Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนะนำวิธีเรียนเก่ง

แนะนำวิธีเรียนเก่ง

Published by สุกฤตา จั่นเพชร์, 2023-06-07 07:33:50

Description: เป็นหนังสือเเนะนำวิธีเรียนเก่ง

นางสาว สุฤตา จั่นเพชร์

Search

Read the Text Version

แนะนำวธิ ีเรียนเกง่ ครณู ัชพล กำฬภักดี การเรยี นเก่งในท่นี ้ี หมายถึงเรยี นเกง่ กวา่ เดิม กล่าวคือเมื่อนักเรียนไดร้ ับรวู้ ธิ ีการท่ีจะทาให้เรยี นเกง่ ข้ึน และ ปฎบิ ตั ิไดต้ ลอดไปนกั เรียนผู้น้ันกจ็ ะเข้าใจในบทเรียน และสอบได้คะแนนดขี ึ้น การทีจ่ ะเรียนเก่งขน้ึ ได้นน้ั ต้องฝึก ตนเองใหส้ มั พันธก์ ับสิ่งเหลา่ น้ีคอื 1. การแบง่ เวลา 2. การทาการบา้ น 3. วธิ ที บทวนบทเรียน 4. หอ้ งสมดุ /อนิ เทอร์เน็ต 5. การดหู นงั สือเตรยี มตวั สอบ 6. การพฒั นาความจาเพอ่ื ให้เรียนเก่ง หากนกั เรียนคนใดสามารถปฎิบัตไิ ดต้ ามหลักเกณฑ์ ทัง้ 6 ข้อน้ี จะต้องมผี ลการเรยี นท่ดี ีข้ึนอยา่ งแนน่ อน © ตัวอย่ำงกำรแบ่งเวลำ กำรทำกจิ กรรมประจำวนั ของนักเรียน เวลำกจิ กรรม 6.00 - 6.30 ต่นื นอน, ช่วยงานบา้ น 6.30 - 7.00 กิจประจาวนั ( อาบน้า, แปรงฟัน,รับประทานอาหาร,แต่งตัว ) 7.00 - 8.30 เดนิ ทางไปโรงเรยี น ,อ่านหนงั สือพิมพ์,สังสรรค์ในหม่เู พอ่ื น, ถา้ มีเวลาเหลอื อ่าน บทเรียนทีจ่ ะเรยี นใน ชัว่ โมงแรก 8.30 - 11.30 เรยี น 11.30 -12.30 รบั ประทานอาหาร (ไม่ควรเกนิ ครึง่ ชวั่ โมง) เวลาท่เี หลือทบทวนบทเรียน โดยวิธีถาม - ตอบดว้ ย ปากเปลา่ โดยกระทา เปน็ กลุ่มๆละประมาณ5 - 6 คนแลว้ กาหนดผูถ้ ามโดยใหผ้ ู้ถามไปเตรียมคาถามจากบทเรยี น วิชา ต่างๆสลับกนั ไปควรมีคาถามเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์บา้ นเมืองดว้ ย เพื่อให้สนุกควรมกี ารให้คะแนน ผู้ที่ได้คะแนน น้อยทสี่ ดุ อาจจะต้องเปน็ ผไู้ ปรวบรวมคาถามในวนั ต่อไปกไ็ ด้ (ทาให้สมา่ เสมอกนั ตลอดทั้งปี) 12.30 - 15.30 เรียน 15.30 - 17.00 เดนิ ทางกลับบ้าน,หากใชเ้ วลาน้อยกวา่ นี้ เวลาทีเ่ หลือบางวันเช่นวันศกุ ร์ ควรเล่นกีฬาหนกั ประมาณ 15 - 30 นาที กฬี าทค่ี วรเล่นเชน่ ฟุตบอล,บาสเก็ตบอล,ตะกร้อ,เนตบอลวอลเลย์บอล ปงิ ปอง,ห่วงยาง ฯลฯ เพ่ือเป็นการ ออกกาลังกายหนัก แต่ไม่ควรเล่นมากหรือบ่อยจนเกินไป เพราะจะทาให้สมองล้ากลับถึงบา้ นไม่ อยากทบทวน บทเรียน 17.00 - 17.30 ช่วยงานบ้าน 17.30 - 18.30 กิจประจาวัน อาบนา้ ,รบั ประทานอาหาร 18.30 - 19.30 ทาการบา้ น ดูข่าวสาร เหตกุ ารณ์บา้ นเมืองประจาวนั 19.30 - 21.00 อา่ นทบทวนบทเรียน,โน้ตยอ่ บทเรยี น 21.00 - 06.00 นอนหลบั พักผอ่ น นักเรียนสามารถปรับตารางเวลาและกิจกรรมให้เข้ากบั ชวี ิตประจาวนั ที่ทาอยู่ ถ้าต้องการใหป้ ระสบผลสาเร็จควรทา สม่าเสมอ

© กำรทำกำรบำ้ น การทาการบา้ นนบั เปน็ ส่วนประกอบท่ีสาคัญมากของการเรียนเพราะถอื เป็นการทบทวนบทเรียนทม่ี รี ะยะเวลา ค้นคว้าทาความเข้าใจกว่าเวลาในห้องเรยี น มีหลักทีค่ วรยึดดงั นี้ 1. จดั เวลาทาการบ้าน ควรจะเป็นระยะเวลา 18.00 - 21.00 น.กับครงึ่ วันเช้าหรอื บ่ายของวนั หยุด ควรทาอย่าง สมา่ เสมอจนตดิ เป็นนิสัย ถ้าวนั ใดไม่มีการบ้าน ต้องทบทวนบทเรยี นแทน 2. ตรวจดูความยากง่าย เม่ือได้รับคาสั่งจากครู อาจารย์ใหท้ าการบา้ น แบบฝึกหัดใดหรอื บทใด ตรวจดูอยา่ ง คร่าวๆวา่ พอทาไดห้ รอื ไม่ หากมีทส่ี งสัยควรถาม ครู,อาจารยก์ ่อน 3. รีบทาการบา้ นอยา่ ทิ้งไว้นาน เมอ่ื ไดร้ บั การบา้ นวนั ใดใหร้ บี ทาใหเ้ สรจ็ ในวนั นน้ั ถงึ แม้กาหนดสง่ การบา้ นจะ เหลืออีกหลายวนั ยกเวน้ จะได้รบั การบ้านหลายวชิ า จึงค่อยทาวชิ าทีต่ ้องส่งก่อนเปน็ อันดับแรก หากทาการบา้ นตาม เวลาท่ีกาหนดไว้ไม่ทนั ต้องทาในเวลาทบทวนบทเรียน 4. ตรวจดูความถูกตอ้ งก่อนสง่ ครู © กำรทบทวนบทเรยี น การทบทวนบทเรียนนับเป็นกระบวนการทส่ี าคัญมากต่อการเรียนเพราะเปน็ การเสริมความเขา้ ใจ และชว่ ยจาให้ แม่นยาย่ิงขน้ึ ควรทาดังน้ี 1.จดั เวลา ควรต่อจากการทาการบา้ น และพักกลางวนั หลังจากรับประทานอาหารแลว้ หรือเวลาอื่นๆ เชน่ กอ่ นครู เขา้ สอน ,ชว่ั โมงว่าง 2. โน้ตยอ่ ใจความสาคญั ของบทเรียน การโนต้ ย่อนอกจากจะเป็นประโยชนส์ าหรับดูก่อนสอบแลว้ ยังเป็นการ ทบทวนไปในตัวดว้ ย เพราะการจะย่อใจความสาคัญ ไดต้ อ้ งอ่านและตอ้ งเขียนด้วยซึ่งทาใหจ้ าได้แมน่ ยากว่า การอา่ นอยา่ งเดียว 3. สาหรับวชิ าคานวณ ควรย่อเฉพาะ กฎ,ทฤษฎี ,นิยาม สตู ร และหม่นั ทาแบบฝกึ หดั ท่ีเรยี นไปแล้วเปน็ การ ทบทวนสูตรไปด้วย 4. อ่านโน้ตยอ่ ทุกเวลาทวี่ า่ งพอจะอา่ นได้ เชน่ เวลาเช้าเมื่อมาถึงโรงเรยี นแลว้ ยังไม่ถงึ เวลาเรียน เวลาพักกลางวนั © ชัว่ โมงว่ำง ห้องสมดุ กับกำรเรยี นเก่ง ห้องสมดุ นบั เปน็ แหล่งการความรูท้ ่ีใกลต้ ัวนักเรียนทส่ี ุด ตารามากทสี่ ุดเท่าทน่ี ักเรียนจะหาอา่ นได้ และข้อสาคัญไม่ ต้องเสียเงนิ และทส่ี าคญั เป็นการฝกึ การใช้ หอ้ งสมดุ ซ่งึ นักเรยี นจะต้องใชม้ ากในระดบั การเรียนท่ีสูงข้ึน 1. นักเรียนจะอ่านอะไรในหอ้ งสมุด การเขา้ ห้องสมุดทุกคร้ังนกั เรยี นควรมเี ป้าหมายว่าจะเขา้ ไปทาไมหรือไปอ่าน หนังสืออะไร เช่น - ค้นคว้าหาความรเู้ พื่อทางานส่งครู - อาจารย์ - หาความรู้เพิ่มเตมิ จากบทเรยี น - อา่ นข่าวความรู้จากหนงั สอื พิมพ์ - เลือกอา่ นหนงั สอื ทใี่ หเ้ พลิดเพลินเพอ่ื ยืมไปอา่ นที่บ้าน 2. อ่านหนังสือห้องสมดุ อย่างไรได้ประโยชนท์ ่สี ดุ 2.1 กรณีค้นคว้าทารายงานส่งครู - อาจารย์ ควรทาในหอ้ งสมดุ ไมค่ วรยมื หนงั สือไปทาบา้ นเพราะอาจยืม หนังสือไปไมค่ รบ ถา้ ทาในหอ้ งสมุดสงสัยเรื่องใด คน้ คว้าได้ทันที 2.2 การอ่านเพื่อความรู้ประกอบบทเรียนควรมกี ารจดหรอื ยอ่ ลงสมุดพกซ่งึ นักเรียนควรมี เปน็ เล่มเล็กๆตดิ ตวั 2.3 การอา่ นหนังสอื พมิ พ์รายวนั เพราะจะได้แง่คดิ ข้อเท็จจริงเปรยี บเทยี บได้

3. การอา่ นหนงั สืออ่านเลน่ มีประโยชนต์ อ่ นักเรียนอยา่ งไรในทีน่ ีห้ มายถงึ นวนิยาย, เร่ืองสนั้ ,สาระบนั เทิง,ขาขนั การอ่านเรือ่ งอ่านเลน่ นี้นอกจากจะเป็นการผ่อนคลายอารมณ์ทเ่ี คร่งเครยี ดกับการเรยี นและเปน็ การให้ความ เพลิดเพลนิ แล้วยังมปี ระโยชน์อยา่ งมากต่อการทางาน ในอนาคต เพราะการได้อ่านมากถึงแม้จะเปน็ เรอ่ื งอา่ นเลน่ ก็ ตาม จะทาใหน้ ักเรียนอ่านหนังสอื คลอ่ ง ได้เห็นแบบสานวนมากทาให้ง่ายต่อการเขียนรายงาน จดหมายโต้ตอบ บันทึกตา่ งๆซ่งึ สง่ิ เหลา่ นี้จะตอ้ งประสบในขณะทเี่ ขา้ ทางาน 4. ฝึกนิสัยรักการอ่านได้อย่างไร นกั เรียนเปน็ จานวนไม่น้อยท่ไี มช่ อบอ่านหนงั สอื พูดอีกอย่างวา่ ไมม่ ีนสิ ัยรกั การ อา่ น แต่นกั เรยี นก็รู้วา่ การอา่ นมปี ระโยชน์ เม่ือเป็นดังน้ีเรามาฝกึ การอ่านกันดีกวา่ ขอแนะนาดังนี้ 4.1 ขนั้ แรกอ่านข่าวท่ีน่าสนใจ ถ้าไมช่ อบการอา่ นเอามากๆก็อ่านแค่พาดหวั ขา่ วก็ได้ 4.2 ดูภาพที่สนใจ ซ่ึงส่วนใหญม่ ักมีคาบรรยายประกอบ ซ่งึ ต้องอ่านประกอบความเข้าใจ 4.3 อา่ นเร่ืองราวท่ชี อบ เชน่ เกีย่ วกบั ฟุตบอล,มวย,เยบ็ ปักถกั ร้อย 4.4 ทดลองอา่ นนิทาน ,เรอื่ งสนั้ ,ทดี่ ีดีโดยอาจขอคาแนะนาจากบรรณารักษ์ ถ้าปฎบิ ตั ิได้ตามข้างตน้ อยา่ งน้อยก็ต้องพบเรอื่ งทีช่ อบบา้ ง และจะค่อยทาใหร้ ักการอ่านภายหลงั แตถ่ า้ ยงั ไม่ เกดิ ผลอะไรเลย ก็คงตอ้ งหาวธิ ีอ่นื ต่อไป, หรืออาจเก่ยี วกับเรอ่ื งวัย,ภาวะของครอบครวั ฯ กำรใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตช่วยในกำรเรียนรู้ ปจั จบุ นั การเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21 อนิ เทอรเ์ นต็ มีสว่ นชว่ ยในการสบื ค้นข้อมลู เป็นอย่างมาก เรามีครูอยู่ ใน อินเทอรเ์ นต็ ซง่ึ เชื่อไม่ไดท้ ั้งหมด ประกอบดว้ ย อากู๋ (Google) อตี บู (YouTube) พกี่ ี้ (Wikipedia) ซ่ึงเราสามารถ เรยี นรูไ้ ด้ตลอดเวลา ทุกท่ี ไม่มที สี่ นิ้ สุด ซึ่งนักเรียนควรนามาใชช้ ว่ ยในการเรียนรู้ให้มากท่ีสดุ โดยแบ่งเวลาการใช้ อินเทอร์เน็ตดงั นี้ เพื่อการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 70 เพ่อื การบันเทิง เชน่ ดูหนัง เลน่ เกม ร้อยละ 20 เพอื่ การติดต่อสือ่ สาร เช่นเล่นเฟสบุค๊ ร้อยละ 10 กำรดหู นังสือเตรยี มสอบ ควรตนื่ อ่านหนังสือตอนเชา้ และทบทวนตอนเยน็ โดยจัดตารางการอ่านหนังสอื เพ่ือการเตรยี มตัวสอบ หรอื ทบทวนตลอดเวลา ซงึ่ ต้องสัมพันธ์กบั ตารางสอน เช่น เชา้ วันจันทร์อา่ นวิชาภาษาไทย เชา้ วนั อังคารอา่ น คณิตศาสตร์ เช้าวันพุธอ่านภาษาองั กฤษ ฯลฯ ซงึ่ ปรบั ได้แล้วแต่ตารางสอนและความจาเปน็ กำรพัฒนำควำมจำ ความจาของคนเราสามารถพัฒนาข้ึนมาได้ถา้ เราต้องการโดยมวี ธิ ีดงั นี้ - หมั่นทบทวนตาราตลอดเวลา - ท่องจาในหลักการ ทฤษฎี กฎ หรอื สตู รต่าง ๆ - นอกจากภาคทฤษฎีแลว้ ควรทาภาคปฏบิ ัติ จะทาให้จาได้มากขึน้ - จดบันทึก เม่อื มีเวลานาออกมาทอ่ ง - ตดิ สูตรต่าง ๆ ตามห้อง หรือสถานท่ีท่ีเราสามารถเห็นไดง้ ่าย - วาดเป็นผังความคดิ (มโนทัศน)์ -- 10 วิธที ำใหเ้ รยี นเกง่ -- 1. มโี ตะ๊ และเกา้ อ้ีสาหรบั นงั่ เรียนหนงั สอื ท่บี ้าน จาไว้ว่าส่ิงแวดล้อมทีด่ ีจะช่วยให้เรามีสมาธใิ นการเรยี น 2. ตัง้ เปา้ หมายอย่างชดั เจนว่าจะอา่ นแตล่ ะวชิ า หรือทาการบา้ นมากน้อยแค่ไหนและลงมือทาอย่างเต็มที่ จนเสรจ็ 3. บางวิชาท่ียากๆใหร้ วมกลมุ่ กบั เพื่อนๆ ชว่ ยกันตวิ ช่วยกันเรียน ผลดั กนั คน้ ควา้ ตั้งคาถาม จะชว่ ยใหเ้ ก่ง กนั ยกกลุ่ม

