Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรียนให้มีความสุข

เรียนให้มีความสุข

Published by สุกฤตา จั่นเพชร์, 2023-06-07 07:29:48

Description: เป็นหนังสือเกี่ยวกับวิธีการเรียนให้มีความสุข

นางสาว สุกฤตา จั่นเพชร์

Search

Read the Text Version

สรปุ บทความทางวิชาการเรื่อง “เรียนให้มคี วามสขุ ” โดย นางขวญั เนตร คาวีวงศ์ นางขวัญเนตร คาวีวงศ์ กรรมการ ในคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาความรู้ทางจิตวิทยาและ สังคม ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาความรู้ทางจิตวิทยาและสังคม คร้ังท่ี ๓/๒๕๕๕ วัน พุธท่ี ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุปได้ดังน้ี ความสุข คือ ส่ิงท่ีทุกคนปรารถนาเฝ้าเสาะแสวงหา ไขว่คว้า พยายามที่จะให้ตนเองและผู้เป็นท่ี รักได้พบและครอบครอง พ่อแม่อยากให้ลูกมีความสุข ครูอาจารย์อยากเห็นลูกศิษย์ของตนร่าเริง แจ่มใส และมีความสุข เวลาคนเรามีความสุข เช่น เมื่อได้เรียนรู้อย่างมีความสุขสมองจะหล่ังสารเคมี เช่น โดปา มีน เอ็นโดรฟินส์ (Endorphins) ที่ทาให้มีความสุขส่งผลให้การเรียนเกิดความอยากรู้ กระตือรือร้น สนใจ ไขว่คว้าอยากเรียนรู้เกดิ พลงั ท่จี ะทาส่ิงตา่ ง ๆ มากมาย ในทางตรงข้าม เม่ือมีความเศร้า ไม่ว่าจะเกิดจากความเบื่อหน่ายในการเรียน ระบบการเรียนท่ี เน้นการท่องจา ไม่ได้คดิ ไม่ไดก้ ระทา จะทาให้ระดบั ของโดปามีน เอ็นโดรฟนิ ส์ลดลงทาให้เกดิ ความเครยี ด ความเหน่ือยล้า ความกังวล เมื่อเด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จะทาให้เด็กเรียนรู้ที่จะดารงชีวิตอย่างมี ความสุข ทฤษฎีการเรียนร้อู ย่างมีความสขุ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้เล็งเห็นความสาคัญของการเรียนรู้อย่างมีความสุข และต้องการให้นักเรียน เรยี นรู้อย่างมีความสุข และคณะผู้เช่ียวชาญร่วมกันศึกษาค้นคว้า กิติยวดี บุญซื่อ ไดน้ าเสนอทฤษฎีการเรียนรอู้ ยา่ งมีความสุข โดยสรปุ สาระสาคัญไว้ว่า “การเรียนรอู้ ย่างมคี วามสุขจะต้อง มีแนวคดิ พืน้ ฐานเกดิ จากการสรา้ งความรักและความศรัทธาให้กับนักเรียนเพราะศรทั ธาเป็นจุดเริ่มต้นของ การเรียนรู้ที่ดีท่ีสุด การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการได้สัมผัส และสัมพันธ์กับของจริงและธรรมชาติ การเปิด โอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ตนเอง และบุคคลรอบข้างช่วยให้เขาปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับส่ิงแวดล้อม รอบตัว การประยุกต์กระบวนทัศนใ์ หม่ทางการศึกษาในการจดั การเรยี นการสอนระดับปฐมวยั ” การพฒั นาให้เดก็ เปน็ คนดี เก่ง และมีความสุข ต้องมคี วามสมดุลในการจดั กระบวนการเรียนการ สอน บรรยากาศ และสภาพแวดล้อม โดยให้เด็กได้สนุกสนานกับกิจกรรมการเรียน และเสริมสร้าง ประสบการณท์ ี่ สรา้ งสรรค์ ให้ผู้เรยี นมคี วามสุขตามสภาพจริง และกระบวนการประเมินตามสภาพจริง ใน การจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาให้เด็กเป็นคนดี เก่ง และมีความสุข ควรจะมีการส่งเสริมหรือพัฒนา เดก็ ดงั แผนภาพท่ี ๑ แผนภาพที่ ๑ องคป์ ระกอบการเรียนรใู้ หม้ คี วามสุข

ท่มี า : สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,กิติยวดี บญุ ซอื่ และคณะ, ๒๕๔๐) เมื่อพิจารณาจากแผนภาพจะเห็นได้ว่า การส่งเสริมเด็กในด้านการเรียนให้มีความสุขต้องอาศัย องคป์ ระกอบดงั ที่ได้กลา่ วมาแล้ว คือ ๑. ส่งเสริมให้เด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ (student - centered approach) โดย เนน้ ให้เดก็ เปน็ ผปู้ ฏบิ ัติ กิจกรรมการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ๒. ส่งเสริมพัฒนาการของสมองทุก ๆ ด้าน (whole brain approach) ใช้ทุกส่วนของ สมองทั้งในดา้ นร่างกาย ด้านการรบั รู้ ดา้ นภาษาและการคดิ คานวณคณิตศาสตร์ ดนตรี ๓. สง่ เสริมให้เดก็ ได้พฒั นาทักษะ กระบวนการคิด (thinking skill) และการแก้โจทย์ปัญหา อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล และในเชิงสร้างสรรค์ ๔. เน้นการบูรณาการการเรียนรู้และทักษะความถนัดของผู้เรียน (thematic approach) โดยสง่ เสรมิ ศักยภาพของเด็กทุก ๆ ด้าน ๕. เน้นการพัฒนาเด็กในด้านการอยู่ร่วมกัน และทางานร่วมกันตามวิถีประชาธิปไตย (cooperative approach) ๖. ส่งเสริมการเข้าใจตนเอง รู้จักส่วนดี ส่วนบกพร่องของตนเองและความเข้าใจผู้อื่น สามารถชนื่ ชมกบั ความสาเร็จของผอู้ ่ืน (self-understanding approach) ๗. เน้นการประเมินตามสภาพจริง (authentic evaluation) โดยอาศัย การสังเกต การ สัมภาษณ์ การเกบ็ สะสมแฟ้มผลงานของเดก็ เช่นเดียวกับการศึกษาของบรุคเนอร์และครอสสนิกเกิล (brueckner and grossnickle) นักวชิ าการชาวอังกฤษทไ่ี ดท้ าการศกึ ษาเกย่ี วกับระบบสมองที่ส่งผลต่อการเรยี นร้ใู ห้มคี วามสุขไว้ว่า การที่ สมองจะเลือกเก็บข้อมูลไว้เป็นความจาก็ขึ้นอยู่กับ “อารมณ์” อารมณ์เป็นตัวทาให้สมองหล่ังสารเคมี

ฉะน้ัน เร่ืองราวที่กระทบความรู้สึกมากโดยเฉพาะถ้ามีความสุข จะย่ิงจดจาได้นาน หรือเรื่องราวท่ีเรา สนใจเราจะจาได้ดีกว่าเร่ืองที่ทาให้เราเบ่ือหน่าย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการนาไปใช้ในการปฏิรูป การเรียนรู้ นอกจากนี้ การสอนแบบแบบบูรณาการหรอื การทาแผนท่ีความคิด โดยการเช่ือมโยงเรือ่ งราว หรือแนวคิดโดยการใช้แผนภูมิ ใช้สี ใช้ภาพ ใช้คาหลักหรือใช้การบันทึกย่อ ให้สมองได้เห็นภาพความ เชื่อมโยงของสิ่งที่เรียนรู้ในห้องเรียนกับความเป็นจริง การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมความสามารถ ของผู้เรียน กระตุ้นให้จะทาใหผ้ เู้ รยี นมี การเรียนรู้อย่างมีความสุขเป็นรากฐานสาคัญท่ีทาให้เด็กคิดเป็น เกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้ และนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน ดงั แผนภาพที่ ๒ แผนภาพ ๒ การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีความสขุ นอกจากน้ี บรุคเนอร์และครอสนิกเกิล ได้กล่าวถึงสาเหตุและอุปสรรคท่ีทาให้นักเรียนไม่มี ความสุขในการเรยี น รวมทงั้ การเรยี นให้มีความสุขและมปี ระสิทธภิ าพในการเรยี น ดังแผนภาพท่ี ๓

แผนภาพที่ ๓ อปุ สรรคและสาเหตุที่นักเรยี นไมม่ ีความสขุ ในการเรยี น รวมท้งั การเรยี นให้มีความสุขและมปี ระสทิ ธิภาพ อุปสรรคและสาเหตุท่ีนักเรียนไม่มีความสุขใน การเรยี นให้มคี วามสขุ และมีประสิทธภิ าพ การเรียน ๑. นกั เรียนไมส่ ามารถเข้าใจ โจทย์ปัญหาทั้งหมด ผสู้ อน หรือบางส่วนเน่ืองจากขาดประสบการณ์และขาด ๑. จัดการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ เกิด ค ว าม เข้ า ใจ ใน โด ย เฉ พ า ะ โจ ท ย์ ปั ญ ห า ความรกั ในส่งิ ท่ีกาลังเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ๒. จัดการเรียนรู้ที่สนุก ประทับใจผู้เรียน มีเรื่อง ๒. มีความบกพร่องในการอ่านและทาความเข้าใจ อารมณ์ [ดา้ นบวก] เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง โจทยป์ ญั หา ๓. จดั การเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด การลงมือ ๓. ไม่สามารถคิดคานวณได้ซ่ึงอาจมีสาเหตุมา กระทากจิ กรรม จากนักเรยี นลืมวิธที าหรอื ไมเ่ คยเรียนมากอ่ น ๔. จัดการเรียนรู้ท่ีบูรณาการเช่ือมโยงเรื่องราว ๔. ขาดความเข้าใจกระบวนการและวิธีการของ และแนวคิดของสิ่งที่เรียนรู้ในห้องเรียนกับความ โจทย์ปญั หาจึงทาใหห้ าคาตอบโดยการเดาส่มุ เปน็ จรงิ ของชวี ิต ๕. ขาดความรูใ้ นเรอ่ื งกฎเกณฑ์และสตู ร ๖. ขาดความสนใจหรือระดับสติปัญญาของ ผู้เรียน ๑. สะสม การรู้ท่ีได้จากการเรียนอย่างค่อยเป็น นกั เรียนต่าเกินไป ๗. ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการเขียน ค่อยไป สะสมวนั ละนดิ ไม่ใชห้ ักโหมกอ่ นสอบ อธบิ าย ๒. ทาซ้า การลืมเกิดขึ้นง่ายดาย นักเรียนควร ๘. นักเรียนไม่สามารถวิเคราะห์ โจทย์ปัญหาได้ ป้องกนั ดว้ ยการท่องและอา่ นซา้ ๆ อาจมีสาเหตุมาจากการเรียนรู้ ขาดความเข้าใจ ๓. ขยันคิด อ่านอย่างวิเคราะห์มีการตั้งโจทย์ ประเดน็ หลกั เกณฑท์ างคณติ ศาสตร์ ตา่ งๆ ๔ . ห าท างบั งคับ ตัวเอง โด ยอาศัยการจัด ๙. ขาดการฝึกฝนในการทาโจทย์ปญั หา สภาพแวดลอ้ มเขา้ ชว่ ยเป็นตัวเร่งและตวั กระต้นุ เม่ือกล่าวถึงวิธีการเรียนให้มีความสุขแล้ว จะมาถึงประเด็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนเก่ง ดงั แผนภาพท่ี ๔

การสรา้ งบรรยากาศการเรียนรอู้ ยา่ งมคี วามสุข หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานฉบับปัจจุบัน มุ่งหวังให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มีสุขภาพอนามัยท่ี สมบูรณ์ ทั้งด้านรา่ งกาย จิตใจ และอยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมคี วามสขุ ครู จึงเป็นบคุ คลทส่ี าคัญอย่าง ยง่ิ ที่ จะต้องสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ซ่ึงบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมี ความสุข คือ การจัดสภาพการเรยี นการสอนให้มีบรรยากาศที่ผ่อนคลาย นักเรียนรู้สึกเปน็ อิสระ ไดเ้ รยี นรู้ โดยวิธีการต่างๆ อย่างหลากหลาย การสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียนทงั้ ปจั จบุ นั และอนาคต ดังนี้ ๑. ทาให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีความสุข สดช่ืน เบิกบาน ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการเป็นผู้ใหญ่ที่มี สขุ ภาพท่ดี ใี นอนาคต ๒. ทาให้ผู้เรียนเกดิ กาลงั ใจ ใฝเ่ รียนรู้ ไม่ท้อแท้ ๓. ทาให้ผู้เรียนมีจิตใจที่ดีงาม เพราะเด็กท่ีเจริญเติบโตขึ้นในบรรยากาศแห่งความรักก็จะรู้จักรัก ผอู้ ืน่ ๔. ทาให้ผเู้ รยี นเห็นคุณค่าของตนเอง และมกี าลงั ใจท่จี ะทาส่ิงทด่ี งี ามตลอดไป ๕. ทาให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้การอยู่ร่วมกับผู้อื่น เพราะการเรียนรูท้ ่ีมีความสุขเปน็ การเรียนรู้ ท่ผี ู้เรียนไดม้ ปี ฏสิ ัมพันธ์กบั เพ่อื น เปน็ การฝึกการยอมรับ การรจู้ ักเขา้ ใจ และเห็นใจผอู้ ่ืน

ประเภทของการเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสขุ พระธรรมปฎิ ก ป.อ.ปยุตโต) ได้จดั แบบของการเรียนรู้อยา่ งมีความสขุ ไว้ ๒ แบบคอื ๑. ความสุขท่ีอาศัยปัจจัยภายนอก เป็นความสุขที่เกิดจากสภาพแวดล้อม คือมีกัลยาณมิตร เช่น ครู อาจารย์ เป็นผสู้ ร้างบรรยากาศแหง่ ความรัก ความเมตตา ๒. ความสุขท่ีเกิดจากปัจจัยภายใน เป็นความสุขท่ีเกิดจากภายในตัวผู้เรียนเอง ซึ่งเป็นอิสระ ไม่ ตอ้ งพ่ึงผอู้ นื่ กลา่ วคือ ผเู้ รยี นเกดิ นสิ ัยใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น ใฝ่สรา้ งสรรค์ ดังนั้น การสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขจึงควรมุ่งสร้างความสุขจากปัจจัย ภายใน โดยมีปัจจัยภายนอกเป็นองค์ประกอบนาทาง ก็จะช่วยพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้รักการเรียนรู้อย่าง แทจ้ ริง แนวคดิ ของการสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ทมี่ คี วามสุข การสร้างความสุขที่อาศัยปัจจัยภายนอกแต่เพียงอย่างเดียวอาจทาให้เกิดโทษได้เช่น ทาให้ นักเรียนเรียกร้องเอาแต่ใจตัวเอง ครูผู้นาทางแห่งการเรียนรู้ จึงต้องเข้าใจหลักการและมีแนวปฏิบัติได้ ถกู ต้อง คือ ๑. การสร้างบรรยากาศแห่งความรักให้เด็กมีความสุขน้ันไม่ใช่จุดหมาย แต่เป็นการสร้างปัจจัย เออื้ ตอ่ การกา้ วสู่เป้าหมาย ๒. จัดให้เด็กอยู่ในบรรยากาศแห่งความรัก หรือได้รับความรักในลักษณะที่ไม่รวมศูนย์เข้าหา ตวั แตใ่ หข้ ยายความรักออกไป เชน่ รักครู รักเพือ่ น และอยากช่วยเหลือผูอ้ ่นื ๓. ครูควรสร้างนิสัยช่วยเหลือเก้ือกูลผู้อื่น และการร่วมกันคิดร่วมกันทาให้มากกว่าการพึ่งพา ผอู้ ืน่ ๔. ครูควรใช้ปัจจัยภายนอกช่วยทาให้สถานการณ์น้ันเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาปัจจัย ภายใน คอื ความใฝ่รู้ ใฝส่ รา้ งสรรค์ในตัวเดก็ ๕. สถานการณ์การเรียนที่สนุก ต้องไม่ทาให้เด็กติดในความสนุก หรือเห็นแก่ความสนุก ต้อง ดาเนนิ ไปในลักษณะที่ความสนกุ น้ันเปน็ ปจั จยั นาไปสูก่ ารใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น ในเชิงสร้างสรรคต์ ลอดชวี ิต สรุปได้ว่าการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้อย่างมีความสุขน้ันครูผู้นาทางการเรียนรู้ จาเป็นต้องมี เป้าหมายของการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่ถูกต้อง กล่าวคือ เพ่ือมุ่งสร้างนิสัยของการใฝ่รู้ รักการ เรียนรู้ตลอดชีวิต มิใช่เพ่ือมุ่งให้นักเรียนเกิดความสุข สนุกในการเรียนเพียงอย่างเดียว ควรมุ่งสร้าง คุณลักษณะของการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อ่ืน การพ่ึงตนเองให้มากกว่าพ่ึง ผ้อู ื่น และการเป็นคนมคี วามคดิ ใฝส่ ร้างสรรค์ เพื่อดารงชีวติ อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุขตอ่ ไปในอนาคต หลังการนาเสนอบทความเรื่อง “เรยี นให้มคี วามสุข” โดย นางขวญั เนตร คาวีวงศ์ ที่ประชุมมีการ อภิปรายเพ่ือนามาประยกุ ต์ใหเ้ กิดประโยชนก์ ับสังคม ผลการอภปิ รายสรปุ ว่า การเรียนใหม้ ีความสุข ควรมุ่งใหม้ ีการพฒั นาในด้านต่าง ๆ โดยต้องเรม่ิ ทคี่ รอบครัว โรงเรียนและ นักเรียน ต้องสอนหัดให้นักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ โดยส่งเสริมและหาข้อสรุปให้ชัดเจนว่าทาอย่างไรจึงจะ สร้างการเรียนอย่างมีความสุขให้กับเด็ก โดยผู้เขียนได้เสนอข้อคิดเพ่ือให้นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเอง

อย่างรอบด้าน และเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพไว้ว่า การสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ท่ีมีความสุข เป็นสิ่งจาเป็น ครู ควรทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ที่ช่วยให้การเรียนดาเนินไปอย่างมีความสุข ซึ่งมี ๖ ประการ ๑. เด็กทุกคนได้รับการยอมรับวา่ เป็นมนุษยท์ ี่มีหัวใจและสมอง เด็กควรได้มโี อกาสเลือกเรียนตาม ถนัดและความสนใจ ๒. ครูมคี วามเมตตา จรงิ ใจ และอ่อนโยนต่อเดก็ ทกุ คนโดยทวั่ ถึง ๓. เด็กเกิดความรักและภูมิใจในตนเอง รู้จักปรับตัวได้ทุกท่ีทุกเวลา รู้จักตนเอง เห็นคุณค่าของ ชีวิต และความเปน็ มนษุ ยข์ องตน ๔. เด็กทุกคนได้มีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพื่อค้นพบความสามารถของ ตนไดเ้ รยี นรูอ้ ยา่ งลกึ ซง่ึ และกวา้ งไกล ๕. เด็กได้รู้จักคิดและพัฒนาความคิดจากความรู้ท่ีได้รับและขยายวงไปสู่ความรู้ใหม่ เกิดความ อยากรอู้ ยากเห็น อยากทดลอง อยากศกึ ษาให้ลกึ ซงึ้ เพ่ิมเตมิ ๖. การเรียนรู้ไม่จากัดอยู่เฉพาะในบทเรียน แต่สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ในสภาพ ความเป็นจริง เกิดประโยชน์และมีความหมายต่อตัวเขา รู้จักสืบเสาะหาคาตอบ ข้อสงสัยต่างๆได้อย่างมี เหตผุ ล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook