เนือ้ หาการสอนวิชาการตดิ ต่อสื่อสาร หลกั สูตร นกั ศึกษาวิชาทหาร ชน้ั ปีท่ี 2 การส่ือสารประเภทสาย 1. กล่าวท่ัวไป สายเป็นเคร่ืองมือส่ือสารที่เชื่อถือได้มากชนิดหนึ่ง การส่ือสารประเภทสายประกอบด้วยการใช้สายสนาม การ วางสายและอปุ กรณ์ในการเกบ็ สาย เครอื่ งโทรศัพท์สนามทใ่ี ชก้ าลังหม้อไฟฟ้าและโทรศพั ทส์ นามใช้กาลังงานเสยี ง เครอื่ ง สลับสาย เครื่องโทรพิมพ์ อุปกรณ์ปลายทางหรอื ส่วนประกอบอ่นื ๆ การตกลงใจที่จะต้ังการสอ่ื สารประเภทสายขน้ึ อย่กู ับ ความต้องการทจี่ ะใช้งาน เวลาที่มีอยทู่ ี่จะใช้ในการติดตั้ง การใช้งาน และความสามารถในการซ่อมบารุง จานวนสายที่มี อยู่ ตลอดจนจานวนท่ีคาดว่าจะได้รับเพิ่มเติม พร้อมท้ังความต้องการในอนาคตจะต้องนามาพิจารณาด้วย การสื่อสาร ประเภทสายเป็นวิธีการติดต่อส่ือสารที่สามารถปรับใช้เข้ากับสถานการณ์ที่ไม่ต้องเคลื่อนที่ แต่ก็สามารถจะใช้กับการ ปฏบิ ัตทิ างยทุ ธวิธีไดท้ ุกสถานการณ์ ถ้าหากไดม้ กี ารวางแผนอย่างถกู ต้อง 1.1 ขดี ความสามารถของการส่อื สารประเภทสาย 1.1.1 การส่ือสารประเภทสายสามารถอานวยความสะดวกในการสนทนาระหว่างบุคคลต่อบุคคลโดย การพดู สวนทางกันได้ 1.1.2 การสื่อสารประเภทสายเป็นวิธีการส่ือสารท่ีปลอดภัยกว่าวิทยุ แต่ก็ไม่พึงเช่ือม่ันในความ ปลอดภัยในการส่งขา่ วเปน็ ข้อความธรรมดา เนอ่ื งจากการสื่อสารประเภทนีเ้ ปน็ จุดอ่อนต่อการดักรับฟังของข้าศกึ 1.1.3 การส่อื สารประเภทสายไม่เปน็ อนั ตรายจากสภาพภูมิอากาศและสภาพภมู ปิ ระเทศเหมือนวิทยุ 1.2 ขดี จากัดของการสอ่ื สารประเภทสาย 1.2.1 การส่ือสารประเภทสายใช้เวลาในการติดต้ังมาก แต่อย่างไรก็ตาม เวลาอาจลดลงได้ถ้าหากใช้ บคุ คลทไ่ี ดร้ ับการฝกึ ไว้อย่างดีแลว้ และวางแผนไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพกอ่ นตดิ ตั้ง 1.2.2 การส่อื สารประเภทสายเป็นอนั ตรายได้ง่ายจากยานพาหนะและการยิงของปืนใหญ่ ผูท้ าสายขาด น้ัน ส่วนใหญ่จะเป็นทหารฝ่ายเรามากกว่าการปฏิบัติของข้าศึก จึงจาเป็นต้องมีการช้ีแจงให้ทหารฝ่ายเดียวกันทราบถึง ความสาคัญของสายท่ีเห็นอยู่ตามทางเดินหรือถนนว่า เราได้ใช้สายท่ีเห็นนั้นติดต่อสื่อสารเร่ืองเก่ียวกับความเป็นความ ตายของทหารเอง การลาดตระเวนเส้นทางวางสายและติดตั้งในเส้นทางท่ีเหมาะสมจะทาให้ระบบทางสายเป็นอันตราย น้อยลง 1.2.3 การสอื่ สารประเภทสายไม่มีความอ่อนตัวโดยธรรมดาจงึ ไมใ่ ช้สายในขณะเคลอื่ นที่
2. สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT 2.1 กลา่ วท่ัวไป เป็นสายโทรศัพทส์ นามทม่ี คี งคงทนเปน็ เย่ียมชนดิ หนึง่ เปน็ ทีน่ ยิ มกนั มาก เป็นสายคู่ไขว้มีน้าหนกั เบา จึง เหมาะท่ีจะใช้กับหน่วยเล็กๆ ในแนวหน้า เช่น หมวด เป็นต้น สายชนิดนี้มีความต้านทานไฟสูงและฉนวนหุ้มสาย ต้านทานต่อการขดู ถลอกทาด้วยพลาสติกชนดิ พเิ ศษเรียกว่า โพลเี อธิลีนและมไี นลอนหุ้มอีกช้นั หนง่ึ 2.2 คุณลักษณะทางเทคนิค 2.2.1 เกณฑก์ ารวดั เส้นลวดแบบอเมรกิ ัน (AWG) เบอร์ 23 (ตัวนาแต่ละเสน้ ) 2.2.2 มลี