4. มีเวลาอ่านหนงั สือทบทวนบทเรยี นทุกๆวนั วนั ละนดิ วันละหนอ่ ย ฝึกจนเปน็ นิสยั อย่าต้งั ใจเรยี นหนงั สือ เป็นพักๆ 5. ฝึกทกั ษะการเรียนอย่เู สมอๆ เชน่ ฝกึ อา่ นให้เรว็ ขน้ึ จดบันทกึ เป็นระบบ จดั ระเบยี บความคิด และ สรปุ เน้ือหาจะช่วยในการเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ 6. น่ังใกล้ครมู ากที่สดุ จะได้ไมม่ อี ะไรมาดึง ความสนใจในการเรยี นของเรา 7. ทาการบา้ นหรอื รายงานที่ได้รับมอบหมายใหเ้ สร็จทนั เวลา ขอ้ นสี้ าคญั มาก เพราะถา้ ทาเสร็จเร็วเท่าไร จะมเี วลาอา่ นหนงั สือมากขึ้น 8. จดั ลาดบั ความสาคัญของวิชาที่ตอ้ งทา เชน่ วชิ าไหนดว่ นท่สี ุด หรอื หัวข้อไหนไม่เขา่ ใจ ตอ้ งเรียงลาดบั ไว้ และ ทา ตามให้ได้ 9. ทาความเขา้ ใจวา่ ครูผสู้ อนแต่ละวิชามกี ารให้คะแนนอย่างไร คะแนนเก็บเทา่ ไร คะแนนสอบเท่าไร วางแผนทาคะแนนใหด้ ใี นแต่ละสว่ น 10. สาคญั ทีส่ ดุ ในการเรียน ก็คอื มุ่งม่ันตั้งใจเรียนไม่มีใครชว่ ยเราได้ ถา้ ตัวเราเองไม่อยากเรียนเก่ง เพราะฉะนน้ั จาไวว้ า่ Work Smart , Not Hard

ใบงานเรื่อง ผงั ความคิดทาอย่างไรให้เรยี นเก่ง ช่ือ...........................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook