แหง่ คือ 6.1 โซกเป็ด (ธารน้า) เป็นแหล่งต้นน้าท่ีมีน้าซึมผ่านทรายชื้นเปียกไปตาม แนวลาธาร ทรายที่อยู่พื้นลาธารมีสีดาอมน้าตาลคล้ายข้ีเป็ดอยู่ท่ัวไป อาจเกี่ยวกับท่ีมาของ ชอ่ื แหลง่ โดยชาวบา้ นอาจเคยเรียกว่า โซกขเี้ ป็ด แล้วกรอ่ นเหลือเพยี ง โซกเป็ด น้าจากโซกเป็ดน้ี จะไหลไปสู่ทานบกนั้ นา้ แล้วระบายไหลออกไปรวมกับคลองยาง 6.2 โซกขเี หล็ก (ธารน้า) ต้ังอยู่ทางด้านใต้ของโซกเป็ด น้าจากโซกขี้เหล็กจะ ไหลไปหาทานบกน้ั น้า และไหลไปรวมกบั เหมอื งยายอ่ึงตอ่ ไป
67 ในส่วนการทดน้ามาใช้ในและนอกเมืองเก่าสุโขทัย จะมีสระเก็บน้า ประมาณ 175 สระ มีทั้งแบบขุดลงไปในดิน และกรุผนังด้วยอิฐหรือศิลาแลง บ่อที่ลึกท่ีสุดอยู่บริเวณ ด้านหลังอนุสาวรีย์พ่อขุนรามคาแหงมหาราช มีคลองส่งน้าจากบริเวณเมืองช้ันในทางทิศเหนือ ของวดั มหาธาตุ ส่งนา้ จากตระพังตระกวน (บอ่ นา้ ) ข้ามมายังตระพังสอ (บ่อน้า) โดยคูเมืองและ กาแพงเมืองสุโขทัยวางตัวเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า มีคันดินเป็นกาแพง 3 ช้ัน และคูน้า 3 ชั้น ทาหน้าที่เป็นแนวป้องกันข้าศึกและเป็นคันบังคับน้ามาใช้ประโยชน์ โดยเป็นน้าท่ีไหลมาจาก คลองเสาหอด้านทิศตะวันตกมายังบริเวณคูเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงคงมีท่อเชื่อมสู่ คูเมอื งชั้นใน กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 1 ความเปน็ มาของประวตั ิศาสตร์การบรหิ ารจดั การนา้ (ให้ผู้เรียนทากจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)
68 เรอ่ื งท่ี 2 การอยกู่ ับนา้ สมยั โบราณ สภาพทางภูมศิ าสตร์และแหลง่ ทต่ี ้งั ของสมัยสโุ ขทยั เป็นพนื้ ที่ลาดเอียงเพราะเป็น พื้นท่ีเชิงเขาทาให้ไม่สามารถกักเก็บน้าได้ตามธรรมชาติ จึงจาเป็นต้องพัฒนาแหล่งกักเก็บน้า ไว้ใช้ในฤดแู ลง้ สาหรบั การเกษตร อปุ โภคบริโภค ผู้คนในสมัยสุโขทัยจึงได้สร้างอ่างกักเก็บน้าขึ้น โดยการสร้างทานบเชื่อมระหว่างเขาเพ่ือกักเก็บน้า เรียกตามจารึกว่า “สรีดภงส์” (เข่ือน หรือ ทานบ) รวมท้ัง “ตระพัง” (การขุดบ่อหรอื สระ) ดังปรากฏในศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 “เบอ้ื งหวั นอน เมืองสุโขทัย มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส์ ป่ามะพร้าว ป่าล่าง มีป่ามะม่วง ป่าขาม มีน้าโคก มีพระขพุงผี เทพดาในเขาอันน้ัน” หมายถึง เมืองสุโขทัยทางทิศใต้น้ันได้มีการสร้างทานบ ท่ีเรียกว่า “สรีดภงส์” เพ่ือบังคับน้าจากคลองเสาหอให้ไหลไปทางท่อดินเผาขนาดต่างๆ ผ่าน เขา้ ไปในกาแพงเมอื ง ไหลลงไปในตระพังขนาดใหญ่กลางเมืองสุโขทยั การสร้างชลประทานของเมืองสุโขทัย เป็นประโยชน์ท้ังทางด้านเกษตรกรรม และการคมนาคม เพราะชาวสุโขทัยใช้น้าที่มาทางท่อของพระยาร่วงสาหรับการเกษตรจาก เหมืองฝาย โดยไม่ต้องอาศัยน้าฝนแต่เพียงอย่างเดียว รวมถึงประโยชน์ทางด้านอุปโภคและ บริโภคภายในเมืองสุโขทยั เพราะชาวสโุ ขทยั จะขุด “ตระพัง” (การขุดบ่อหรือสระ) จานวนมาก ไว้กักเก็บน้าไว้ใช้ในการดาเนินชีวิต ภูมิปัญญาทางด้านการบริหารจัดการน้าทาให้เมืองสุโขทัย มีน้าใชต้ ลอดปี ผนื แผน่ ดินมีความสมบรู ณ์ มีผลผลติ ทสี่ ามารถเลีย้ งชาวเมอื งได้
69 วธิ ีการควบคุมน้าของเมืองสุโขทยั จากท่ีกล่าวมาขา้ งต้นเป็นลักษณะชลประทานขนาดใหญ่ที่ต้องใช้คนเป็นจานวน มาก และต้องการการดูแลบารุงรักษาอยู่เสมอ (ชลประทานมาจากคาว่า ชล แปลว่า น้า + ประทาน แปลว่า ให้ หมายถึงการจัดสรรน้าในรูปแบบต่างๆ เพ่ือประโยชน์หลายอย่าง แก่ประชาชน) ให้มีน้าไว้ใช้อย่างเพียงพอและสม่าเสมอตลอดปี เช่น การสร้างเหมืองฝาย สาหรับกักเก็บน้าในฤดฝู นซ่งึ เกินความตอ้ งการ เป็นการบรรเทาปัญหาอุทกภัย และสามารถเก็บ นา้ ไวใ้ ช้ประโยชนใ์ นการเพาะปลูกเม่อื เข้าส่ฤู ดูแลง้ เปน็ ต้น การพัฒนาแหลง่ น้าในการชลประทานเพ่ือการเกษตรกรรม มีวิธีการต่าง ๆ ดงั นี้ ในการพัฒนาแหล่งน้าเพ่ือประโยชน์ในการเพาะปลูกหรือเรียกว่า การชลประทาน มีหลากหลายวิธที ไ่ี ด้รบั การพฒั นาในการกกั เก็บน้าไวใ้ ช้ ดังนี้ 1. การทดน้า คือ การสร้างเขื่อนหรือฝายก้ันให้ระดับน้าเหนือเขื่อนสูงขึ้นจนถึง ระดบั พื้นท่เี พาะปลูก 2. การส่งน้า คือ การขุดคูคลอง หรือ การวางท่อส่งน้า เพื่อกระจายปริมาณน้า ให้ท่ัวถงึ พ้ืนท่เี พาะปลูกทางการเกษตร 3. การเก็บกักรักษาน้า คือ การสร้างทานบ การสร้างประตูกักน้า หรือแม้แต่ การพรวนดิน คลุมดินเพื่อรักษาความช้ืนในดินให้มากทส่ี ุด 4. การระบายน้า คือ การขุดคูคลองเพ่ือระบายน้าออกจากพ้ืนที่เพาะปลูก เพ่อื การเกบ็ เก่ียวและขนย้ายผลผลติ ออกจากพ้ืนท่ีเพาะปลกู ทางการเกษตร 5. การป้องกันอุทกภัย คือ การระบายน้าด้วยการสร้างคันกั้นน้าและอาจมีท่อ ระบายนา้ ประกอบ ประโยชน์ของการชลประทาน จากการพิจารณาถงึ วธิ กี ารต่างๆ ของการชลประทานแล้ว เหน็ ไดว้ ่า การชลประทาน ก่อให้เกดิ ประโยชนม์ มี ากมายหลายประการ ได้แก่ 1. บรรเทาการเกิดอุทกภยั 2. กักเกบ็ น้าไว้ใชต้ ลอดปที ้งั เพ่อื การเพาะปลูกทางการเกษตรและการอุปโภค บรโิ ภคของประชาชน 3. ทาให้เกดิ การใชน้ า้ อย่างประหยัด เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ให้มีปรมิ าณเพียงพอ อย่างสมา่ เสมอในฤดูเพาะปลกู และระบายน้าทิง้ ไดท้ นั การเมือ่ ถงึ ฤดเู ก็บเก่ยี ว
70 4. ใช้ทางนา้ เปน็ เส้นทางคมนาคมไดต้ ลอดทงั้ ปี 5. ทาใหส้ ามารถขยายพน้ื ท่เี พาะปลูกได้มากข้นึ แหล่งนา้ ท่ีอยบู่ ริเวณรอบเมอื งสุโขทัย แบ่งออก เป็น 2 บริเวณ คือ 1. การชลประทานในเขตชมุ ชนวดั พระพายหลวง ชุมชนวัดพระพายหลวงมีรูปแบบการสร้างเมืองทรงเรขาคณิต แสดงให้เห็นว่า เป็นชุมชนท่ีได้รับการจัดระเบียบอย่างดี เช่ือว่าอิทธิพลการสร้างเมืองแบบน้ีได้รับมาจาก กลุ่มผู้นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งมีความชานาญในการจัดรูปผังเมืองและการชลประทานเพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ทางศาสนา ในขณะที่พื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่หลักทางเศรษฐกิจของชุมชน การสร้างฝายน้าล้น และอ่างเกบ็ น้า ได้สร้างขน้ึ เพ่ือประโยชน์ในการป้องกันน้าไม่ให้ไหลท่วมพื้นที่ชุมชน และกักเก็บ น้าไวใ้ ชใ้ นการเกษตรกรรม จากการสารวจได้พบร่องน้าท่ีไหลมาจากช่องโซกม่วงกล้วยและเขาสะพานหิน ทางทิศเหนือ เข้าสู่มุมทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ของชุมชน และร่องน้า ท่ีไหลผ่านช่องเขาสะพานหินกับเขาเจดีย์งามจะไหลเข้าสู่ชุมชนวัดพระพายหลวงเช่นกันจาก ระดับความสูงของแหล่งต้นน้าท่ีมีความชันค่อนข้างมาก ทาให้น้าท่ีไหลลงมามีความรุนแรง จึงต้องมกี ารสร้างคนั ดนิ เพือ่ ชะลอความเร็วของน้าในบรเิ วณทิศตะวนั ตกของวดั ศรี 2. การชลประทานในเขตเมอื งสุโขทัย การสร้างเมืองใหม่ในบริเวณไม่ห่างไกลจากท่ีต้ังชุมชนเดิม อาจเกิดจากการ ขยายตัวของชุมชน หรือที่ตั้งเมืองเก่าอาจเกิดจากปัญหาภาวะทางธรรมชาติที่อาจเกิดความ ไมเ่ หมาะสมในทางใดทางหน่ึง อย่างไรก็ตาม สถาปนิกและวิศวกรของชุมชนเมืองสุโขทัยอาจใช้ ประสบการณ์จากที่ต้ังเมืองเดิมคือชุมชนวัดพระพายหลวง สร้างเมืองสุโขทัยให้สมบูรณ์ แหลง่ น้าและเส้นทางน้าตา่ งๆ ทาข้ึนอย่างมีระบบ เพอ่ื เก็บน้ามาไว้ภายในเมืองได้อย่างกล้าหาญ และชาญฉลาด โดยมีการชลประทานเพื่อการอุปโภคบริโภค การชลประทานเพ่ือการเกษตร และการชลประทานแบบเหมืองฝายของเมืองสุโขทัย กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 2 การอยู่กับนา้ สมยั โบราณ (ใหผ้ ู้เรียนทากจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 2 ในสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)
71 บรรณานกุ รม กรมศลิ ปากร. จารกึ สมยั สุโขทัย. (พิมพเ์ นอ่ื งในโอกาสฉลอง 700 ปี ลายสือไทย พุทธศักราช 2526). กรุงเทพฯ, 2527. กรมศลิ ปากร. ประวัตศิ าสตร์ชาติไทย. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, 2558. ขนมประเพณี 4 ถ้วย. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://www.wongnai.com/ restaurants/237377Tm-เสนห่ ์จนั ทน/์ photos/1e5018af6fae4c968601b75 dcf138908. (วนั ที่ค้นข้อมลู : 27 มนี าคม 2561). ไข่กบ นกปลอ่ ย บัวลอย อ้ายตื้อ”. วารสารแมบ่ า้ น. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : www.maeban.co.th. (วันที่ค้นข้อมลู : 27 มีนาคม 2561). คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอานวยการจัดงาน เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. หนังสอื เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั เรอ่ื ง วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณแ์ ละภูมปิ ัญญาจงั หวดั สโุ ขทัย. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2544. เครือ่ งดนตรไี ทย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : www.wikipedia.org. (วันท่ีคน้ ข้อมูล : 28 มีนาคม 2561). โครงการศูนยส์ โุ ขทยั ศกึ ษา สาขาวิชา ศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาสโุ ขทัยธรรมาธิราช. สารานุกรม สโุ ขทยั ศกึ ษา. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2539. จุฬารัตน์ ยะปะนนั . สิทธิและเสรภี าพในการนับถือศาสนา. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : www.senate.go.th. (วนั ทค่ี ้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2561). ดนัย ไชยโยธา. 53 พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ธ ทรงครองใจไทยทงั้ ชาต.ิ กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์, 2543. ถวลิ อรัญเวศ. เสรีภาพในการนบั ถอื ศาสนา. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : thawin09.blogspot.com/2017/02/blog_post_21.html. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561).
72 ทองหยอด (นามแฝง). บัญชรอาหารการกิน ตอน อาหารคาว-หวาน ท่ีนยิ มใชใ้ นงานมงคล สมรส. หญงิ ไทย. ปที ่ี 23 ฉบับท่ี 553 : 154-155 : ปักษ์หลงั ตุลาคม 2541. บังอร ปยิ ะพนั ธ์. ประวตั ิศาสตรไ์ ทย การปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และความสัมพนั ธก์ บั ต่างประเทศก่อนสมัยสุโขทยั จนถงึ พ.ศ. 2475. กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นต้งิ เฮ้าส์, 2538. พเิ ศษ เจียจันทร์พงษ.์ สโุ ขทัยมรดกทางวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว, 2538. มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. สุโขทัยศึกษา : รวมบทความทางวชิ าการโครงการ ศนู ยส์ โุ ขทยั ศกึ ษา. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2548. มหาวทิ ยาสุโขทยั ธรรมาธริ าช. สโุ ขทยั ศกึ ษา : รวมบทความทางวิชาการ/โครงการ ศนู ยส์ โุ ขทยั ศึกษา สาขาวิชาศลิ ปะศาสตร์ มสธ. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาสโุ ขทยั - ธรรมาธริ าช, 2548. รงรอง วงศโ์ อบอ้อม. ประวัตศิ าสตรไ์ ทย. กรงุ เทพฯ : ธรรมสาร, 2560. “รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560”. ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560. วดั คุง้ ตะเภา. ประวัติความเปน็ มาของมังคละเมืองสวางคบรุ ี”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : www.sites.google.com/site/watkungtaphao/kitchakam/mungkala/sawan gkabury. (วนั ทค่ี ้นข้อมลู : 28 มีนาคม 2561). วาทนิ ศานต์สันต.ิ ปฏิมากรรมสุโขทยั โดยสงั เขป. ศิลปกรรมไทย. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : www.gotoknow.org. (วันทีค่ น้ ขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561). ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : www.baanjomyut.com/library_2/ king_ramkhamhaeng_inscription. (วันทคี่ ้นขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561). สมชาย เดอื นเพญ็ . ความเปน็ มาของคาว่า กนิ สถี่ ว้ ย. ม.ป.ม. ,.ม.ป.ท., ม.ป.ป. สมเด็จพระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.wikipedia.org. (วันทีค่ ้นขอ้ มูล : 29 มนี าคม 2561. สานกั งานจงั หวดั สุโขทัย. ประวัติมหาดไทยส่วนภูมภิ าค จงั หวัดสุโขทัย. พิษณโุ ลก : โรงพมิ พ์ตระกูลไทย, 2541.
73 สานกั งานวฒั นธรรมจังหวัดสุโขทยั . มังคละเภรี ดนตรีของราษฎร, ภูมิทัศน์วฒั นธรรม เมอื งเกา่ ศรสี ชั นาลัย. สโุ ขทยั : โรงพมิ พ์วทิ ยา, 2549. ห้องเรียนลือคาหาญ โครงการทดลอง : การจดั หอ้ งเรียนรู้แบบผสมผสาน. กรุงรัตนโกสนิ ทร์ . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : www.lukhamhan.ac.th/course/blog/4719. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 29 มนี าคม 2561. เอนก สหี ามาตย์ และปฐมาภรณ์ เชาวนป์ รชี า. ระบบชลประทานเมอื งสุโขทยั . ม.ป.ม. ม.ป.ท., 2534.
74 คณะผู้จัดทา คณะท่ปี รึกษา เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. นายกฤตชัย อรุณรตั น์ ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางสาววเิ ลขา ลสี ุวรรณ์ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางรุ่งอรุณ ไสยโสภณ ขา้ ราชการบานาญ คณะทางาน โรงเรยี นฤทธิณรงค์รอน กทม. ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทยั นางกมลวรรณ มโนวงศ์ ผู้อานวยการ กศน. อาเภอบา้ นผือ จังหวดั อดุ รธานี นายปวิตร พุทธริ านนท์ ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอเมอื งแม่ฮอ่ งสอน นายจริ พงศ์ ผลนาค จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน นางสารอรพร อนิ ทรนัฎ ศูนยว์ งเดือนอาคมสุรทัณฑ์ จงั หวัดอทุ ยั ธานี นางมณั ฑนา กาศสนกุ กศน.อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร กศน.อาเภอสันป่าตอง จงั หวัดเชียงใหม่ นางสาวอนงค์ ชชู ยั มงคล กศน.อาเภอเมอื งอานาจเจริญ จงั หวดั อานาจเจรญิ นางสาวพจนีย์ สวสั ดิร์ ตั น์ กศน.อาเภอเมอื งอานาจเจริญ จงั หวดั อานาจเจรญิ นายโยฑนิ สมโณนนท์ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางมยุรี ชอ้ นทอง กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางสาวหทัยรัตน์ ศริ ิแกว้ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางเยาวรัตน์ ปน่ิ มณีวงศ์ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางกมลทพิ ย์ ช่วยแกว้ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสกุ ญั ญา กลุ เลศิ พิทยา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวทิพวรรณ วงค์เรือน กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นางสาววิยะดา ทองดี นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์ นางสาวชมพูนท สังขพ์ ิชัย
75 คณะบรรณาธิการ ข้าราชการบานาญ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวพิมพาพร อินทจักร์ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวชนติ า จิตตธ์ รรม ขา้ ราชการบานาญ นางนพรัตน์ เวโรจน์เสรีวงศ์ ขา้ ราชการบานาญ นางสาวประภารสั ม์ิ พจนพิมล ขา้ ราชการบานาญ นางสาวสุภรณ์ ปรชี าอนันต์ ข้าราชการบานาญ นางพรทพิ ย์ เขม็ ทอง ข้าราชการบานาญ นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทัย ข้าราชการบานาญ นายวิวฒั น์ไชย จนั ทนส์ คุ นธ์ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิกลมุ่ จังหวดั มรดกโลกทางวัฒนธรรม นางสาวชนิดา ดยี ิง่ รางวัลวัฒนคุณาธร กระทรวงวฒั นธรรม 2557 นายสมชาย เดอื นเพ็ญ ผอู้ านวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ่ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทยั นางสาวจิราภรณ์ ตนั ตถิ าวร ศนู ย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ จงั หวดั อทุ ยั ธานี นายจริ พงศ์ ผลนาค กศน. อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร นางสาวอนงค์ ชชู ัยมงคล กศน. อาเภอสนั ป่าตอง จังหวดั เชยี งใหม่ นางสาวพจนีย์ สวัสดริ์ ัตน์ กศน. อาเภอบางแพ จงั หวัดราชบุรี นายโยฑิน สมโณนนท์ กศน.เขตบางเขน นางพรทิพย์ เอื้อประเสริฐ นางสาวอนงค์ เชื้อนนท์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผ้อู อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป์
Search