วดทองแดงผสมดบี กุ 4 เสน้ และลวดเหลก็ อาบสงั กะสีอกี 3 เสน้ 2.2.3 มฉี นวนชน้ั ในเป็นโพลีเอธลิ นี (Polyethylene) ชั้นหนงึ่ และฉนวนชัน้ นอกเปน็ ไนลอนอกี ชั้นหน่ึง 2.2.4 ทนแรงดึงไดป้ ระมาณ 200 ปอนด์ (ทง้ั 2 เส้น) 2.2.5 หนกั 48 ปอนดต์ ่อไมล์ 2.2.6 ความต้านทานบ่วง (Loop resistance) ต่อกระแสตรงมีค่าจาก 200 ถึง 234 โอห์มต่อไมล์ ณ อุณหภมู ิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ 2.2.7 การสูญเสีย ณ 1 กิโลเฮิร์ซที่อุณหภูมิ 68 องศาฟาเรนไฮต์มีค่า 2.5 เดซิเบลต่อไมล์, เม่ืออยู่ใน สภาพเปยี กและ 1.5 เดซิเบลตอ่ ไมล์ในสภาพแห้ง สายโทรศพั ทส์ นาม WD–1/TT 2.3 ลอ้ มว้ นสายโทรศพั ทส์ นาม สายโทรศัพทส์ นาม WD-1/TT บรรจุอยู่ในล้อม้วนสายไดด้ ังน้ี 2.3.1 ล้อม้วนสาย DR-4 บรรจุสาย WD-1/TT ยาว 1 1/3 ไมล์ 2.3.2 ล้อม้วนสาย DR-5 บรรจุสาย WD-1/TT ยาว 2 1/2 ไมล์ 2.3.3 ลอ้ ม้วนสาย DR-8 บรรจสุ าย WD-1/TT ยาว 1/4 ไมล์ 2.2.4 ล้อม้วนสาย DR-7 บรรจุสาย WD-1/TT ยาว 6 ไมล์ 2.2.5 ลอ้ ม้วนสาย RL-159/U บรรจสุ าย WD-1/TT ยาว 1 ไมล์
2.4 การตัดต่อสายโทรศพั ทส์ นาม WD-1/TT 2.4.1 กล่าวทวั่ ไป การต่อสายสนามคือวิธีการที่ใช้ในการต่อสายส่วนท่ีเป็นตัวนาเพ่ือให้กระแสไฟเดินได้ต่อเนื่อง การต่อควรจะต้องให้มีแรงดึงความนาไฟฟ้าสามารถป้องกันการขูดถลอกและลมฟ้าอากาศและมีความต้านทานของ ฉนวนเช่นเดียวกับส่วนของสายท่ไี ม่มกี ารตอ่ การต่อท่ีไม่ดีจะทาให้เกิดการสูญเสียในการสง่ เพมิ่ เสยี งรบกวนและตามปกติ คณุ ภาพของวงจรก็จะเสื่อมลงอกี ด้วย 2.4.2 เครอื่ งมือต่อสาย เคร่ืองมือ TE–33 (รูปท่ี 2) ใช้สาหรับตัดต่อสายสนามจะประกอบด้วย ซอง CS–34 คีม TL–13–A และมีดช่างไฟฟ้า TL–29 มีแถบพับสายฉนวนไฟฟ้า2ชนิดที่ใช้ในการต่อสายสนามคือแถบพันสาย ฉนวนไฟฟ้าTL–636-/U (โพลีเอธิลีนสีดา) ใช้ในเขตร้อนและเขตอบอุ่นและแถบพันสายฉนวนไฟฟ้า TL–600 U (โพลี เอธิลีนสีขาว) ใช้ในเขตอาร์คติคและระหว่างอากาศหนาวในเขตอบอุ่นแถบพันสาย TL–38 (ผ้าพันสาย) ใช้ป้องกัน รอยต่อให้ดีข้ึนเพื่อทาให้การต่อสายสนามทั้งทางกลและทางไฟฟ้าดีขึ้นอาจจะใช้ลวดทองแดงอ่อนขนาดเล็ก (ซึ่งเรียกว่า สายลวดมดั ) กไ็ ด้ (สายลวดมดั อาจไดจ้ ากตัวนาทเ่ี ปน็ ทองแดงท่อี ยู่ในสายสนาม) รูปท่ี 2 เครือ่ งมือ TE–33 2.4.3 การตอ่ สายสนาม 2.4.3.1 ขั้นตอนในการต่อสาย (รูปที่ 3) การตอ่ สายสนามประกอบด้วยขั้นตอนทีส่ าคัญ 4 ขั้น ดงั น้ี 1) ตัดสายให้มีความยาวเหล่อื มกันและปอกฉนวนออกจากสายแต่ละเสน้ 2) ผกู เงื่อนแนน่ เพ่อื ใหส้ ายทนแรงดึงไดเ้ ชน่ เดิม 3) มดั เงื่อนแน่นเพ่ือให้เกดิ การนาทางไฟฟ้าได้ดี 4) พนั รอยต่อเพื่อให้เปน็ ฉนวนกนั ไฟฟา้ แกต่ ัวนาและเพ่ือป้องกันการเสียดสแี ละ ความเปยี กชืน้
เหล่ือมกนั รูปท่ี 3 ลาดับขั้น 4 ลาดบั ข้ันในการต่อสายสนาม 2.4.3.2 การตัดสายให้เหลื่อมกันตรงรอยต่อ (รูปที่ 4) การทาให้สายสนามคู่หน่ึงมีความยาว 1) ตัดปลายสายทงั้ คโู่ ดยตวั นาทง้ั 2 มีความยาวเทา่ กนั จรงิ ๆ 2) ตัดสายเสน้ หน่งึ ในแต่ละค่สู ายออกเสีย 6 น้วิ (หรอื เทา่ กับความยาวของคมี ) รูปท่ี 4 สายท่ถี กู ตัดใหเ้ หล่ือมกันเพ่ือทาการต่อ 2.4.3.3 การปอกฉนวนปอกฉนวนออกจากตัวนาให้เกล้ียงเพื่อทาการต่อ (รูปท่ี 5) การปอก ฉนวนใหก้ ระทาดังนี้ 1) ใช้ปากตัดของคีม TL–13–A ปอกฉนวนที่เป็นไนล่อนและฉนวนช้ันในออกยาว 6 นิ้ว (ปอกครง้ั ละ 2 นิ้ว) รดู ฉนวนช่องท่ี 3 ท่ียาว 2 น้ิวน้ันออกมาเพียงแต่ปลายของตัวนา การทาเช่นนี้กเ็ พอ่ื รวบปลาย สายไว้สาหรับการต่อสายในขั้นต่อไป 2) ใช้มดี พบั TL–29 ขูดฉนวนท่ียังเหลอื อยตู่ ามสายลวดเล็กๆ ออกให้เกลย้ี ง
รูปที่ 5 การปอกฉนวนออกจากสายสนาม 2.4.3.4 การผูกเง่อื นแน่นหลังจากท่ีได้ตีเกลียวของสายให้คงรูปเดิมแล้วก็ให้เอาปลายยาวของ คู่หนึ่งมาต่อกับปลายส้ันของอีกคู่หน่ึงเป็นเง่ือนแน่นรูปที่ 6 ก. และ ข. การดึงเง่ือนแน่นนั้นควรให้มีระยะห่างระหว่าง เง่ือนกบั ฉนวนไว้ 1/4 น้ิว รูปที่ 6 การผูกเงอื่ นแนน่ ของสายสนาม 2.4.3.5 การมัดรอยต่อ 1) เม่ือใช้ลวดมัดสายเมื่อมีลวดมัดสายให้ใช้สอดลวดมัดสายที่ยาว 6 ถึง 8 นิ้วเข้าไป ตรงกลางเงื่อนแล้วดึงเง่อื นให้แน่นพับลวดมัดตรงกึ่งกลางใช้คร่งึ หน่ึงของลวดมัดพนั ไปทางขวาพันให้ถ่ีๆ หลายๆ รอบทั้ง ข้างซ้ายและข้างขวาเพ่ือยึดเงื่อนแน่นตัดปลายสายที่เหลือท้ิงเสียพันลวดมัดต่อไปข้างซ้ายและข้างขวาให้เลยขึ้นไปทับ ฉนวนขา้ งละประมาณ 2 รอบตัดปลายที่เหลอื ของลวดมดั ออกและกดปลายให้จมลงไปในฉนวน (รปู ที่ 7)
รูปท่ี 7 เง่ือนแนน่ และเมอ่ื ใช้ลวดมัดสาย 2) เมื่อไม่ใช้ลวดมัดสายเมื่อไม่มีลวดมัดจะใช้ก็ให้ใช้ลวดทองแดงเส้นเล็กๆ ในสาย สนามน้ันเองสาหรับมัดเงื่อนแน่นหลังจากที่ผูกเง่ือนและดึงให้แน่นแล้วให้รูดฉนวนส่วนท่ี 3 ซึ่งยาว 2 น้ิวออกเสียแล้ว แยกเส้นลวดเหล็กกล้าออกจากลวดทองแดง (รูปที่ 8 ก.) (เส้นลวดทองแดงจะยังโค้งงออยู่ได้เมื่อใช้พัน) ให้ตัดสายเส้น ลวดเหล็กกล้าออกให้เสมอปลายฉนวน (รปู ท่ี 8 ข.) ไขว้ปลายสายทองแดงทางซ้ายให้ทับเง่ือน (รูปท่ี 8 ค.) พันสายส่วน ทป่ี อกแล้วทางดา้ นขวาให้ถๆ่ี หลายๆ รอบคงพันใหท้ ับฉนวนต่อไปอีกประมาณ 2 รอบตัดปลายที่เหลอื ของลวดทองแดง ออกส่วนการพันข้างซ้ายให้ใชป้ ลายลวดทองแดงขา้ งขวามาพันในทานองเดียวกนั (รูปท่ี 8 ง.)
รปู ท่ี 8 เง่ือนแนน่ ท่ไี ม่ใชล้ วดมัดสาย 2.4.3.6 การใช้แถบพันสายพนั รอยต่อชนิดของแถบพนั สายได้กล่าวไวแ้ ลว้ 1) การใช้แถบฉนวนกันไฟฟ้าพันรอยต่อลอกแผ่นชั้นนอกด้านหลังของแถบพันสาย ออกแล้วยึดแถบฉนวนกันไฟฟ้าเพื่อให้เกิดคุณสมบัติรัดตัวเองได้ให้เริ่มพันจากตรงกลางของรอยต่อ (รูปที่ 9 ก.) ใช้แรง ดงึ ให้สม่าเสมอกันและพันเหล่ือมเขา้ ไปที่ฉนวนท่ีปลายข้างหน่ึง 1 1/2 นิ้ว พันแถบยอ้ นทางกลบั มาผ่านเง่ือนแล้วใหเ้ ลย ฉนวนของด้านตรงขา้ มไปประมาณ 1 1/2 น้วิ แล้วใหพ้ นั กลับมาจนไปสิ้นสุดลงตรงกลางของรอยต่อ 2) การใชแ้ ถบผ้าพันสายพันรอยต่อเริ่มต้นจากปลายข้างใดข้างหน่ึงพันทบั แถบฉนวน กันไฟฟ้าให้เลยไปข้างละ 1/2 นว้ิ (รปู ท่ี 9 ข.)
รูปท่ี 9 การใชแ้ ถบฉนวนกนั ไฟฟา้ และแถบผา้ พันสาย 3. เคร่ืองโทรศพั ท์สนาม TA-1/PT 3.1 กลา่ วทวั่ ไป เคร่ืองโทรศัพท์สนาม TA-1/PT เป็นเคร่ืองโทรศัพท์สนามกาลังงานเสียงขนาดเล็ก น้าหนักเบา เคลื่อนที่ง่าย ใช้ได้ทุกสภาพอากาศและพื้นที่ ส่วนมากใช้กับสายโทรศัพท์สนามปฏิบัติงานในพื้นที่เขตหน้า ทางาน ร่วมกบั เครือ่ งโทรศัพทส์ นามหรือเคร่ืองสลับสายโทรศพั ทส์ นามระบบหม้อไฟประจาเครอื่ ง LB. (LOCAL BATTERY) 3.2 คุณลักษณะทางเทคนคิ 3.2.1 ระยะการตดิ ต่อประมาณ 4 - 6.25 ไมล์ (เมื่อใช้สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT) 3.2.2 ขดี จากัดการทางาน 10 dB. 3.2.3 ยา่ นความถเ่ี สียงประมาณ 300 - 4,000 Hz 3.2.4 สวติ ซ์กดพูด (PRESS TO TALK) อนั เล็กดา้ นข้าง 3.2.5 ผลิตสญั ญาณไฟเรียกประมาณ 65 - 80 V. 20 Hz 3.2.6 สวิตซ์กดเรยี ก (GENERATOR) อันใหญด่ า้ นข้าง 3.2.7 วงจรรับสัญญาณเรียกแบบทัศนะรูปกากบาทปรับไม่ได้ และแบบเสียงบัสเซอร์ดัง สามารถปรับ ได้ จากดังสุดจนไม่มีเสียง 3.2.8 ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่เล้ียงวงจรปากพูด (ใช้หลักการการชักนาด้วยแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้เกิด แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหน่ยี วนาขึ้นในขดลวดรอบๆ อารเ์ มเจอร)์ 3.2.9 น้าหนัก หนักประมาณ 2.75 ปอนด์ 3.2.10 ใช้งานในหนว่ ยระดับ หมวด
รูปที่ 10 เครื่องโทรศพั ทส์ นาม TA-1/PT 4. เครื่องโทรศพั ทส์ นาม TA-312/PT 4.1 กลา่ วทว่ั ไป เคร่ืองโทรศัพท์สนาม TA-312/PT เป็นเคร่ืองโทรศัพท์สนามท่ีมีน้าหนักเบาใช้งานได้ทุกสภาพภูมิ ประเทศและสถานการณ์ ติดต้ังง่ายสะดวกรวดเร็ว อีกท้ังยังมีที่ต่อชุดปากพูด – หูฟังภายนอกได้อีกด้วย เม่ือชุดปากพูด หฟู ังของตวั มันเองเสีย และยงั ใชเ้ ปน็ REMOTE CONTROL ใหก้ ับชุดวิทยไุ ด้ 4.2 คณุ ลักษณะทางเทคนิค 4.2.1 เลอื กการทางานได้ 3 ระบบ คอื 4.2.1.1 ระบบหมอ้ ไฟประจาเครื่อง LB. (LOCAL BATTERY) ไฟเล้ียงปากพูดได้จากแบตเตอร่ี ประจาเครื่องไฟเรียกไดจ้ ากเคร่ืองเรียกกาเนิดไฟชนดิ มือหมนุ ท่ีตวั เครื่อง 4.2.1.2 ระบบหม้อไฟร่วม CB. (COMMON BATTERY) ไฟเลี้ยงปากพูดและไฟเรียกได้จาก เครือ่ งสลบั สายกลาง 4.2.1.3 ระบบหม้อไฟร่วมเฉพาะสัญญาณเรียก CBS. (COMMON BATTERY SIGNALING) ไฟเล้ียงปากพูดไดจ้ ากแบตเตอรปี่ ระจาเคร่ืองไฟเรียกไดจ้ ากเครื่องสลบั สายกลาง 4.2.2 เม่ือเลือกการทางานในระบบ LB. หรือระบบ CBS. ไฟเล้ียงปากพูดใช้แบตเตอร่ี BA-30 จานวน 2 ก้อน 3 V. โดยใสเ่ อาข้วั บวกลง 1 กอ้ น และเอาขว้ั บวกขน้ึ 1 กอ้ น (หรอื ไฟตรง 3 V.DC.จากภายนอก) 4.2.3 ระยะการติดต่อประมาณ 14 – 22 ไมล์ (เม่อื ใช้สายโทรศัพท์สนาม WD-1/TT) 4.2.4 ขีดจากัดการทางาน 35 dB. 4.2.5 ย่านความถีเ่ สียงประมาณ 300 - 3,200 Hz
กลาง 4.2.6 ผลติ สัญญาณไฟเรียกประมาณ 90 V. 20 Hz (ระบบ LB.) ไม่ถงึ กบั เงียบ 4.2.7 สัญญาณไฟเรียกเม่ือเลือกใช้งาน ระบบ CB. หรือระบบ CBS. ได้ไฟเรียกจากเครื่องสลับสาย แทนได้ 4.2.8 วงจรรบั สัญญาณเรียกเป็นแบบ BUZZER เสียงดังปรับใหด้ งั มากดังน้อยได้ตามความต้องการ แต่ 4.2.9 เมื่อชุดปากพูด - หูฟังภายใน (H-60/PT) เสีย ใช้ชุดปากพูด – หูฟังภายนอก (H-144/U) มาต่อ 4.2.10 นา้ หนกั หนักประมาณ 9.5 ปอนด์ 4.2.11 ใชง้ านในหน่วยระดับ กองร้อย ขึ้นไป รูปที่ 11 เครอ่ื งโทรศัพทส์ นาม TA–312/PT 5. เครื่องสลบั สายโทรศพั ทส์ นาม SB–993/GT 5.1 กล่าวทว่ั ไป เคร่ืองสลับสายโทรศัพท์สนาม SB-993/GT เป็นเครื่องสลับสายโทรศัพท์สนามฉุกเฉินท่ีมีพนักงาน ประจาน้าหนกั เบานาตดิ ตัวไปมาได้สะดวกติดต้ังและเกบ็ รักษางา่ ยออกแบบมาเพ่ือใชใ้ นพื้นที่การรบดา้ นหน้าตอ้ งใชง้ าน ร่วมกับเคร่ืองโทรศัพท์ระบบหม้อไฟประจาเครื่องและยังสามารถใช้ทดแทนเคร่ืองสลับสายระบบหม้อไฟประจาเครื่อง LB. (LOCAL BATTERY) ใดๆ กไ็ ดเ้ มื่อมีเหตฉุ ุกเฉิน 5.2 คุณลักษณะทางเทคนิค 5.2.1 รบั ทางสายได้ 6 ทางสาย 5.2.2 มีปลั๊กเสียบทงั้ หมด 7 ตวั (ปล๊ักสาหรบั พนกั งาน 1 ตวั ) 5.2.3 ไมม่ แี หลง่ จา่ ยกาลงั งานใหก้ บั ตัวเอง
5.2.4 พนักงานเคร่ืองสลับสายต้องนาเครื่องโทรศัพท์ระบบหม้อไฟประจาเครื่อง LB. (เช่น เคร่อื งโทรศพั ท์ TA-1/PT หรือ TA-312/PT) มาต่อกับปลั๊กของพนักงานไว้ 1 เครอ่ื ง 5.2.5 สายทนี่ ามาจากเครอ่ื งโทรศพั ท์หรือเครอ่ื งสลับสายอื่นๆ ใหต้ อ่ เข้าตรงรูกลางของตัวปลั๊ก 5.2.6 ตัวปล๊ักเป็นแบบพลาสติกใสข้างในตัวปลั๊กมีหลอดนีออนเรืองแสงขนาด 1/25 วัตต์อยู่ 1 หลอด เม่อื มีสญั ญาณเรยี กเขา้ มาหลอดไฟขา้ งในจะสว่าง 5.2.7 อานวยการตดิ ต่อโดยใชต้ ัวปลก๊ั ของพนกั งานเสยี บดา้ นบนของตวั ปล๊กั ทต่ี ้องการติดตอ่ 5.2.8 ไฟเรียกและไฟเลี้ยงปากพดู ไดจ้ ากเคร่ืองโทรศัพท์ของพนักงาน 5.2.9 นา้ หนักหนกั ประมาณ 2.5 ปอนด์ 5.2.10 ใช้งานในหนว่ ยระดับ กองร้อย 5.3 การใช้งาน 5.3.1 เคร่ืองสลับสายโทรศัพท์สนาม SB–993/GT (รูปท่ี 12) เป็นเครื่องสลับสายชนิดหม้อไฟประจา เคร่ืองซึ่งห้ิวไปมาได้มีน้าหนักเบาตามปกติใช้ในหน่วยระดับกองร้อยประกอบด้วยท่ีเก็บตัวเสียบ 1 กล่องและตัวเสียบ สมาสชนิด 2 ขา U–184/GT 7 ตัวซง่ึ บรรจุอยู่ในซองและต้องมีโทรศัพท์สนาม 1 เครื่องสาหรับให้พนักงานใช้เคร่ืองสลับ สาย SB–993/GT อาจใช้แทนเครื่องสลบั สายหม้อไฟฟ้าประจาเครอื่ งใดๆ กไ็ ดใ้ นสนามเม่ือฉกุ เฉิน รูปที่ 12 เคร่อื งสลับสายโทรศพั ท์สนาม SB–993/GT 5.3.2 ตัวเสียบสมาส U–184/GT แต่ละตัว (รูปที่ 13) ประกอบด้วยหลอดนีออนเรืองแสง1หลอดหมุด ต่อสาย 2 หมุดขาเสียบ 2 ขาและช่องเสียบ 2 ช่องทั้งหมดนี้หลอมหล่อเข้าด้วยกันเป็นแท่งพลาสติกใสขาเสียบใช้เป็น หมุดต่อสายทาปลายไวใ้ ห้ขันเกลียวได้ด้วยมือซ่ึงจะนาสายเข้ามาต่ออาจจะเสียบตัวเสียบน้ีเข้ากับช่องเสียบของตวั เสียบ สมาส U–184/GT อีกอนั หนึ่งเพอ่ื ตอ่ ทางสาย 2 ทางเข้าด้วยกนั กไ็ ด้ 5.3.3 ตัวเสียบสมาส U–184/GT หลายๆ ตัวสามารถนามาต่อเรียงซ้อนกันสาหรับการต่อประชุมได้ ด้วย (คสู่ นทนาท่อี ยู่แยกกันหลายๆ คสู่ ามารถจะพดู กันได้ในเวลาเดียวกัน) 5.3.4 เม่ือมีสัญญาณสัญญาณที่เข้ามาน้ันจะจุดหลอดนีออนในตัวเสียบของเคร่ืองสลับสายท่ีต่ออยู่กับ ทางสายจะไม่ไดย้ ินเสียงสัญญาณเมอื่ หลอดนีออนกาลังตดิ อยูเ่ ว้นแต่โทรศพั ท์ประจาพนักงานเครื่องสลับสายจะตอ่ อยกู่ ับ ทางสายนั้นดงั น้ันพนกั งานจะต้องเฝ้าดูสัญญาณเรียกอยตู่ ลอดเวลา
รปู ท่ี 13 ตวั เสียบสมาส U–184/GT
การสอ่ื สารประเภทวิทยุ 1. กล่าวท่วั ไป วิทยุเป็นมัชฌิมหลักของการสื่อสารในหน่วยทางยุทธวิธี ส่วนมากวิทยุนี้จะใช้เพื่อการบังคับบัญชา ควบคุมการ ยิง และแลกเปลี่ยนข่าวสาร งานธุรการ และการติดต่อระหว่างหน่วยต่างๆ นอกจากนั้น ยังใช้เพื่อการสื่อสารระหว่าง อากาศยานในขณะบนิ และระหวา่ งอากาศยานกับหนว่ ยทางพนื้ ดนิ 1.1 ขีดความสามารถของการส่อื สารประเภทวทิ ยุ 1.1.1 อุปกรณ์การสื่อสารประเภทวิทยุ ตามปกติจะติดตั้งได้รวดเร็วกว่าอุปกรณ์ส่ือสารประเภทสาย ฉะน้นั วทิ ยจุ ึงมใี ชอ้ ย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในสถานการณท์ างยุทธวิธีซึง่ เคลอื่ นท่ีเรว็ 1.1.2 เมื่อติดตงั้ บนรถแลว้ วทิ ยกุ ็พร้อมท่จี ะใช้งานไดท้ ันที โดยไมต่ ้องมกี ารติดตัง้ ใหม่ 1.1.3 วทิ ยุนาเคล่ือนที่ได้ จึงสามารถใช้ดารงการสื่อสารกับหน่วยที่ไปในอากาศ หน่วยสะเทินน้าสะเทิน บก หน่วยยานยนต์และหน่วยเดินเท้า 1.1.4 สิ่งกีดขวางตามธรรมชาติ สนามทุ่นระเบิด และภูมิประเทศท่ีข้าศึกยึดครองอยู่ หรอื เมื่อถกู ข้าศึก ระดมยงิ กไ็ มอ่ าจจากัดการสอื่ สารทางวทิ ยุเหมอื นอยา่ งมัชฌมิ การส่อื สารอ่นื ๆ ได้ 1.1.5 โดยการใช้เคร่ืองควบคมุ ระยะไกล พนักงานวิทยอุ าจจะอยู่ไกลออกไปจากเคร่อื งที่ตนใช้งานก็ได้ เช่นนี้จะทาใหม้ คี วามปลอดภัยแกพ่ นกั งาน สถานีวทิ ยุ และทบ่ี ังคับการทสี่ ถานวี ทิ ยุนนั้ ประจาอยู่ 1.1.6 การส่ือสารทางวิทยุเป็นการส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่กระจายออกไปโดยไม่ต้องอาศัย ตัวนาไฟฟา้ เปน็ ส่อื สามารถทาการส่งขา่ วจากเคร่ืองส่งเครือ่ งเดียวไปยงั เคร่ืองรับหลายเครื่องพรอ้ มๆ กนั จึงสามารถเพิ่ม หรอื ลดจานวนสถานวี ทิ ยุภายในขา่ ยได้ตามตอ้ งการ 1.2 ขดี จากัดของการส่ือสารประเภทวิทยุ 1.2.1 เคร่ืองวิทยุนั้นอาจจะชารุดเสียหายได้ง่าย เนื่องจากเป็นเครื่องมือที่มีความละเอียดอ่อน และมี วงจรไฟฟ้าอเิ ลคทรอนคิ สท์ ่สี ลบั ซับซอ้ น 1.2.2 ถูกรบกวนได้ง่ายท้ังจากธรรมชาติ จากการกระทาของฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก นอกจากนั้น ยัง อาจถูกก่อกวนจากสงครามอเิ ลคทรอนคิ ส์ได้โดยง่าย
1.2.3 เพ่ือให้สามารถทาการสื่อสารด้วยกันได้ วิทยุจะต้องมีความถี่ร่วมกัน หรืออย่างน้อยท่ีสุดเหลื่อม กนั บ้าง ท้ังจะต้องรบั ส่งสัญญาณชนิดเดียวกนั และจะต้องอยู่ภายในรัศมีการปฏิบัติงาน ซึ่งขึ้นอย่กู ับสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ อนั ไดแ้ ก่ สภาพของลมฟ้าอากาศ หรือบรรยากาศ และลักษณะภมู ปิ ระเทศของท่ีตง้ั ของสถานีวทิ ยุ 1.2.4 วทิ ยุเป็นมัชฌิมการสื่อสารท่ีปลอดภัยน้อยที่สุด ในแงข่ องความปลอดภัยทางการสื่อสารแล้ว ถือ ว่าการส่ือสารทางวิทยุไม่มีความปลอดภัยเลย แม้จะส่งข่าวทีเ่ ข้าการอักษรลับแล้วก็ตาม และจะต้องถือวา่ มกี ารดักรับอยู่ ทกุ ครงั้ ทเี่ คร่ืองสง่ ทางาน เพยี งแต่ทราบว่าวทิ ยุทางานอยู่ก็ถอื วา่ ข้าศกึ ไดข้ ่าวสารไปแล้ว 2. วิทยุ PRC–624 2.1 กลา่ วทว่ั ไป เครื่องวิทยุ PRC-624 เป็นวิทยุมือถือในย่านความถี่ VHF/FM และยังสามารถใช้เป็นวิทยุชนิดสะพาย หลังได้ด้วยการทางานของ PRC-624 อย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ของไมโครคอมพิวเตอรแ์ ละการใชง้ านกม็ ปี ุ่มควบคุมน้อยมาก โดยมีปุ่มอยู่ 4 ปุ่มมีจอภาพสาหรับแสดงผลการทดสอบตัวเองและการใช้งานรวมถึงความถี่ท่ีใช้อยู่, แสดงสัญญาณที่รับ ได้, ระดบั ของสญั ญาณทีอ่ อกอากาศและระดับไฟในแบตเตอร่ี 2.2 คุณลักษณะทางเทคนิค ระดบั หน่วยท่ีใชง้ าน หมู่ ย่านความถี่ 30.00 - 87.975 MHz. จานวนชอ่ งสอื่ สาร 2,320 ชอ่ ง (แตล่ ะชอ่ งหา่ งกัน 25 KHz.) การปรงุ คลน่ื FM (F3) simplex MODE เสียงและข้อมลู (X - MODE) ช่องสถานีล่วงหน้า 10 ชอ่ ง การโปรแกรมชอ่ ง ปุ่มกด, จากเครื่องอ่นื , คอมพิวเตอร์ การทดสอบตวั เอง อัตโนมตั ติ ลอดเวลาและโดยผู้ใช้ อายุการใช้งาน มากกว่า 6,600 ชวั่ โมง สภาพแวดลอ้ ม มาตรฐานทางทหาร 810-D ภาคสง่ กาลังออกอากาศ ภาคสงู 2 วตั ต์ (ปรบั ไดถ้ งึ 2.6 วตั ต์) ภาคต่า 1 วตั ต์ (ปรับไดถ้ งึ 0.25 วตั ต)์ ความคงท่ีของความถ่ที ี่ 25 องศา+10 PPM (ปกติ+5) ความคลาดเคล่ือนของความถ่ี 5.6 KHz. การผสมคล่นื tone 150 KHz. ความเบย่ี งเบน 3 KHz. ระดบั เสยี งไมค์ ปกติ 1.4 mV ท่ี 150 โอห์ม เมอื่ ใช้เสยี งกระซบิ (เลอื กใช้ได้) 0.4 mV ท่ี 150 โอหม์ การปอ้ งกันภาคเอาท์พุท ลัดวงจรและเปดิ วงจร การแพร่คล่นื Spurious 90 dB ต่ากว่าคลืน่ พาห์
ความเพีย้ นของเสียง ท่ี 4f >200 KHz. การตอบสนองของเสยี ง ไม่เกิน 5% ย่านกวา้ ง : 10 ถึง 8,000 Hz. (WIDE BAND) ย่านแคบ : 300 ถึง 3,000 Hz. ภาครบั 0.4 V for 10 dB SINAD ความไว 150 tone สเควลซ์ CW (เผื่อเลอื ก) 350 mW ระดับสัญญาณจากลาโพงในตัว 180 mW ลาโพงภายนอก 10 mW หฟู ังภายนอก ไมเ่ กนิ 5 % ความเพีย้ นของเสียง แหล่งจ่ายพลังงาน ระดบั ไฟปกติ 12 VDC. ระดบั ไฟใช้งาน 10-17 VDC. ระยะเวลาใช้งานแบตเตอรี่ท่ีกาลงั ส่ง 2 วตั ต์ แบตเตอรี่ Nicd ประมาณ 14 ชม. ที่อตั ราส่วน สง่ /รับ/เฝ้ารอ = 1:2:7 แบตเตอร่ีลิเธียม ประมาณ 14 ชม. ที่อตั ราส่วน สง่ /รบั /เฝ้ารอ = 1:2:7 แบตเตอร่ีอัลคาไลน์ ประมาณ 18 ชม. ทีอ่ ัตราสว่ น สง่ /รบั /เฝ้ารอ = 1:2:7 ขนาดและน้าหนกั ขนาด (สงู xกวา้ งxหนา) 180 x 82 x 44 มม. น้าหนัก (พรอ้ มแบตเตอร่ลี ิเธยี มและเสาอากาศ 70 ซ.ม.) 960 กรัม 2.3 ส่วนประกอบชุด เครอื่ งรบั -สง่ RT-624 1 เครื่อง เสาอากาศวิป 70 ซม. AT-624 1 ตน้ ซองบรรจุ CW-624 1 ซอง ขอ้ อ่อน 1 ขอ้ ปากพูด-หูฟงั H-250 1 อนั เปส้ ะพาย ST-624 1 เป้ แบตเตอร่ี BA-624 1 ก้อน
รปู ท่ี 14 ชุดวิทยุ PRC–624 3. ชุดวทิ ยุ AN/PRC–77 3.1 กล่าวทว่ั ไป ชุดวิทยุ AN/PRC-77 เป็นชุดวิทยุ VHF/FM มีลักษณะภายนอกเหมือนเครื่องวิทยุ AN/PRC-25 ทุก ประการเพียงแต่ AN/PRC-77 มีวงจรเป็น Transistors ล้วนๆมีการปรับปรุงแก้ไขขีดความสามารถในการส่งต่อให้ดีขึ้น และสามารถส่งข่าวด้วยเครื่องรักษาความปลอดภัยทางคาพูด (X - MODE) ได้เคร่ืองวิทยุ AN/PRC-77 ใช้แทนเครื่อง วิทยุ AN/PRC-25 ชดุ วิทยุ AN/PRC-77 สามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์อ่ืนๆไดด้ ังนี้ 1. ใช้ร่วมกบั ชุดสายอากาศ RC-292 เพื่อเพมิ่ ระยะการตดิ ต่อ 2. ใช้รว่ มกับชดุ บงั คบั ไกล AN/GRA-39 3. ใช้รว่ มกบั ชุดส่งตอ่ MK-456/GRC 4. สามารถใช้สนธิวทิ ยุสายเมอ่ื ใชง้ านร่วมกบั AN/GSA-7, AN/GRA-39, AN/GRA-6 ระดับหน่วยที่ใช้งาน มว. - พนั .ร. ส่วนประกอบสาคญั เคร่ืองรบั - สง่ RT-841/PRC-77 ชดุ ขยายแหล่งกาลงั ไฟฟา้ OA-3633 หรอื AM-2060 แบตเตอร่ี BA-386/PRC-25 หรอื BA-4386/U หรอื BA-386/U หรือ BA-3386/40 การควบคมุ ระยะไกล ใช้ AN/GRA-39 หรือ AN/GRA-6 พรอ้ มดว้ ยสาย CX-7474/U การส่งต่อ สายรวม MK-456/GRC น้าหนกั 10.7 ก.ก. พร้อมแบตเตอร่ี เคร่ืองรักษาความปลอดภยั ทางคาพดู TSEC/KY-38
3.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนิค แบบของการใชง้ าน ขณะสง่ คาพูด (300 - 3500Hz) รว่ มกบั 150Hz tone squelch ขณะรับ คาพดู (ไม่มี SQ), คาพูด (มี SQ) ยา่ นความถ่ี 30.00 - 75.95 MHz ระยะสอื่ สารในการวางแผน 8 กม. (AT–271) 5 กม. (AT–892) จานวนชอ่ งการส่อื สาร 920 ชอ่ งแต่ละช่องหา่ งกนั 50 KHz. กาลงั ไฟ 12.5 - 15 V.DC. แหลง่ กาเนิดไฟ สะพายหลงั แบตเตอรี่ BA-386/PRC-25 หรือ BA-4386/U หรอื BA-398/U หรอื BA-3386/40 ตดิ ตง้ั บนยานยนต์ แบตเตอรีย่ านยนต์ 24 V.DC. ประจาที่ PP-2953 (แปลงไฟ 115/230 V.AC. เป็น 25.5 V.DC.) กาลงั ออกอากาศ 1.5 - 4 W. สายอากาศ AT-892/PRC-25 (3 ฟุต) AT-271/PRC-25 (10 ฟตุ ) AT-912 หรอื AS-1729 ติดต้งั บนยานยนต์ (10 ฟตุ ) AT-9984 หรอื RC-292 ติดตัง้ ประจาท่ี การปรบั ตงั้ ความถ่ี คร้งั ละ 1 ชอ่ ง การตัดเสียงรบกวน 150 Hz. สามารถตั้งความถ่ีล่วงหน้าได้ 2 ช่อง 3.3 ส่วนประกอบชุด เครอ่ื งรับ - ส่ง RT-841/PRC-77 1 เคร่อื ง กล่องใส่เคร่อื งรบั - สง่ 1 กลอ่ ง กล่องใส่แบตเตอร่ี CY-2562/PRC-25 1 กลอ่ ง ปากพูด - หูฟัง H-138/U หรอื H-159/U 1 อนั เสาอากาศสั้น AT-892/PRC-25 1 อนั เสาอากาศยาว AT-271/PRC 1 อนั ทอ่ นสปรงิ เสาอากาศ AB-591/PRC-25 1 ท่อน ถุงผา้ ใบ CW-503/PRC-25 1 ถงุ แผงผา้ ใบ ST-138/PRC-25 1 แผง
รปู ท่ี 15 ชดุ วิทยุ AN/PRC–77
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: